ความสาคัญของการทาสั ญญา โดย นายสมัคร เชาวภานันท์ ความสาคัญของการทาสั ญญา 1. เกือบจะทุกคนต้องเกี่ยวข้องและประสบพบเห็นต้องทำสัญญำ เนื่องจำกมีกำรติดต่อกัน ไม่วำ่ จะเป็ นเรื่ องทัว่ ๆ ไป หรื อเรื่ อง กำรทำมำหำกิน ฯลฯ 2.

Download Report

Transcript ความสาคัญของการทาสั ญญา โดย นายสมัคร เชาวภานันท์ ความสาคัญของการทาสั ญญา 1. เกือบจะทุกคนต้องเกี่ยวข้องและประสบพบเห็นต้องทำสัญญำ เนื่องจำกมีกำรติดต่อกัน ไม่วำ่ จะเป็ นเรื่ องทัว่ ๆ ไป หรื อเรื่ อง กำรทำมำหำกิน ฯลฯ 2.

ความสาคัญของการทาสั ญญา
โดย
นายสมัคร เชาวภานันท์
1
ความสาคัญของการทาสั ญญา
1. เกือบจะทุกคนต้องเกี่ยวข้องและประสบพบเห็นต้องทำสัญญำ
เนื่องจำกมีกำรติดต่อกัน ไม่วำ่ จะเป็ นเรื่ องทัว่ ๆ ไป หรื อเรื่ อง
กำรทำมำหำกิน ฯลฯ
2. พบว่ำผูเ้ ข้ำทำสัญญำต้องเสี ยเปรี ยบ หรื อ
3. มีกำรไม่ปฏิบตั ิตำมสัญญำ มีกำรฟ้ องร้องกันที่ศำลเสมอ นับวัน
จะมำกขึ้น
4. ในอนำคตประชำชนมำกขึ้น มีกำรติดต่อค้ำขำย หรื อทำธุรกิจ
มำกขึ้น มีกำรทำสัญญำต่ำงๆ มำกขึ้น มีกำรผิดสัญญำมำกขึ้น
2
5. กำรรู้เรื่ องกำรทำสัญญำ จึง
ช่วยแก้ปัญหำต่ำงๆ เช่น ในเรื่ อง ไม่เพลี่ยงพล้ ำ ไม่ตอ้ งเสี ยเงิน เสี ยเวลำ
เสี ยควำมรู ้สึก ไม่ถกู เอำรัดเอำเปรี ยบ หรื อถูกโกง
ช่วยป้ องกันปั ญหำต่ำงๆ อันเกิดจำกกำรทำสัญญำไม่ครบถ้วนถูกต้อง
ตำมที่กฎหมำยบัญญัติไว้
ช่วยป้ องกันกำรเขียนสัญญำที่ทำให้ตนเองเสี ยเปรี ยบ ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั
ประสบกำรณ์ของผูร้ ่ ำงสัญญำหรื อผูท้ ำสัญญำ
ตัวอย่ าง
 ร่ ำงสัญญำว่ำ ผูซ้ ้ื อสำมำรถคืนที่ดินได้หำกไม่เป็ นไปตำมควำม
ประสงค์
 ร่ ำงสัญญำว่ำ แบ่งแยกโฉนดและโอนกรรมสิ ทธิ์ ท้ งั ที่ที่ดินเป็ น
นส.3 ก
3
• เรื่องสั ญญาทีต่ ้ องรู้ คือ
1)
2)
3)
4)
5)
6)
ความศักดิ์สิทธิ์ของการแสดงเจตนาทาสั ญญา
ความหมายของสั ญญา
หลักสาคัญที่ต้องคานึงในการทาสั ญญา
การร่ างสั ญญา
ข้ อคานึงในการร่ างสั ญญา
ข้ อควรสั งเกตของสั ญญาต่ าง ๆ
4
(1) ความศักดิ์สิทธิ์ของการแสดงเจตนาทาสั ญญา
1. หลัก กฎหมำยเกี่ ย วกับ นิ ติ ก รรม หรื อ สัญญำที่ ใช้บงั คับอยู่ มี พ้ื น ฐำนมำจำก
เสรี ภำพของบุ คคล คื อ บุ คคลย่ อมมีสิทธิ เสรี ภาพในการแสดงเจตนาทานิ ติ
กรรม หรือสั ญญาต่ างๆ เพือ่ ก่ อให้ เกิดผลในทางกฎหมายได้
2. ไม่จำกัดว่ำกำรแสดงเจตนำทำนิติกรรมหรื อสัญญำนั้นต้องทำตำมที่บญั ญัติไว้
ในประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิ ชย์ บรรพ 3 ที่เรี ยกว่ำ “เอกเทศสั ญญา”
– แต่ ย งั สำมำรถท ำสั ญ ญำในรู ป แบบอื่ น ๆ ได้อี ก แม้ว่ ำ กฎหมำยจะมิ ไ ด้
กำหนดรู ปแบบไว้เห็ นได้จำกสัญญำที่เรี ยกชื่ ออย่ำงอื่นนอกจำกที่ กำหนด
ไว้ในบรรพ 3 เช่นสัญญำปรับปรุ งโครงสร้ำงหนี้ ที่สถำบันกำรเงินทำกับ
ลูกหนี้ สัญญำร่ วมทุนเป็ นต้น
3. ดังนั้น การทาสั ญญา นิติกรรม จึงเป็ นนิติกรรมที่เกิดขึน้ จากการตกลงระหว่ าง
บุคคลตั้งแต่ สองฝ่ ายขึ้นไป มีคำเสนอและคำสนองถูกต้องตรงกัน ก่อให้เกิ ด
สัญญำขึ้น
5
ความศักดิ์สิทธิ์ของการแสดงเจตนาทาสั ญญา (ต่ อ1)
4. แต่ อย่ างไรก็ตาม การกระทานิติกรรมสั ญญานั้น
(1) ต้องไม่กระทบกระเทือนถึงผลประโยชน์ของประเทศชำติหรื อของประชำชน
เป็ นส่ วนรวม เช่น ทำนิ ติกรรมซื้ อขำยที่ดิน ที่อยูใ่ นเขตอุทยำนแห่ งชำติ เป็ น
ต้น
(2) ไม่กระทบกระเทื อนต่อควำมมัน่ คง ควำมสงบเรี ยบร้อยหรื อเศรษฐกิ จของ
ประเทศชำติ เช่ น กำรท ำนิ ติ ก รรมซื้ อขำยข้ อ มู ล ที่ เป็ นควำมลั บ
ทำงรำชกำรทหำร เป็ นต้น
(3) ไม่ เ ป็ นกำรต้อ งห้ำ มชัด แจ้ง โดยกฎหมำย หรื อ ขัด ต่ อ ควำมสงบเรี ย บร้ อ ย
หรื อ ศี ลธรรมอันดี ข องประชำชน เช่ น ท ำนิ ติกรรมซื้ อขำยยำเสพติ ด หรื อ
ว่ำจ้ำงฆ่ำคน เป็ นต้น
•
กรณี เช่นนี้กฎหมำยเข้ำมำเกี่ยวข้อง นิติกรรมสัญญำดังกล่ำวอำจตก
เป็ นโมฆะ หรื อ โมฆียะ หรื อไม่อำจฟ้ องร้องให้บงั คับคดีกนั ได้
6
ความศักดิ์สิทธิ์ของการแสดงเจตนาทาสั ญญา(ต่ อ 2)
5. แต่ ข ณะหำกกำรท ำสัญ ญำหรื อ นิ ติ ก รรมนั้น ก่ อ ให้ เ กิ ด
ควำมไม่ เป็ นธรรมและควำมไม่ สงบสุ ข ขณะนี้ รั ฐก็ได้
ออก พ.ร.บ. ว่ าด้ วยข้ อสั ญญาที่ไม่ เป็ นธรรม พ.ศ.2540
มำใช้บ ัง คับ แล้ว โดยมุ่ ง ที่ จ ะให้ ศ ำลเป็ นผู้ต รวจสอบ
สัญญำที่อยู่ในขอบเขต พ.ร.บ.ดังกล่ำว หำกเห็ นว่ำเป็ น
กำรเอำเปรี ยบกัน ก็ให้ศำลมีอำนำจที่จะพิจำรณำให้มีผล
บังคับกันได้ เพียงเท่ำที่เป็ นธรรม และพอสมควรแก่กรณี
7
ความศักดิ์สิทธิ์ของการแสดงเจตนาทาสั ญญา(ต่ อ 3)
6. นอกจำกนี้ ยงั มี พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริ โภค พ.ศ.2522 ออกมำบังคับใช้อีก ซึ่ งได้
ก ำหนดแบบของสั ญ ญำให้ ผู ้ป ระกอบกำรต้อ งใช้สั ญ ญำต่ ำ งๆ ตำมที่ พ.ร.บ.
ดังกล่ ำวกำหนด เช่ น ธุ ร กิ จ ซื้ อ ขำยบ้ำนและที่ ดินที่ มี กำรจัดสรรขำย ธุ ร กิ จ บัตร
เครดิ ต ให้ เ ช่ ำ ซื้ อรถยนต์ แ ละจัก รยำนยนต์ ธุ ร กิ จ กำรขำยห้ อ งชุ ด ธุ ร กิ จ กำร
ให้บริ กำรโทรศัพท์เคลื่อนที่ ฯลฯ
• อย่ำงไรก็ตำม พ.ร.บ.ดังกล่ำว ก็มิได้บงั คับว่ำต้องทำตำมแบบที่กำหนดอย่ำง
เดียว แต่คู่สัญญำก็อำจเพิ่มเติมข้อสัญญำข้ออื่นลงไปได้อีก แต่ตอ้ งไม่เป็ น
กำรเอำรัดเอำเปรี ยบหรื อเกิดควำมไม่เป็ นธรรมต่ออีกฝ่ ำยหนึ่ ง
• แต่ ในครั้งนีจ้ ะไม่ กล่าวถึง 2 พ.ร.บ. ดังกล่าว
8
(2) ความหมายของสั ญญา
1)
2)
3)
4)
5)
ควำมหมำยของสัญญำ
กำรเกิดของสัญญำ
ผลของสัญญำ
ประโยชน์ของกำรทำสัญญำ
กำรสิ้ นสุ ดของสัญญำ
9
ความหมายของสั ญญา(ต่ อ 1)
1. ความหมายของสั ญญา หมำยถึ ง กำรตกลงกันไม่ว่ำจะมี กำร
ตกลงโดยวำจำ หรื อลำยลักษณ์อกั ษร ระหว่ำงคู่กรณี 2 ฝ่ ำย
เพื่อมุ่งผูกนิติสมั พันธ์ อันก่อให้เกิดสิ ทธิและหน้ำที่ตำมกฎหมำย
หรือชาวบ้ าน หมายถึง
– กำรทำควำมตกลงโดยลำยลักษณ์อกั ษร
– หรื อเขียนลงบนกระดำษโดยมีกำรกำหนดข้อตกลง
หรื อควำมประสงค์ของทั้ง 2 ฝ่ ำย ลงในกระดำษนั้น
10
ความหมายของสั ญญา(ต่ อ 2)
2. การเกิดของสั ญญา
สัญญำจะเกิ ดขึ้ นหรื อมี ผลผูกพันทันที เมื่ อได้แสดง
เจตนำต่อกัน จนเกิดควำมเข้ำใจถูกต้องตรงกัน โดยมีกำรเสนอ คำเสนอไปยัง
บุคคลอีกฝ่ ำยหนึ่ ง โดยทำงกิริยำ ท่ำทำง หรื อคำพูด หรื อทำเป็ นหนังสื อก็ได้
เพื่อให้อีกฝ่ ำยหนึ่ งทรำบควำมประสงค์ ซึ่ งเรี ยกว่ำ “คำเสนอ” แล้วบุคคลอีก
ฝ่ ำยยอมรับหรื อตกลงโดยแสดงควำมประสงค์ตอบรับ ซึ่ งเรี ยกว่ำ “คำสนอง”
ไปยังบุคคลฝ่ ำยแรก สัญญำก็จะเกิดขึ้นทันที
• แต่ การทำสัญญำหรื อนิติกรรม หำกมีกฎหมำยบัญญัติ ให้กำรทำสัญญำ
ประเภทนั้นๆต้องทำเป็ นสัญญำ หรื อทำเป็ นหลักฐำนลงลำยมือชื่อฝ่ ำย
ที่รับผิดเป็ นสำคัญ หรื อต้องทำเป็ นสัญญำและจดทะเบียนต่อพนักงำน
เจ้ำหน้ำที่ ก็ตอ้ งทำตำมนั้น
11
ความหมายของสั ญญา (ต่ อ 3)
3. ผลของสั ญญา (ก่ อให้ เกิดหนี)้ แบ่ งเป็ น 3 ลักษณะ
(1) ก่อให้เกิดหน้ำที่ที่จะต้องกระทำกำรให้แก่กนั
(2) บำงสัญญำก่อให้เกิดหนี้ที่จะต้อง งดเว้นไม่กระทำกำร
(3) และบำงสัญญำก่อให้เกิดหนี้ที่ฝ่ำยหนึ่งต้องส่ งมอบทรัพย์สิน
ให้แก่อีกฝ่ ำยหนึ่ง
• เมือ่ มีหนีแ้ ล้ ว เจ้ าหนีก้ ม็ สี ิ ทธิทจี่ ะเรียกร้ อง ลูกหนีจ้ ะปฏิเสธไม่ ได้
นอกจากเป็ นสั ญญาต่ างตอบแทน
12
ความหมายของสั ญญา(ต่ อ 4)
4. ประโยชน์ ของการทาสั ญญา
(1) เพื่อให้ทรำบถึงทรัพย์อนั เป็ นวัตถุแห่งหนี้ หรื อวัตถุประสงค์ใน
กำรทำสัญญำ (กำรกระทำกำร งดเว้น หรื อส่ งมอบนั้น)
(2) เพื่อให้ทรำบถึงสิ ทธิและหน้ำที่ของคู่สญ
ั ญำ (ระบุในสัญญำ ย่อม
ทำให้เกิดควำมมัน่ คง ไม่ลืม ไม่เกิดปัญหำถกเถียง )
(3) เพื่อให้สญ
ั ญำนั้นมีผลบังคับได้ตำมกฎหมำย ( ทำตำมแบบ ไม่ตก
เป็ นโมฆะ ตำม ป.พ.พ. มำตรำ 152 )
(4) เพื่อเป็ นหลักฐำนในกำรดำเนินคดี (เช่น กำรเช่ำ , กำรกูย้ มื เงินเกิน
กว่ำ 2,000 บำท, ค้ ำประกัน)
13
ความหมายของสั ญญา (ต่ อ 5)
5. การสิ้นสุ ดของสั ญญา
(1.) โดยกำรเลิกสัญญำ (มีกฎหมำยอนุญำตให้ทำ, มีขอ้ ตกลงให้เลิกได้ ไม่
ว่ำตกลงล่วงหน้ำหรื อภำยหลัง)
(2.) โดยกำรปฏิบตั ิตำมสัญญำเสร็ จสิ้ น ( เช่น สร้ำงบ้ำนเสร็ จ )
(3.) สิ้ นสุ ดโดยอำยุสัญญำ (มีขอ้ ตกลง)
(4.) สิ้ นสุ ดโดยกำรปฏิบตั ิตำมสัญญำเป็ นไปไม่ได้ในภำยหลัง ( มีเหตุกำรณ์
บำงอย่ำงเกิดขึ้นระหว่ำงสัญญำ จนไม่อำจมีกำรปฏิบตั ิตำมสัญญำ )
(5.) สิ้ นสุ ดโดยกำรตำยของคู่สัญญำ ( คุณสมบัติเฉพำะตัวของคู่สัญญำเป็ น
สำระสำคัญ เช่น ดำรำผูร้ ับจ้ำงหรื อผูเ้ ช่ำตำย ส่ วนเรื่ องค่ำเสี ยหำย ค่ำใช้จ่ำย
ต่ำงๆ จะคืนกันหรื อไม่เท่ำไร ก็ตอ้ งพิจำรณำตำมกฎหมำยต่อไป )
14
(3) หลักสาคัญที่ต้องคานึงในการทาสั ญญา
• เมือ่ ทราบถึง
1.
2.
3.
4.
5.
ควำมหมำยของสัญญำ
กำรเกิดของสัญญำ
ผลของสัญญำ
ประโยชน์ของกำรทำสัญญำ
กำรสิ้ นสุ ดของสัญญำ
• จึงต้ องรู้ หลักสาคัญที่ควรคานึงในการทาสั ญญา
1.
2.
3.
4.
5.
วัตถุประสงค์ของสัญญำ
แบบหรื อหลักฐำนของนิติกรรมสัญญำ
ควำมสำมำรถของบุคคล
เจตนำของสัญญำ
อำกรแสตมป์
15
(3) หลักสาคัญที่ควรคานึงในการทาสั ญญา
1. วัตถุประสงค์ ของสั ญญา
คือจุดประสงค์ หรื อควำมมุ่งหมำยในกำรทำนิ ติกรรมสัญญำ โดยต้องไม่เป็ น
กำรต้องห้ำมชัดแจ้งโดยกฎหมำย เป็ นกำรพ้นวิสัย หรื อขัดต่อควำมสงบเรี ยบร้อย
หรื อศีลธรรมอันดีของประชำชน มิฉะนั้นตกเป็ นโมฆะ ตำม ป.พ.พ.ม.150
แต่กำรจะตกเป็ นโมฆะ คู่สัญญำอีกฝ่ ำยหนึ่ งต้องทรำบด้วยว่ำวัตถุประสงค์
นั้นขัดกับ ป.พ.พ.มำตรำ150 ด้วย (เช่น กำรซื้ อขำยเฮโรอีน, ขณะทำสัญญำซื้ อ
ขำยบ้ำน บ้ำนถูกไฟไหม้)
วัตถุประสงค์อนั เป็ นกำรต้องห้ำมชัดแจ้งโดยกฎหมำย คู่กรณี ท้ งั สองฝ่ ำยต้อง
รู ้ร่วมกันถ้ำอีกฝ่ ำยหนึ่ งไม่รู้เห็น ก็ไม่ถือว่ำสัญญำนั้นมีวตั ถุประสงค์ตอ้ งห้ำม
โดยชัดแจ้งโดยกฎหมำย เช่น (ต่อ)
16
(ต่อ)
(1) กูเ้ งินไปยิงคน ผูใ้ ห้กตู้ อ้ งรู ้วำ่ จะเอำเงินไปยิงคนด้วยจึงเป็ นโมฆะ
(2) ตกลงยินยอมเป็ นสำมีภรรยำกัน โดยทรำบว่ำชำยมีภริ ยำโดยชอบด้วยกฎหมำยอยูแ่ ล้ว
(3) กูเ้ งินตกลงชำระ 10 กันยำยน 2553 แต่ยนิ ยอมให้ผใู ้ ห้กเู้ รี ยกเงินคืนก่อนกำหนดได้
(4) ทำสัญญำยอมชดใช้ค่ำเสี ยหำยโจทก์เท่ำไรก็บงั คับได้ ต่ำงกับกำรเรี ยกค่ำว่ำควำมตำม
เปอร์เซ็นต์ของเงินที่ศำลได้พิพำกษำ
 แต่ อย่ างไรก็ตาม จะทำกำรใดเป็ นกำรแตกต่ำงกับบทบัญญัติของกฎหมำยใด ถ้ำมิ ใช่
กฎหมำยอัน เกี่ ย วกับ ควำมสงบเรี ย บร้ อ ยหรื อ ศี ล ธรรมอัน ดี ข องประชำชน กำรนั้น
ไม่ เป็ นโมฆะ (ตำมป.พ.พ.มำตรำ 151) เช่น สัญญำเช่ำ ผูเ้ ช่ำผิดสัญญำยินยอมให้ผใู ้ ห้เช่ำ
ยึดครองที่เช่ำได้โดยพลันและมีสิทธิ บอกเลิกสัญญำเช่ำทันที
17
2. แบบหรือหลักฐานของนิติกรรมสัญญา
(1) กรณี ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ เช่น สัญญำ
ซื้ อขำยอสังหำฯ สัญญำจำนอง สัญญำขำยฝำก กำรได้มำซึ่ งทรั พย์สิน (ถ้ำไม่จด
ทะเบี ยนต่อพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ไม่บริ บูรณ์ในฐำนะเป็ นทรั พยสิ ทธิ คือ จะใช้ยนั
บุคคลภำยนอกไม่ได้ แต่สมบูรณ์ในฐำนะเป็ นบุคคลสิ ทธิ ตำมมำตรำ 1299)
(2) กรณี ต้องจดทะเบียนต่อพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ (จดทะเบียนห้ำงหุ ้นส่ วน
จำกัด, บริ ษทั ,ทะเบียนสมรส, จดทะเบียนหย่ำ)
(3) กรณี ที่ต้องทาเป็ นหนังสื อ ต่อเจ้ำพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ (พินัยกรรมแบบ
เอกสำรฝ่ ำยเมือง, แบบเอกสำรลับ, กำรคัดค้ำนตัว๋ แลกเงิน)
(4) แบบที่ต้องทาเป็ นหนังสื อ (สัญญำเช่ำซื้ อ, ข้อตกลงให้คิดดอกเบี้ยทบ
ต้น, สัญญำก่อนสมรส, ทำพินยั กรรมแบบธรรมดำ, แบบเขียนเอง, ตั้งตัวแทนใน
กิจกำรที่กฎหมำยบังคับว่ำต้องทำเป็ นหนังสื อ)
18
• กำรไม่ทำตำมแบบตกเป็ นโมฆะตำม ป.พ.พ.152 ยกเว้น
ป.พ.พ.มำตรำ 1299
• กรณี กฎหมำยบัญญัติให้ตอ้ งมีหลักฐำนแห่งกำรฟ้ องร้อง
คดี(ลงลำยมือชื่อฝ่ ำยผูต้ อ้ งรับผิด) หำกไม่มี ไม่ทำให้เป็ น
โมฆะ แต่จะนำสัญญำมำฟ้ องร้องบังคับคดีไม่ได้ เช่น
กำรกูเ้ งินเกิน 2,000 บำท, เช่ำอสังหำฯไม่เกิน 3 ปี ,
สัญญำประนีประนอมยอมควำม, สัญญำประกันภัย,
สัญญำค้ ำประกัน
19
3. ความสามารถของบุคคล
• มำตรำ 153 กำรใดมิได้เป็ นไปตำมบทบัญญัติของกฎหมำยว่ำด้วย
ควำมสำมำรถของบุคคล กำรนั้นเป็ นโมฆียะ
– นิติกรรมตกเป็ นโมฆียะ หมำยถึง กรณี ที่กฎหมำยถือว่ำนิติกรรม
นั้นสมบูรณ์จนกว่ำจะถูกบอกล้ำง
– เมื่อถูกบอกล้ำงแล้วถือว่ำนิติกรรมนั้นเป็ นโมฆะมำแต่เริ่ มแรก
(ป.พ.พ.มำตรำ 176)
– ถ้ำหำกไม่บอกล้ำงโมฆียะกรรมภำยในกำหนดเวลำบอกล้ำงหรื อมี
กำรให้สตั ยำบันแก่โมฆียะกรรมแล้ว นิติกรรมที่เป็ นโมฆียะนั้น
ย่อมสมบูรณ์ตลอดไป (ป.พ.พ.มำตรำ 181)
20
3. ความสามารถของบุคคล (ต่ อ 1)
(1) ผู้เยาว์ ทำนิติกรรมต้องได้รับควำมยินยอมของผูแ้ ทนโดยชอบธรรม เช่นไม่วำ่ ด้วย
วำจำหรื อโดยลำยลักษณ์อกั ษรหรื อพฤติกำรณ์อย่ำงใดอย่ำงหนึ่ งก็ได้ (ไม่ได้รับ
ควำมยินยอมเป็ นโมฆียะ) เว้ นแต่
–
–
–
–
–
–
เพื่อได้ไปซึ่งสิ ทธิอนั ใดอันหนึ่งหรื อหลุดพ้นจำกหน้ำที่อนั ใดอันหนึ่ง(ป.พ.พ.มำตรำ 22)
ต้องทำเองเฉพำะตัว (ป.พ.พ.มำตรำ 23)
เป็ นกำรสมควรแก่ฐำนำนุรูปแห่งตน อันจำเป็ นเพื่อเลี้ยงชีพตำมสมควร (ป.พ.พ.มำตรำ 24)
อำยุ 15 ปี บริ บูรณ์ ทำพินยั กรรมเองได้ (ป.พ.พ.มำตรำ 25)
ถ้ำไม่ครบ 15 ปี ทำพินยั กรรมเป็ นโมฆะ (ป.พ.พ. มำตรำ 1703)
ผูใ้ ช้อำนำจปกครองไม่อำจทำได้ลำพังต้องขออนุญำตศำลก่อน (ป.พ.พ. มำตรำ 1574)
เช่น ขำย แลกเปลี่ยน จำนอง ขำยฝำก ให้เช่ำอสังหำฯเกินสำมปี ให้เช่ำซื้ออสังหำฯ ให้กยู้ มื เงิน
ฯลฯ
21
3. ความสามารถของบุคคล(ต่ อ 2)
(2) ผู้ไร้ ความสามารถ (ศาลสัง่ ให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถ)
 ทานิติกรรมเป็ นโมฆียะ (ป.พ.พ. มาตรา 29)
– ทาพินยั กรรมตกเป็ นโมฆะ (ป.พ.พ. มาตรา 1704)
(3) บุคคลวิกลจริตที่ศาลไม่ ได้ ส่ ังให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถ
 ทานิติกรรมเป็ นโมฆียะ ต่อเมื่อคู่กรณีร้ ูว่าผู้ทาเป็ นคนวิกลจริต
(ป.พ.พ.มาตรา 30)
 ถ้ าทาพินยั กรรมจะเสียเปล่าต่อเมือ่ พิสจู น์ได้ ว่าขณะทาวิกลจริต (ป.พ.พ. มาตรา 1704)
เช่น นาย ก บุคคลวิกลจริตทาสัญญาขายรถยนต์ 1 คัน โดยขายให้ กบั นาย ข
ในขณะที่วิกลจริต และนาย ข รู้ว่านาย ก จริตวิกล แต่เห็นว่าขายในราคาถูกจึงซื ้อรถไปทา
ให้ นิติกรรมเป็ นโมฆียะ
(4) บุคคลผู้เสมือนไร้ ความสามารถ
 ต้ องได้ รับความยินยอมจากผู้พิทกั ษ์ (ป.พ.พ.มาตรา 34)
– ในพฤติการณ์อนั สมควร ศาลจะสัง่ ให้ บคุ คลผู้เสมือนไร้ ความสามารถ ต้ องได้ รับความยินยอมของผู้
22
พิทกั ษ์ ก่อนอีกก็ได้
3. ความสามารถของบุคคล(ต่ อ 3)
(5) คู่สมรส
• สินส่วนตัวของคูส่ มรสฝ่ ายใด ให้ ฝ่ายนันเป็
้ นผู้จดั การ (ป.พ.พ. มาตรา 1473)
• จัดการสินสมรสร่วมกันหรื อได้ รับความยินยอมจากอีกฝ่ ายหนึง่ ตาม ป.พ.พ.มาตรา 1476
กรณีดงั ต่อไปนี ้
ใน
(1) ขาย แลกเปลี่ยน ขายฝาก ให้ เช่าซื ้อ จานอง ปลดจานอง หรื อโอนสิทธิจานอง ซึง่ อสังหาริ มทรัพย์หรื อสังหาริ มทรัพย์ที่
อาจจานองได้
(2) ก่อตังหรื
้ อกระทาให้ สดุ สิ ้นลงทังหมดหรื
้
อบางส่วนซึง่ ภาระจายอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพื ้นดิน สิ ทธิเก็บกิน หรื อภาระ
ติดพันในอสังหาริ มทรัพย์
(3) ให้ เช่าอสังหาริ มทรัพย์เกินสามปี
(4) ให้ ก้ ยู ืมเงิน
(5) ให้ โดยเสน่หา เว้ นแต่การให้ ที่พอควรแก่ฐานานุรูปของครอบครัวเพื่อการกุศล เพื่อการสังคม หรื อตามหน้ าที่ธรรมจรรยา
(6) ประนีประนอมยอมความ
(7) มอบข้ อพิพาทให้ อนุญาโตตุลาการวินิจฉัย
(8) นาทรัพย์สินไปเป็ นประกันหรื อหลักประกันต่อเจ้ าพนักงานหรื อศาล
• (ไม่ ร่วมกันหรื อไม่ ยนิ ยอมฟ้องเพิกถอนได้ เว้ นแต่คสู่ มรสอีกฝ่ ายให้ สตั ยาบันหรื อ
บุคคลภายนอกได้ กระทาการโดยสุจริ ตและเสียค่าตอบแทน)
23
3. ความสามารถของบุคคล(ต่ อ 4)
(6) การทานิตกิ รรมต้ องได้ รับอนุญาตจากศาล
– นิติกรรมอันเกี่ยวกับทรัพย์สินของผูเ้ ยำว์บำงประกำร ผูใ้ ช้อำนำจปกครองไม่อำจทำ
ได้โดยลำพังต้องขออนุญำตจำกศำลก่อน เช่น บิดำซื้ อบ้ำนให้ลกู โดยชือ่ ผูถ้ ือ
กรรมสิ ทธิ์ เป็ นชื่อลูก เช่นนี้ถำ้ บิดำจะขำยบ้ำนหลังนี้ ตอ้ งขออนุญำตต่อศำล (ไม่ได้รับ
อนุญำตจำกศำลตกเป็ นโมฆะ)
– ทำสัญญำแบ่งปั นทรัพย์มรดกเป็ นสัญญำประนีประนอมยอมควำมแทนผูเ้ ยำว์ กำร
สละมรดกกำรรับมรดกอันมีภำระติดพันหรื อเงื่อนไข (ได้รับควำมยินยอมจำกบิดำ
มำรดำ ผูป้ กครอง ผูอ้ นุบำล ผูพ้ ิทกั ษ์ แล้วแต่กรณีแล้วยังต้ องได้รับอนุญำตจำกศำล)
– กิจกำรอันขัดกับประโยชน์ของผูเ้ ยำว์ (ตกเป็ นโมฆะ)
24
4. เจตนาของการทาสั ญญา
(1) ต้องกระทำโดยบริสุทธิ์ มุ่งจะผูกนิติสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคล
(2) กำรแสดงเจตนาซ่ อนเร้ น (คือ กำรแสดงเจตนำในใจจริ ง ผูแ้ สดงมิได้มีเจตนำให้ตน
ต้องผูกพัน ตำมที่ได้แสดงออกมำ คือ ปำกกับใจไม่ตรงกัน) ไม่ เป็ นโมฆะ เว้ นแต่
คู่กรณีร้ ู ถึงเจตนาอันซ่ อนเร้ น (ป.พ.พ.มำตรำ 154)
• เช่น นำง ก. คิดและตัดสิ นใจที่จะยืมเครื่ องเพชรของ นำง ข. แต่เกรงว่ำ นำง ข.จะไม่ให้ยมื
จึงบอกนำง ข. ว่ำขอซื้อเครื่ องเพชรในรำคำ 100,000 บำท โดยขอรับเครื่ องเพชรไปก่อนและ
จะชำระรำคำภำยหลังในอีก 1 สัปดำห์ นำง ข. ตกลงขำยให้ เช่นนี้ เมื่อ นำง ก. ใช้เครื่ องเพชร
เสร็จแล้วก็นำมำคืนโดยอ้ำงว่ำแท้จริ งนั้นต้องกำรแค่ขอยืมเท่ำนั้น นำง ก. ต้องผูกผันตำมที่
แสดงออกมำ คือผูกพันตำมสัญญำซื้อขำย เว้นแต่ นำง ข. จะรู้อยูแ่ ล้วว่ำ เจตนำที่จริ งของนำง
ก. นั้น ต้องกำรแค่ยมื เครื่ องเพชรเท่ำนั้น
25
4. เจตนาของการทาสั ญญา (1)
(3) กำรแสดงเจตนาลวง โดยสมรู ้กนั ตกเป็ นโมฆะ แต่จะยกขึ้นต่ อสู้
บุคคลภายนอกผูท้ ำกำรโดยสุ จริตและเสี ยค่ าตอบแทนมิได้ (ป.พ.พ.
มำตรำ 155)
 นำย ก. เป็ นลูกหนี้ของนำย ข. นำย ก. เกรงว่ำ นำย ข. เจ้ำหนี้ จะมำยึด
รถยนต์คนั เดียวที่ตนมีอยูไ่ ปชำระหนี้ นำย ก. จึงสมคบกับนำย ค. ซึ่ง
เป็ นเพื่อนสนิททำเป็ นนิติกรรมโอนขำยรถยนต์ให้กบั นำย ค. ไป โดยไม่
มีกำรซื้อขำยกันจริ ง แต่หำกนำย ค . โอนขำยรถยนต์คนั ดังกล่ำวให้กบั
นำย เอ ซึ่งนำยเอไม่รู้ถึงกำรสมคบระหว่ำงนำย ก. และ นำย ค. และนำย
เอ เสี ยค่ำตอบแทน นำยเอ ย่อมได้รับควำมคุม้ ครอง
26
4. เจตนาของการทาสั ญญา (2)
(4) กำรแสดงเจตนาอันได้ มาเพราะกลฉ้ อฉลหรือข่ มขู่ เป็ นโมฆียะ (ป.พ.พ.
มำตรำ 159,164)
นำย ก. หลอกลวงนำย ข. ว่ำแหวนที่ตนนำมำขำยนั้นเป็ นแหวนพลอยแท้ นำย ข.
หลงเชื่อ จึงซื้อแหวนดังกล่ำว ปรำกฏว่ำแหวนดังกล่ำวเป็ นพลอยเทียม ซึ่ งหำกนำย ข.
ทรำบว่ำเป็ นพลอยเทียมก็คงไม่ทำสัญญำซื้อขำยจำกนำย ก. ทำให้นำย ข. หลงเชื่อ
และได้แสดงเจตนำทำนิติกรรมไปเพรำะถูกหลอกลวงนั้น นิติกรรมที่นำย ข. ทำจึง
ตกเป็ นโมฆียะ
 นำย ก.ใช้ปืนจ่อศีรษะนำย ข. บังคับให้ยกทรัพย์สินของนำย ข. ทั้งหมดให้กบั ตน
มิฉะนั้นจะฆ่ำเสี ย นำย ข. เกิดควำมหวำดกลัวภัยที่ใกล้จะถึงและร้ำยแรง จึงตัดสิ นใจ
ทำนิติกรรมยกทรัพย์สินดังกล่ำวให้นำย ก. เช่นนี้ นิติกรรมนั้นเกิดขึ้นเพรำะกำรข่มขู่
เป็ นโมฆียะ

27
4. เจตนาของการทาสั ญญา (3)
(5) กำรแสดงเจตนาด้ วยความสาคัญผิดในสาระสาคัญแห่ งนิติกรรมเป็ นโมฆะ
(ป.พ.พ. มำตรำ 156)
o (ลักษณะแห่งนิติกรรม) เช่น เข้ำใจว่ำลงลำยมือชื่อในสัญญำค้ ำประกัน
แต่ ในควำมเป็ นจริ งได้ลงลำยมือชื่อในสัญญำกู้ ซึ่งไม่ตรงกับเจตนำที่แท้จริ งภำยใน
o (สำคัญผิดในตัวทรัพย์อนั เป็ นวัตถุแห่งนิติกรรม) เช่น ต้องกำรซื้อขำยที่ดินแปลงที่ 1
แต่เข้ำทำสัญญำซื้อขำยที่ดินแปลงที่ 2 จึงเป็ นกำรแสดงเจตนำทำนิติกรรมซื้อที่ดินผิด
แปลง
o (สำคัญผิดในตัวบุคคลซึ่งเป็ นคู่กรณี แห่งนิติกรรม) ต้องกำรจ้ำงนำงสำว ก. มำเป็ น
แม่บำ้ น แต่เวลำแสดงเจตนำ เข้ำใจว่ำ นำง ข. คือนำงสำว ก. จึงได้แสดงเจตนำทำนิติ
กรรมจ้ำง นำง ข. ซึ่งเป็ นกำรจ้ำงผิดตัว
• ถ้ าประมาทเลินเล่ ออย่างร้ ายแรง หำอำจเอำควำมไม่สมบูรณ์น้ นั มำใช้เป็ นประโยชน์แก่ตน
ไม่ได้ (ป.พ.พ. มำตรำ 158)
28
4. เจตนาของการทาสั ญญา (4)
(6) กำรแสดงเจตนำด้วยควำมสำคัญผิด ในคุณสมบัติของบุคคลหรื อ
ทรัพย์เป็ นโมฆียะ (ป.พ.พ. มำตรำ 157)
o นำย ก อยำกได้คนมำทำสวน เข้ำใจว่ำนำย ข มีคุณสมบัติทำสวนได้ นำย ก จึง
แสดงเจตนำจ้ำงนำย ข ปรำกฏว่ำนำย ข ทำสวนไม่เป็ น เช่นนี้แสดงว่ำ นำย ก
สำคัญผิดในคุณสมบัติของนำย ข
o นำย ก. ต้องกำรซื้ อรถคันหนึ่งของนำย ข. โดยเข้ำใจว่ำรถของนำย ข. สำมำรถ
ใช้เป็ นยำนพำหนะได้ จึงตกลงซื้ อในรำคำ 500,000 บำท ปรำกฏว่ำรถคัน
ดังกล่ำวไม่สำมำรถขับเคลื่อนไปได้ เช่นนี้ จะเห็นว่ำนำย ก. สำคัญผิดใน
คุณสมบัติของรถยนต์ซ่ ึ งเป็ นสำระสำคัญ
29
5. อากรแสตมป์
ประมวลรัษฎำกร มำตรำ 118 บัญญัติว่ำ “ตรำสำรใดไม่ปิดอำกรแสตมป์
บริ บู ร ณ์ จ ะใช้ ต ้ น ฉบั บ คู่ ฉ บั บ หรื อ คู่ ฉี ก หรื อส ำเนำตรำสำรนั้ นเป็ น
พยำนหลักฐำนในคดี แพ่งไม่ได้ จนกว่ำจะได้เสี ย อำกรโดยปิ ดแสตมป์ ครบ
จำนวนตำมอัตรำในบัญชีทำ้ ยหมวดนี้และขีดฆ่ำแล้ว แต่ ทั้งนี้ ไม่เป็ น กำรเสื่ อม
สิ ทธิที่จะเรี ยกเงินเพิ่มอำกรตำมมำตรำ 113 และมำตรำ 114”
ตราสาร หมำยควำมว่ำ เอกสำรที่ ตอ้ งเสี ยอำกรตำมหมวดนี้ (ประมวล
รัษฎำกร มำตรำ 103) ตรำสำรที่ระบุไว้ในบัญชี ทำ้ ยหมวดนี้ ตอ้ งปิ ดแสตมป์
บริ บูรณ์ ตำมอัตรำที่กำหนดไว้ในบัญชีน้ นั (ประมวลรัษฎำกร มำตรำ 104)
o ดังนั้นการ
 ไม่ปิดอำกรใช้เป็ นพยำนหลักฐำนคดีแพ่งไม่ได้ จนกว่ำเสี ยอำกรครบถ้วนและขีดฆ่ำ
 ปิ ดอำกรไม่ครบ ใช้เป็ นพยำนหลักฐำนคดีแพ่งไม่ได้
 ไม่ขีดฆ่ำอำกร ใช้เป็ นพยำนหลักฐำนคดีแพ่งไม่ได้
30
(4) รู ปแบบพืน้ ฐานของการร่ างสั ญญา
1. ชื่อสั ญญา
– หำกรู ้ ว่ำข้อ ตกลงของทุ กฝ่ ำยเป็ นเรื่ อ งอะไรก็ค วรระบุ ชื่ อ ในสั ญ ญำให้ชัด เพื่ อ
สะดวกในกำรพิจำรณำปัญหำข้อกฎหมำย (อำจมิใช่สำระสำคัญในกำรร่ ำงสัญญำ)
2. สถานที่ในการทาสั ญญา
– เป็ นสำระสำคัญ เพื่อช่วยทรำบถึงมูลคดีเกิดที่ไหน ฟ้ องที่ศำลใด (ป.วิ.แพ่ง
มำตรำ 4)
3. วัน เวลา ทาสั ญญา
– เป็ นข้อสำคัญเพื่อประโยชน์ในกำรบังคับตำมสัญญำ,ทำสัญญำกันจริ งหรื อไม่ ,
คู่สัญญำมีควำมสำมำรถทำหรื อไม่, ผิดสัญญำจะขำดอำยุควำมฟ้ องร้องหรื อไม่
31
4. ชื่อคู่สัญญา อายุ ภูมิลาเนา
– เป็ นสำระสำคัญเพื่อทรำบว่ำคู่สัญญำเป็ นใคร หรื อผูม้ อบอำนำจเป็ นผูใ้ ด เป็ นบุคคล
ธรรมดำหรื อนิติบุคคล
– อำยุ ดูวำ่ มีควำมสำมำรถทำนิติกรรมหรื อไม่ ถ้ำไม่ได้ ใครเป็ นผูท้ ำแทน
– ภูมิลำเนำเป็ นประโยชน์ในกำรส่ งหนังสื อบอกกล่ำวทวงถำม กำรส่ งหมำยเพื่อบังคับ
คดี
5. รายละเอียดเกีย่ วกับทรัพย์ อนั เป็ นวัตถุแห่ งหนี้
– เป็ นสำระสำคัญ
– ต้องระบุให้ได้ควำมละเอียดชัดเจนและต้องตำมควำมประสงค์ของคู่สัญญำ
ตัวอย่ าง
» เกี่ยวกับกำรโอนทรัพย์ (ประเภท ชนิด ปริ มำณ จำนวน)
» เกี่ยวกับเงินตรำ (จำนวนเงินกู้ ดอกเบี้ย ค่ำเสี ยหำย)
32
6. รายละเอียดเกีย่ วกับสิ ทธิหน้ าทีข่ องแต่ ละฝ่ าย
(1) สิ ทธิและหน้ำที่ของคู่สญ
ั ญำ
 ทรำบถึงสิ ทธิที่แต่ละฝ่ ำยจะได้รับและหน้ำที่แต่ละฝ่ ำยจะต้องปฏิบตั ิตำม
วัตถุประสงค์
(2) วัน เวลำ ในกำรชำระหนี้ หรื อบังคับตำมสัญญำ
 เพื่อสะดวกและแน่นอนในกำรชำระหนี้หรื อบังคับตำมสัญญำ
 ไม่กำหนดเจ้ำหนี้มีสิทธิเรี ยกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้โดยพลัน
(3) สถำนที่ที่ชำระหนี้ หรื อบังคับตำมสัญญำ
 เพื่อควำมแน่นอนว่ำจะชำระหนี้ ณ ที่ใด
(4) รำยละเอียดเกี่ยวกับวิธีกำรชำระหนี้วำ่ จะใช้วิธีใด
 โอนเข้ำบัญชี หรื อจ่ำยเงินทุกวันที่อะไร
(5) ข้อตกลงเงื่อนไขพิเศษต่ำงๆ ที่แตกต่ำงจำกที่กฎหมำยกำหนดไว้
 ใครเป็ นผูอ้ อกค่ำธรรมเนียมกำรโอนกรรมสิ ทธิ์,ใครเสี ยภำษี เป็ นต้น
33
7. สั ญญามีอะไรบ้ างทีไ่ ม่ ปฏิบัติตามสั ญญาจะผิดสั ญญาทั้งหมดหรือผิด
สั ญญาข้ อใดข้ อหนึ่งหรือผิดสั ญญากันอย่ างไร
8. ค่ าเสี ยหาย
• ระบุให้ชดั เจนเพื่อเป็ นกำรรักษำผลประโยชน์ของเจ้ำหนี้
9. ข้ อบังคับตามสั ญญามีอะไร(อีกบ้ าง)
10. เรื่องเขตอานาจศาล
• ไม่ใช่สำระสำคัญ (ไม่ระบุ ฟ้ องตำม ป.วิแพ่ง มำตรำ 3-6)
• ถ้ำระบุตอ้ งระบุศำลภำยใต้หลักเกณฑ์ตำมมำตรำ 7 แห่ง ป.วิแพ่ง คือเขตอำนำจ
ศำลที่ทำสัญญำ หรื อทรัพย์พิพำทตั้งอยู่ หรื อศำลที่คู่สัญญำฝ่ ำยใดฝ่ ำยหนึ่งมี
ภูมิลำเนำ
11.
•
วรรคท้ ายของสั ญญา
ทำกี่ฉบับ เป็ นภำษำอะไร และคู่ควำมอ่ำนเข้ำใจแล้ว จึงลงนำมต่อหน้ำพยำน
34
12. ลายมือชื่อคู่สัญญา
 ของบุคคลธรรมดำ หรื อผูร้ ับมอบอำนำจ (หำกมี)
 นิติบุคคล ลงชื่อประทับตรำ หรื อผูร้ ับมอบอำนำจ (หำกมี)
 พิมพ์ลำยนิ้วมือ ลงชื่อพยำน 2 คน รับรองลำยนิ้วมือ (ถ้ำไม่มีพยำน สัญญำเป็ นอันใช้ไม่ได้)
13. ลายมือชื่อพยาน (รับรองการทาสั ญญา)
 กฎหมำยไม่หำ้ มที่จะมี
 ถ้ำมีควรเป็ นคนน่ำเชื่อถือ ซึ่งพยำนนั้นจะต้องรู้เห็นกำรลงลำยมือชื่อของสัญญำ
14. อากรแสตมป์
 ไม่ปิด
 ปิ ดไม่ครบหรื อขำด หรื อไม่ขีดฆ่ำ จะใช้เป็ นพยำนหลักฐำนคดีแพ่งไม่ได้
15. เอกสารแนบท้ ายสั ญญา
 แท้จริ งมิใช่สัญญำ
 แต่เป็ นกำรตกลงให้นำมำแนบท้ำยสัญญำและให้ถือเป็ นส่ วนหนึ่งของสัญญำ
35
(5) สรุปสั ญญาควรมีข้อความ
1. ชื่อสัญญา
2. สถานที่ในการทาสัญญา
3. วัน เวลา ทาสัญญา
4. ชื่อคู่สญ
ั ญา อายุ ภูมิลาเนา
5. รายละเอียดเกี่ยวกับทรัพย์อนั เป็ นวัตถุแห่งหนี้
6. รายละเอียดเกี่ยวกับสิ ทธิหน้าที่ของแต่ละฝ่ าย
7. ข้อผิดสัญญา
8. ค่าเสี ยหายเมื่อมีการผิดสัญญา
9. ข้อบังคับตามสัญญา
10. เขตอานาจของศาล (หากมี)
11. วรรคท้ายของสัญญา
12. ลายมือชื่อคู่สญ
ั ญา
13. ลายมือชื่อพยาน
14. อากรแสตมป์
15. เอกสารแนบท้ายสัญญา
36
(6) ข้ อควรคานึงในการร่ างสั ญญา
• เพือ่ ให้ มีผลผูกพันเป็ นธรรมแก่ทุกฝ่ าย
1) ข้ อความในสั ญญาต้ องชัดเจนแน่ นอน
– เป็ นกำรตัดปัญหำ กำรตีควำมและเกิดช่องว่ำงในกำรแสวงหำผลประโยชน์
– หรื อใช้อำ้ งเพื่อปฏิเสธควำมรับผิดชอบของแต่ละฝ่ ำย
2) สิ ทธิและหน้ าที่ควรเท่ าเทียมกัน
– ต้องคำนึงถึงสิ ทธิและหน้ำที่แต่ละฝ่ ำยตำมประโยชน์ตำมประเภทของสัญญำ
– ควรกำหนดค่ำเสี ยหำยพอควร เมื่อมีกำรผิดนัด
– ต้องคำนึงถึงเหตุผลและมนุษยธรรมโดยเฉพำะขอบเขตกำรเรี ยกร้องตำมที่กฎหมำย
กำหนดไว้
3) ข้ อความจะต้ องบังคับกันได้ ตามกฎหมาย
– โดยเฉพำะที่เกี่ยวกับควำมสงบเรี ยบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชำชน
37
ข้ อควรคานึงในการร่ างสั ญญา(ต่ อ 1)
4) ข้ อตกลงกันเกีย่ วกับค่ านายหน้ า
อำจตกลงกับคู่สญ
ั ญำทั้งสองฝ่ ำยได้
ต้องให้ระบุให้ชดั เจนว่ำฝ่ ำยใดมีหน้ำที่จ่ำยค่ำนำยหน้ำ
จำนวนเงินค่ำนำยหน้ำ ก็ตอ้ งระบุให้แน่นอน
–
–
–
5) ภาระด้ านภาษี
1) ต้องชำระภำษีหรื อไม่
» ต้องตรวจว่ำสัญญำที่ร่ำง จะต้องมีกำรเสี ยค่ำธรรมเนียมหรื อภำษีแก่รัฐหรื อไม่ จำนวนอัตรำ
เท่ำใด เป็ นเงินเท่ำไหร่ เสี ยที่ใด
2) กฎหมำยกำหนดให้ผใู้ ดเป็ นผูเ้ สี ย
»
กฎหมำยผูใ้ ดจ่ำย หรื อออกเท่ำกัน
»
คู่สญ
ั ญำอำจตกลงให้ฝ่ำยใดฝ่ ำยหนึ่งออกก็ได้ (มิใช่กฎหมำยเกี่ยวกับควำมสงบเรี ยบร้อย)
3) กำหนดในสัญญำผูใ้ ดเป็ นผูเ้ สี ย
» ไม่ควรจะไปชี้แนะให้มีกำรผลักภำระค่ำธรรมเนียมหรื อภำษีให้แก่อีกฝ่ ำยหนึ่ง เมื่อคู่สญ
ั ญำ
ตกลงอย่ำงไร ก็ร่ำงไปตำมนั้น
38
ข้ อควรคานึงในการร่ างสั ญญา(ต่ อ 2)
6)
อนุญาโตตุลาการ
– สัญญำต้องพิจำรณำถึงวัตถุประสงค์แท้จริ งระหว่ำงคู่สญ
ั ญำ คือกำรช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เป็ น
เกณฑ์ในกำรหำทำงแก้ปัญหำโดยสันติ
– ไม่ถึงกับต้องขึ้นศำล เสี ยทั้งเงิน เสี ยทั้งเวลำ
– ยังเป็ นเหตุให้บำดหมำงน้ ำใจร่ วมทำธุรกิจต่อไปไม่ได้อีก
– ทำงปฏิบตั ิ เมื่อมีขอ้ พิพำทต้องเริ่ มต้นที่กำรเจรจำโดยคู่สญ
ั ญำส่ งตัวแทนเจรจำ
– แต่อำจใช้คนกลำงมำช่วยแก้ปัญหำตำมสัญญำ
– ถ้ำคนกลำงเข้ำมำเจรจำอย่ำงเป็ นทำงกำร กฎหมำยที่เรี ยกว่ำ “อนุญำโตตุลำกำร”
– ระงับข้อพิพำทโดยอนุญำโตตุลำกำร ใช้เวลำรวดเร็ว ประหยัด บรรยำกำศของกำรพิจำรณำ
เหมือนกำรประชุมหำรื อกัน โดยมีองค์กรอนุญำโตตุลำกำรร่ วมประชุมด้วย
– ทำให้คู่กรณี มีแนวโน้ม ไม่เคร่ งเครี ยด ไม่เป็ นอุปสรรคต่อกำรปฏิบตั ิงำน ตำมสัญญำในส่ วนอื่น ๆ
39
ข้ อควรคานึงในการร่ างสั ญญา(ต่ อ 3)
7) จานวนของสั ญญา
1.
2.
3.
4.
5.
ควรทำจำนวน 2 ฉบับ
ข้อควำมทั้งสองฉบับจะต้องเหมือนกันทุกประกำร
คู่สัญญำจะต้องลงลำยมือชื่อไว้ท้ งั 2 ฉบับ
ระบุในสัญญำว่ำทำไว้กี่ฉบับด้วย
แต่ละฝ่ ำยจะเก็บไว้คนละ 1 ฉบับ
40
มัดจา
• มัดจา
– คือเงินหรื อสิ่ งมัดจำอื่นซึ่ งคู่สัญญำได้ส่งมอบให้ไว้แก่กนั เมื่อเข้ำทำสัญญำ
– เพื่อประโยชน์ในกำรเป็ นพยำนหลักฐำนว่ำสัญญำได้ทำกันขึ้นแล้ว
– และเพื่อประโยชน์ในกำรเป็ นประกันกำรปฏิบตั ิตำมสัญญำ
– กรณี ที่มีกำรชำระหนี้ ตำมสัญญำโดยถูกต้อง เงินมัดจำที่ให้ไว้จะต้องส่ งคืน หรื อ
จะจัดเอำเป็ นกำรชำระหนี้บำงส่ วน
– แต่ในกรณี ที่ไม่มีกำรชำระหนี้ ตำมสัญญำ กฎหมำยให้สิทธิ แก่ฝ่ำยที่รับมัดจำไว้
ในอันที่จะริ บมัดจำนั้นเสี ย หรื อถ้ำกำรชำระหนี้ตกเป็ นพ้นวิสัย อันเป็ นควำมผิด
ของฝ่ ำยที่วำงมัดจำ ก็ให้ริบมัดจำ
41
มัดจา
• ข้ อสั งเกต
– แม้ในสัญญำจะซื้อจะขำยอสังหำริ มทรัพย์ จะมีหลำยวิธี คือมี หลักฐำน
เป็ นหนังสื อ วำงมัดจำหรื อมีกำรชำระหนี้บำงส่ วน
– แต่หำกคู่สญ
ั ญำตกลงกันว่ำจะทำสัญญำเป็ นหนังสื อ
– หำกคู่สญ
ั ญำยังไม่ได้ทำสัญญำจะซื้อจะขำยเป็ นหนังสื อกันไว้ถือว่ำ
สัญญำยังไม่เกิด แม้จะมีกำรวำงมัดจำหรื อมีกำรชำระหนี้บำงส่ วนแล้วก็
ตำม
– คู่สญ
ั ญำจะฟ้ องให้คู่สญ
ั ญำอีกฝ่ ำยหนึ่งปฏิบตั ิตำมสัญญำจะซื้อจะขำย
ไม่ได้
42
เบีย้ ปรับ
• เบีย้ ปรับ
– คือค่ำเสี ยหำย หรื อ สิ นไหมทดแทนควำมเสี ยหำยซึ่ งคู่สัญญำกำหนด
ไว้ล่วงหน้ำ
– โดยลูกหนี้ให้สัญญำว่ำ ถ้ำลูกหนี้ไม่ชำระหนี้หรื อไม่ชำระหนี้ ให้
ถูกต้องตำมสมควร หรื อฝ่ ำฝื นกำรงดเว้นอันใดอันหนึ่งให้เจ้ำหนี้ริบ
หรื อเรี ยกเอำเบี้ยปรับนั้นได้
• ข้ อสั งเกต
– ในบำงกรณี เจ้ำหนี้อำจไม่ได้รับควำมเสี ยหำยในทำงทรัพย์สินเลย
– แต่เจ้ำหนี้กย็ งั มีสิทธิ เรี ยกเบี้ยปรับเพื่อลงโทษลูกหนี้ ในฐำนผิดสัญญำ
ไม่ชำระหนี้กไ็ ด้
43
เบีย้ ปรับ
• หลักเกณฑ์ ในการเรียกเบีย้ ปรับ
– หำกเรี ยกเบี้ยปรับมำกกว่ำค่ำเสี ยหำย จะเรี ยกค่ำเสี ยหำยอีกไม่ได้
(ฎีกำ 664/2530)
– หำกเรี ยกค่ำเสี ยหำยได้เต็มควำมเสี ยหำยที่ได้รับแล้วจะเรี ยกเบี้ยปรับ
อีกไม่ได้ (ฎีกำ 5277/2540)
– หำกเบี้ยปรับนั้นสู งเกินควร กฎหมำยให้อำนำจศำลลดเบี้ยปรับตำม
จำนวนที่เห็นสมควรได้
44
ข้ อแตกต่ างของมัดจาและเบีย้ ปรับ
• มัดจา มีกำรส่ งมอบวัตถุตำมสัญญำ (เช่น ทรัพย์)
แต่เบีย้ ปรับ จะส่ งมอบวัตถุแห่งสัญญำหรื อไม่กไ็ ด้
• มั ด จ า เป็ นหลัก ฐำนหรื อ เป็ นประกัน ในกำรที่ จ ะปฏิ บ ัติ ต ำม
สัญญำ แต่เบีย้ ปรั บ เป็ นกำรกำหนดค่ำสิ นไหมทดแทนในกรณี ที่
ไม่ชำระหนี้ให้ถูกต้องตำมที่ตกลงกันไว้ล่วงหน้ำ
• มัดจา โดยปกติทรัพย์ที่วำงให้อีกฝ่ ำยหนึ่ งยึดไว้มีจำนวนน้อย
ส่ วนเบีย้ ปรับ โดยปกติทรัพย์สินที่วำงไว้มกั มีจำนวนมำก
45
สรุปข้ อควรคานึงในการร่ างสั ญญา
สิ่ งต่ อไปทีค่ วรพิจารณาในเรื่องการร่ างสั ญญา เพือ่ ให้ มผี ลผูกพันที่เป็ นธรรม
แก่ ทุกฝ่ าย
ซึ่ งได้แก่
1. ข้อความในสัญญาต้องชัดแจ้งแน่นอน
2. สิ ทธิ และหน้าที่ควรเท่าเทียมกัน
3. ข้อความจะต้องบังคับกันได้ตามกฎหมาย
4. การตกลงกันเกี่ยวกับค่านายหน้า
5. ภาระด้านภาษี
5.1 ต้องชาระภาษีหรื อไม่
5.2 กฎหมายกาหนดให้ผใู ้ ดเป็ นผูเ้ สี ย
5.3 กาหนดในสัญญาผูใ้ ดเป็ นผูเ้ สี ย
6. อนุญาโตตุลาการ
7. จานวนของสัญญา
46
(๑) ชื่อสัญญา
หนังสือสัญญากู้ยืมเงิน(๑)
ทาที่ บริ ษัทที่ปรึกษากฎหมายสมัครและเพื่อน จากัด
เลขที่ ๑๒๒ ถนนบุญศิริ แขวงศาลเจ้ าพ่อเสือ
เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร(๒)
(๓) วันทาสัญญา
วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๑(๓)
(๔) คู่สัญญา(บุคคลธรรมดา)
หนังสือสัญญาฉบับนี ้ทาขึ ้นระหว่าง นายกรุณา การุณ(๔) อายุ ๒๕ ปี
และนิตบิ ุคคล)อายุ ภูมลิ าเนา อยู่บ้านเลขที่ ๑ ถนนพระราม ๒ แขวงแสมดา เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ ซึง่ ต่อไป
ในสัญญานี ้ จะเรี ยกว่า“ผู้ก้ ”ู ฝ่ ายหนึง่ กับ นายขจรศักดิ์ จันทร์ ดี(๔) อายุ ๓๐ ปี อยู่
บ้ านเลขที่ ๒ ถนนพระราม ๓ แขวงแสมดา เขตบางคาดี กรุงเทพฯ ซึง่ ต่อไปใน
สัญญานี ้จะเรี ยกว่า “ผู้ให้ ก้ ”ู อีกฝ่ ายหนึง่
ทังสองฝ่
้
ายตกลงทาสัญญากันดังต่อไปนี ้
(๕) รายละเอียดอันเป็ น
ข้ อ ๑.ผู้ก้ ตู กลงกู้เงินจานวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท(หนึง่ ล้ านบาท) จากผู้ให้
ทรัพย์ สินอันเป็ นวัตถุแห่ งหนี ้ กู้ ซึง่ ผู้ก้ ไู ด้ รับเงินจานวนดังกล่าวไปครบถ้ วนเรี ยบร้ อยแล้ วในวันทาสัญญา(๕)
ข้ อ ๒.ผู้ก้ ตู กลงชาระดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ ๑๕ ต่อปี โดยตกลงชาระ
ทุกวันที่ ๓๐ ของเดือน นับแต่เดือนมีนาคม ๒๕๕๑ เป็ นต้ นไป(๕)
ข้ อ ๓.ผู้ก้ ตู กลงชาระเงินกู้ตามสัญญากู้ข้อ ๑. คืนให้ แก่ผ้ ใู ห้ ก้ ใู นวันที่ ๑
มีนาคม ๒๕๕๒(๕)
(๒) สถานที่ทาสัญญา
47
(๖) รายละเอียดเพิ่มเติมสิทธิ
หน้ าที่ของแต่ ละฝ่ าย
(๗) มีอะไรบ้ างที่ไม่ ปฏิบัตจิ ะผิดสัญญา
หรื อผิดสัญญาข้ อใดข้ อหนึ่ง
ถือว่ าผิดสัญญาทุกข้ อ
(๘) ค่ าเสียหาย(ไม่ มี)
ข้ อ ๔.ผู้ก้ ตู กลงชาระดอกเบี ้ย และหรื อเงินต้ นคืนแก่ผ้ ใู ห้ ก้ ู ณ ภูมลิ าเนา
ของผู้ให้ ก้ (๖)
ู
ข้ อ ๕.หากผู้ก้ ผู ิดสัญญาข้ อใดข้ อหนึ่ง ถือว่าผิดสัญญาทุกข้ อ(๗) ยินยอม
ให้ ผ้ ใู ห้ ก้ ฟู ้ องบังคับคดีได้ ทนั ที โดยมิต้องบอกกล่าวล่วงหน้ า(๙)
ข้ อ ๖. หากมีการฟ้องร้ องบังคับตามสัญญานี ้ คู่สญ
ั ญาตกลงให้ ยื่นฟ้อง
(๑๐)
ที่ศาลแพ่งธนบุรี
หนังสือสัญญาฉบับนี ้ทาขึ ้นเป็ นสองฉบับ(๑๑) ซึง่ คู่สญ
ั ญาได้ อ่านข้ อความ
ข้ อความในสัญญานี ้เข้ าใจดีแล้ ว จึงลงลายมือชื่อไว้ เป็ นสาคัญต่อหน้ าพยาน
(๙) ข้ อบังคับตามสัญญา
(๑๐) ระบุเขตอานาจศาลที่จะฟ้องหรื อ
อนุญาโตตุลาการก็ได้
(๑๑) ระบุทาสัญญากี่ฉบับ
(๑๒) ลงชื่อคู่สัญญา
(๑๓) พยานรั บรองการทาสัญญา
(๑๔) อากรแสตมป์
(๑๕) เอกสารแนบท้ าย (ไม่ มี)
ลงชื่อ..............................................................
ผู้ก้ (๑๒)
ู
(
นายกรุณา การุณ
)
ลงชื่อ................................................................ผู้ให้ ก้ (๑๒)
ู
(
นายขจรศักดิ์ จันทร์ ดี )
ลงชื่อ................................................................พยาน(๑๓)
ลงชื่อ................................................................พยาน
อากรแสตมป์
48
49
แสดงเปรียบเทียบการร่ างสั ญญากับการร่ างฟ้อง
1.ชื่อสัญญา
1.ชื่อเรื่ องที่ฟ้อง (จะอยูต่ รงช่องก่อนทุนทรัพย์)
2.สถานที่ทาสัญญา
2. ศาล
3.วันที่ทาสัญญา
3. วันฟ้อง (หรื อยื่นฟ้อง)
4.คู่สัญญา ( 2 หรื อ 3 คน)
4. ชื่อคูค่ วาม (โจทก์ – จาเลย)
- บุคคลธรรมดา ผู้เยาว์
- บุคคลธรรมดา ผู้เยาว์
ผู้วิกลจริต
ผู้วิกลจริ ต
ผู้เสมือนไร้ ความสามารถ
ผู้เสมือนไร้ ความสามารถ
ผู้จัดการมรดก
ผู้จดั การมรดก
- นิตบิ ุคคล
(ตัวแทน)
- นิติบคุ คล
(ตัวแทน)
ป.พ.พ.
ป.พ.พ.
พ.ร.บ.กม.มหาชน
พ.ร.บ.กม.มหาชน
พ.ร.บ.กม. อื่น ๆ
พ.ร.บ.กม. อื่น ๆ
- ชื่อเรื่ องที่ฟ้อง (ข้ อหาหรื อฐานความผิด)
- ทุนทรัพย์
50
แสดงเปรียบเทียบการร่ างสั ญญากับการร่ างฟ้ อง(ต่ อ)
5.รายละเอียดเกี่ยวกับทรัพย์ อันเป็ นวัตถุแห่ งหนี ้ 5.รายละเอียดของการบรรยายฟ้อง (เรื่ องอะไร)
6. รายละเอียดเกี่ยวกับสิทธิหน้ าที่ของแต่ ละฝ่ าย 6. - รายละเอียดเกี่ยวกับสิทธิหน้ าที่ของแต่ละฝ่ าย
-วัน เวลา ในการชาระหนีแ้ ละการบังคับตามสัญญา
- ฐานะของโจทก์
-สถานที่ท่ ชี าระหนีห้ รือบังคับตามสัญญา
- ฐานะของจาเลย
-รายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการชาระหนี ้
- ความสัมพันธ์ระหว่างโจทก์จาเลย
-เงื่อนไขพิเศษต่ าง ๆ ที่เขียนแตกต่ างจากที่กฎหมายกาหนด - ผู้รับผิดร่วม
7. มีอะไรบ้ างที่ไม่ ปฏิบัตจิ ะผิดสัญญา หรือผิดสัญญาข้ อใด
7. ข้ อโต้ แย้ ง
ข้ อหนึ่ง ถือว่ าผิดสัญญาทุกข้ อ
8. ค่ าเสียหาย
8. ค่าเสียหาย
9. ข้ อบังคับตามสัญญา
9. คาขอบังคับ
10.จะระบุเขตอานาจศาลที่จะฟ้อง และอนุญาโตตุลาการก็ได้ 10.ศาลที่จะฟ้อง ดูตาม ป.วิ.แพ่ง
51
แสดงเปรียบเทียบการร่ างสั ญญากับการร่ างฟ้ อง(ต่ อ)
11.ระบุทาสัญญากี่ฉบับ
12.ลงชื่อคู่สัญญา
13.พยานรั บรองการทาสัญญา
14.เอกสารแนบท้ ายสัญญา
15.อากรแสตมป์
11.ระบุทาสาเนาคาฟ้องมาด้ วยกี่ฉบับ
12.ลงชื่อโจทก์
13.หรื อทนายโจทก์
14.เอกสารแนบท้ ายฟ้อง
15.เสียค่าฤชาธรรมเนียม
52
53
(1) ข้ อสั งเกตของสั ญญาเงินกู้
1
.
กฎหมำยกำหนดไว้วำ่ กำรกูย้ มื เงินเกินกว่ำ 2,000 บำท จะต้องมีหลักฐำนเป็ นหนังสื อแสดงว่ำได้
มีกำรกูย้ ืมกันไปจริ ง และหลักฐำนนั้นจะต้องลงลำยมือชื่ อผูก้ ดู้ ว้ ย ถ้ำไม่มีหลักฐำนเป็ นหนังสื อ
ดังกล่ำวแล้ว หำกผูก้ ไู้ ม่ยอมชำระเงินกูเ้ มื่อถึงกำหนด ผูใ้ ห้กจู้ ะฟ้ องเรี ยกเงินกูน้ ้ นั มิได้
หลักฐำนนี้ ตำมปกติจะทำกันในรู ปของสัญญำกู้ แต่มีหลักฐำนอย่ำงอื่นเป็ นหนังสื อแสดงว่ำ
ผูก้ ไู้ ด้กเู้ งินไปจริ งและลงลำยมือชื่อผูก้ แู้ ล้วก็ฟ้องเรี ยกได้ กฎหมำยมิได้บงั คับถึงกับว่ำจะต้องทำ
ในรู ปของสัญญำกูจ้ ึงจะใช้ได้ เช่น อำจเขียนไว้หลังซองบุหรี่ กไ็ ด้
2. สิ่ งที่นำไปให้เจ้ำหนี้ ยึดถือเป็ นประกันนั้น หำกเป็ นโฉนดที่ดิน หำกผูก้ ูไ้ ม่ชำระเงิน ผูใ้ ห้กจู้ ะยึด
เป็ นของตนทันทีมิได้ จะต้องฟ้ องบังคับคดีเสี ยก่อน
3. ดอกเบี้ยในกำรกูย้ ืมเงินนั้น กฎหมำยให้คิดกันได้เพียงร้อยละ 15 ต่อปี หำกคิดเกินกว่ำนั้น เช่ น
ร้อยละ 2 บำทต่อเดือน กฎหมำยถือว่ำข้อตกลงในส่ วนที่เกี่ยวกับดอกเบี้ยเป็ นโมฆะหรื อใช้ไม่ได้
ทั้งหมด ถื อ เสมื อ นกับสัญญำกู้น้ ันไม่ มีข ้อ ตกลงให้คิ ดดอกเบี้ ย ด้ว ย นอกจำกนั้น กำรที่ ผูใ้ ห้กู้
เรี ยกร้องดอกเบี้ยในอัตรำเกินกว่ำกฎหมำยกำหนดไว้ ผูใ้ ห้กยู้ งั จะต้องมีควำมผิดฐำนเรี ยกดอกเบี้ย
เกินอัตรำ อำจถูกจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรื อปรับไม่เกิน 1,000 บำท แม้วำ่ ผูก้ จู้ ะตกลงยินยอมด้วยก็ตำม
54
ข้ อสั งเกตของสั ญญาเงินกู้(ต่ อ)
4. สัญญำกูห้ ำกไม่กำหนดระยะเวลำชำระเงินไว้ เจ้ำหนี้ยอ่ มมีสิทธิเรี ยกเงินคืนเมื่อใดก็ได้ ดังนั้น
กำรกูเ้ งินควรจะระบุกำหนดเวลำที่จะต้องชำระเงินคืนไว้โดยชัดแจ้งมิฉะนั้นลูกหนี้จะตกเป็ น
ฝ่ ำยเสี ยเปรี ยบ ซึ่งถ้ำมีกำรกำหนดเวลำกันไว้แล้ว เจ้ำหนี้จะเรี ยกให้ชำระเงินก่อนครบกำหนด
ไม่ได้
5. สัญญำกูท้ ุกฉบับต้องปิ ดอำกรแสตมป์ 1 บำท ทุก ๆ จำนวนเงินที่กู้ 2,000 บำท แต่อำกร
แสตมป์ เกิน 10,000 บำท ให้ติดอำกรเพียง 10,000 บำท และผูก้ ยู้ มื เป็ นผูข้ ีดฆ่ำตำมประมวล
รัษฎำกร
6. เมื่อมีกำรชำระหนี้ ไม่วำ่ ทั้งหมดหรื อแต่บำงส่ วน ลูกหนี้จะต้องปฏิบตั ิอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ดังนี้
1) ให้เจ้ำหนี้ทำหนังสื อ โดยลงลำยมือชื่อว่ำได้รับชำระหนี้ไว้แล้วเท่ำใด
2) ให้เจ้ำหนี้บนั ทึกเป็ นหลักฐำนไว้ในหนังสื อสัญญำกู้
3) ถ้ำมีกำรชำระหนี้ท้ งั หมดแล้ว ลูกหนี้อำจขอหนังสื อสัญญำกูม้ ำทำลำยเสี ย
55
(2) ข้ อควรสั งเกตของสั ญญาจะซื้อจะขาย
1. กรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์ที่จะขำยนั้นยังไม่โอนไปยังผูจ้ ะซื้ อ จนกว่ำจะได้มีกำรจด
ทะเบียนกำรโอนกรรมสิ ทธิ์ ตำมกำหนดเวลำในสัญญำแล้ว
2. กำรวำงมัดจำนั้น ผูจ้ ะซื้ อวำงเพียงครั้งเดียวในวันทำสัญญำ และชำระส่ วนที่เหลือ
ทั้งหมดในวันจดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์ หรื อจะชำระเป็ นงวด ๆ และชำระงวด
สุ ดท้ำยในวันจดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์ กไ็ ด้
3. ทรัพย์สินที่จะขำยนั้น จะต้องระบุให้ชดั เจน เช่น จะขำยที่ดินโฉนดที่เท่ำใด เป็ น
เนื้อที่เท่ำใด ถ้ำมีบำ้ นหรื อตึกกี่ช้ นั กี่หลังก็ควรจะระบุไว้ดว้ ย หำกเป็ นรถยนต์ ควร
ระบุดว้ ยว่ำยีห่ อ้ อะไร เลขทะเบียนเท่ำใด
4. จะต้องให้คู่สมรสของทั้งสองฝ่ ำย (ถ้ำมี) ให้ควำมยินยอมด้วย มิฉะนั้นสัญญำจะไม่
บริ บูรณ์
56
(3)ข้ อควรสั งเกตของสั ญญาเช่ า
1. กรณี เช่ำที่มีกำหนดระยะเวลำเกินกว่ำ 3 ปี กฎหมำยกำหนดให้จดทะเบียนต่อ
พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ดว้ ย มิฉะนั้นจะบังคับได้เพียง 3 ปี เท่ำนั้น
2. กำรเช่ำบ้ำน หรื อที่ดิน ควรจะมีกำรระบุวตั ถุประสงค์ในกำรใช้สิ่งที่เช่ำนั้นด้วย เพรำะ
บำงครั้งอำจจะมีกำรใช้ทรัพย์ที่เช่ำไปในทำงที่ขดั กับควำมคำดหมำยของผูใ้ ห้เช่ำ
3. กำรระบุให้ผเู ้ ช่ำออกจำกบ้ำนเช่ำทันทีเมื่อครบกำหนดโดยมิตอ้ งบอกกล่ำวก็เพื่อ
ประโยชน์เวลำฟ้ องคดี
4. กำรที่ระบุให้ผเู ้ ช่ำได้รับควำมยินยอมจำกผูใ้ ห้เช่ำเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรก่อนที่จะให้เช่ำ
ช่วง หรื อให้ผอู ้ ื่นใช้ประโยชน์ในบ้ำนเช่ำ ก็เพื่อให้ผใู ้ ห้เช่ำได้พิจำรณำก่อนว่ำจะเกิด
ควำมเสี ยหำยแก่ผใู ้ ห้เช่ำหรื อไม่
5. เกี่ยวกับค่ำขนย้ำยนั้น หำกต้องกำรจะให้มีกำรจ่ำยค่ำขนย้ำยในกรณี ที่ผเู ้ ช่ำจะต้องออก
จำกที่เช่ำ จะต้องระบุให้ชดั เจนด้วย มิฉะนั้นจะเรี ยกร้องมิได้
57
ข้ อควรสั งเกตของสั ญญาเช่ า(ต่ อ)
6. กำรปิ ดอำกรแสตมป์ ในสัญญำเช่ำนั้น กฎหมำยกำหนดให้ปิด
1 บำท ทุกจำนวนเงิน 1,000 บำท หรื อเศษของ 1,000 บำท
แห่งค่ำเช่ำตลอดอำยุกำรเช่ำส่ วนคู่ฉบับปิ ด 5 บำท
7. จะต้องให้คู่สมรส (ถ้ำมี) ลงลำยมือชื่อให้ควำมยินยอมด้วย
มิฉะนั้นสัญญำจะไม่สมบูรณ์
58
(4) ข้ อสั งเกตสั ญญาเช่ าซื้อ
1. กรรมสิ ทธิ์ ในทรั พย์สินที่ เช่ ำซื้ อ ยังไม่โอนไปจนกว่ำผูเ้ ช่ ำซื้ อได้ปฏิ บตั ิตำมสัญญำ
ครบถ้ว น คื อ ช ำระค่ ำ เช่ ำ ซื้ อ ในกรณี ที่ เ ป็ นทรั พ ย์สิ น ที่ จ ะต้อ งไปจดทะเบี ย น
กรรมสิ ทธิ์ จะโอนก็ต่อเมื่อได้มีกำรดำเนินกำรจดทะเบียนกรรมสิ ทธิ์ เรี ยบร้อยแล้ว
2. ทรั พย์สินที่เช่ำซื้ อ ต้องระบุให้ชดั เจนว่ำเป็ นอะไร มี ลกั ษณะอย่ำงไร เช่น จะให้เช่ำ
ซื้ อที่ดิน ต้องระบุดว้ ยว่ำเนื้ อที่เท่ำไหร่ โฉนดเลขที่เท่ำไหร่ มีบำ้ นหรื อตึกกี่ช้ นั หรื อ
ให้ เ ช่ ำ ซื้ อ รถยนต์ ควรจะระบุ ว่ ำ รถยนต์ ยี่ ห้ อ อะไร รุ่ น แบบ สี ลัก ษณะต่ ำ ง ๆ
ตลอดจนหมำยเลขทะเบียนรถยนต์ ส่ วนประกอบของรถยนต์ ฯลฯ เป็ นต้น
3. สัญญำเช่ ำซื้ อทรั พย์สินจะต้องปิ ดอำกรแสตมป์ ในอัตรำ 1 บำท ต่อทุ ก 1,000 บำท
หรื อเศษของ 1,000 บำท ของรำคำทรัพย์สินทั้งหมด ยกเว้นสัญญำเช่ำซื้ อทรัพย์สิน
ที่ใช้ในกำรทำนำ ทำไร่ ทำสวน ไม่ตอ้ งเสี ยอำกรแสตมป์
59
(5) ข้ อควรสั งเกตของหนังสื อมอบอานาจ
1. ให้ระบุเรื่ องและอำนำจจัดกำรให้ชดั เจนว่ำ มอบอำนำจให้ทำอะไร เช่น ซื้ อ ขำย จำนอง
ฯลฯ
2. ถ้ำมีรอยขูดลบ ตกเติม แก้ไข หรื อขีดฆ่ำ ผูม้ อบอำนำจต้องลงลำยมือชื่อกำกับไว้ทุกแห่ง
3. อย่ำลงลำยมือชื่อผูม้ อบอำนำจ ก่อนกรอกข้อควำมโดยครบถ้วนถูกต้องตำมควำมประสงค์
แล้ว
4. หนังสื อมอบอำนำจในต่ำงประเทศ ควรให้สถำนทูต หรื อสถำนกงสุ ล
หรื อโนตำรี พบั ลิค (Notary Public) รับรองด้วย
5. หนังสื อมอบอำนำจต้องติดอำกรแสตมป์ ตำมกรณี ต่อไปนี้
ก) มอบอำนำจให้บุคคลเดียวหรื อหลำยคนกระทำกำรครั้งเดียว ค่ำอำกรแสตมป์ 10 บำท
ข) มอบอำนำจให้บุคคลเดียวหรื อหลำยคนร่ วมกระทำกำรมำกกว่ำครั้งเดียว ค่ำอำกรแสตมป์
30 บำท
ค) มอบอำนำจให้กระทำกำรมำกกว่ำครั้งเดียว โดยให้บุคคลหลำยคนต่ำงคนต่ำงกระทำกิจกำร
แยกกันได้ คิดตำมรำยตัวบุคคลที่รับมอบอำนำจ คนละ 30 บำท
60
ข้ อควรสั งเกตของหนังสื อมอบอานาจ(ต่ อ)
6. หนังสื อมอบอำนำจที่ยกเว้ นไม่ ต้องเสี ยอากร
1) ใบแต่งทนำยและใบมอบอำนำจซึ่งทนำยควำมให้แก่เสมียนของตน
เพือ่ เป็ นตัวแทนดำเนินคดีในศำล
2) ใบมอบอำนำจให้รับเงินหรื อสิ่ งของแทน
3) ใบมอบอำนำจให้โอน หรื อกระทำกำรใด ๆ เกี่ยวด้วยสัตว์พำหนะตำม
กฎหมำยว่ำด้วยสัตว์พำหนะ
4) ใบมอบอำนำจซึ่งสหกรณ์เป็ นผูม้ อบและใบมอบอำนำจตั้งสหกรณ์
เป็ นตัวแทนจัดกำรให้สหกรณ์ได้รับสิ ทธิในอสังหำริ มทรัพย์
61
จบแล้ วครั บ
62