ความหมายของเส้น

Download Report

Transcript ความหมายของเส้น

-ทฤษฎี สัญวิทยา
-ทฤษฎี สี
-ทฤษฎี เส้น
-ทฤษฎี รู ปร่างและรู ปทรง
-การจัดองค์ประกอบศิลป์
สัญวิทยา เป็ นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบของ
สัญลักษณ์ ที่ปรากฏอยู่ในความคิดของมนุษย์ อันถือเป็ นทุก
สิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวของเรา สัญลักษณ์อาจจะได้แก่
ภาษา รหัส สัญญาณ เครื่องหมาย ฯลฯ หรือหมายถึงสิ่งที่ถกู
สร้างขึ้นมาเพื่อให้มีความหมายแทนของจริง ตัวจริง ในตัว
บทและในบริบทหนึ่ งๆ
คาว่าสัญวิทยาหรือสัญศาสตร์
(Semiology และ Semiotics)
ทัง้ สองคานี้ มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคาเดียวกัน
คือ Semeion ที่แปลว่า Sign หรือสัญญะ ซึ่งสัญวิทยา
หรือสัญศาสตร์ เป็ นการศึกษาเกี่ยวกับเครื่องหมายและ
สัญลักษณ์ ทัง้ สองคานี้ ต่างมีเอกลักษณ์และถูกรวมอยู่ในระบบของ
เครื่องหมาย ซึ่งรวมถึงการศึกษาว่าความหมายของมันถูกสร้าง
และถูกเข้าใจอย่างไร
บางครัง้ นักสัญวิทยาทา
การตรวจสอบว่า สิ่งมีชีวิต
สร้างความหมายและปรับใช้
อย่างเหมาะสมอย่างไรในโลก
ทฤษฎี สัญศาสตร์ในระดับ
ทัว่ ไปจะกล่าวถึงเครื่องหมาย
ที่ศึกษาในแง่ของการสื่อสาร
ของสารสนเทศในสิ่งมีชีวิต
คาว่าสัญวิทยา (Semiology) เป็นคาที่ตงั้ ขึ้นโดย
นักภาษาศาสตร์ ที่มชี ่ ือว่าFerdinand de Saussure
(ค.ศ. 1857-1913)
Saussure แบ่งสัญญะออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือ

รูปสัญญะ (Signifier) คือสิ่งที่เราสามารถรับรูผ้ ่าน
ประสาทสัมผัส เช่นการมองเห็นตัวอักษร รูปภาพ หรือการ
ได้ยินคาพูดที่เปล่งออกมาเป็ นเสียง (acousticimage)
5
ไม่
bye bye
ส่วนที่สองคือ
ความหมายสัญญะ (Signified)
หมายถึงความหมาย คา
นิ ยามหรื อความคิดรวบยอด (concept) ที่เกิดขึ้นในใจหรื อ
ในความคิดของผูร้ ับสาร เช่น คาว่า ต้นไม้ ไม่จาเป็นต้องเป็นต้นไม้
ที่เฉพาะเจาะจง แต่หมายถึงบริ บทที่ถูกสร้างขึ้งทางวัฒนธรรมว่าคือ
ความเป็นต้นไม้ กระบวนการทัง้ หมดนี้เราเรียกว่า การสร้าง
ความหมาย
Tree
ความสัมพันธ์ระหว่างสัญญะแต่ละตัวนั้นเกิดขึ้นโดยตรรกะ
ว่าด้วยความแตกต่าง(the logic of difference) หมายถึง
ความหมายของสัญญะแต่ละตัวมาจากการเปรียบเทียบว่าตัวมัน
แตกต่างจากสัญญะตัวอื่นๆ ในระบบเดียวกัน ซึ่งหากไม่มคี วาม
แตกต่างแล้ว ความหมายก็เกิดขึ้นไม่ได้ ทัง้ นี้ความต่างที่ทาให้คา่
ความหมายเด่นชัดที่สุดคือความต่างแบบคูต่ รงข้าม (binary
opposition) เช่น ขาว-ดา ดี-เลว ร้อน-เย็น หรื ออธิบายอีก
อย่างคือ ความหมายของสัญญะหนึ่ งเกิดจากความไม่มี หรื อไม่เป็น
ของสัญญะอื่น (สรณี วงศ์เบี้ยสัจจ์, 2544)
ขณะที่ความสัมพันธ์ระหว่างสัญญะแต่ละตัวนัน้ เกิดขึ้นโดยการ
พิจารณาที่ตรรกะของความแตกต่างนัน้ ก็ได้มีการเสนอการจัดประเภท
ของสัญญะ โดย นักปรัชญาชาวอเมริกนั ชื่อ Charles Sanders
Peirce (ค.ศ.1839–1914)ได้กาหนดเอาไว้เป็ น 3ประเภท ซึ่ง
แบ่งตามความสัมพันธ์ระหว่างรูปสัญญะและความหมายสัญญะดังนี้
1.
รูปเหมือน (icon) เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างรูปสัญญะกับ
ความหมายสัญญะเป็ นเรื่องของความเหมือนหรือคล้ายคลึ งกับ
สิ่งที่มนั บ่งถึง เช่นภาพถ่าย ภาพเหมือน ภาพยนตร์และ
แผนภาพ เป็ นต้น
2.
ดรรชนี (index) เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างรูปสัญญะกับ
ความหมายสัญญะเป็ นผลลัพธ์ หรือเป็ นการบ่งชี้ถึงบางสิ่ง
บางอย่าง เช่นรูปลูกศร
คุณสมบัติอีกประการที่น่าสังเกตของสัญญะประเภทดรรชนี
ก็คือ เมื่อเราเห็นรูปสัญญะประเภทดรรชนี ความหมายสัญญะ
ที่เรานึ กถึงไม่ใช่สิ่งที่เรามองเห็นในขณะนัน้ เช่นตัวอย่างที่ได้
กล่าวมาแล้วนัน่ คือรูปลูกศร เมื่อเราเห็นเราไม่ได้นึกถึง รูป
ลูกศร แต่เรานึ กไปถึงทิศทางที่รปู ลูกศร ชี้ไป
3.
สัญลักษณ์ (symbol) เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างรูปสัญญะ
กับความหมายสัญญะที่แสดงถึงบางสิ่งบางอย่างแต่มนั ไม่ได้มี
ความคล้ายคลึงกับสิ่งที่มนั บ่งชี้เลย ซึ่งการใช้งานเป็ นไปใน
ลักษณะของการถูกกาหนดขึ้นเองซึ่งได้รบั การยอมรับจนเป็ น
แบบแผน (Convention) และต้องมีการเรียนรู ้
เครื่องหมายเพื่อทาความเข้าใจ หรือเป็ นการแสดงถึงการเป็ น
ตัวแทน (representation) ซึ่งสังคมยอมรับ
ความสัมพันธ์น้ ี ตัวอย่างเช่นเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ หรือ
การสวมแหวนนิ้ วนางข้างซ้ายแสดงถึงการแต่งงาน เป็ นต้น
แต่อย่างไรก็ดี การจาแนกประเภทของสัญญะทัง้ สามแบบก็
ไม่สามารถทาได้อย่างชัดเจน เช่นในกรณีรปู สัญญะของคา
ว่า Xerox ในภาษาอังกฤษซึ่งความหมายสัญญะของมันก็คือ
ยี่หอ้ ของเครื่องถ่ายเอกสาร แต่รปู สัญญะดังกล่าวได้กลายเป็ น
ความหมายสัญญะของ “การถ่ายเอกสาร” ในสังคมไทยเป็ นต้น
(ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, 2545)
ในการทางานของขัน้ ตอนการแสดงความหมายของสัญญะ
นัน้ จะมีความสัมพันธ์ระหว่างรูปสัญญะและความหมายสัญญะ
ตลอดเวลา ซึ่ง Roland Barthes ได้ให้แนวคิดในการ
วิเคราะห์ความหมาย2 ชนิ ดคือ
1.
ความหมายตรง (Denotation) เป็ นระดับของ
ความหมายที่เกี่ยวข้องกับความจริงระดับธรรมชาติ เป็ น
ความหมายที่ผูใ้ ช้สามารถเข้าใจได้ตรงตามตัวอักษรจัดอยู่ใน
ลักษณะของการอธิบายหรือพรรณนา (Descriptive
level) และเป็ นความหมายที่เป็ นที่รบั รูแ้ ละเข้าใจได้สาหรับ
ผูร้ บั สารส่วนใหญ่ ยกตัวอย่างเช่นเมื่อเรากล่าวถึงช้าง ก็จะนึ ก
ถึงลักษณะของสัตว์ท่ีมีรปู ร่างใหญ่ มีงาและงวง เป็ นต้น การ
อธิบายความหมายของคาศัพท์ในพจนานุกรมก็เป็ นความหมาย
โดยตรงเช่นกัน(ภัคพงศ์ อัครเศรณี , 2548)
2.
ความหมายแฝง (Connotation) เป็ นการ
ตีความหมายของสัญญะโดยเป็ นระดับที่พ่วงเอาปั จจัยทาง
วัฒนธรรมเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ซึ่งเป็ นการอธิบายถึง
ปฏิสมั พันธ์ที่เกิดขึ้นกับอารมณ์ความรูส้ ึกของผูใ้ ช้และคุณค่า
ทางวัฒนธรรมของเขา ความหมายแฝงหรือความหมายใน
ระดับที่สองนี้ สร้างขึ้นบนพื้นฐานของความหมายตรง
ของสัญญะตัวเดียวกัน ซึ่งกระบวนการเกิดขึ้นของความหมาย
แฝงนี้ เกิดขึ้นเมื่อสัญญะในความหมายระดับแรกถูกนาไปใช้
เป็ นรูปสัญญะโดยมีการผูกโยงรวมเข้ากับความหมายใหม่ จึ ง
เกิดเป็ นความหมายแฝง
ทฤษฎีสี (Color Theory) เป็นทฤษฎีท่ เี ซอร์ไอแซก นิ วตัน
(Sir Isac Newton) คิดค้นจากการส่องแสงขาวผ่านแท่งปริ ซ่ ึม โดยแท่ง
ปริ ซ่ ึมจะทาการแยกแสงขาวออกเป็นสีตา่ งๆในลักษณะและสัดส่วนที่เท่าๆกันได้
จานวน 7 สี เหมือนกับสีรุง้ คือ ม่วง คราม น้าเงิน เขียว เหลือง แสด แดง
ประโยชน์ของสี
1. ทาให้เกิดความน่าสนใจมากกว่าภาพขาวดา
2. สีชว่ ยทาให้ภาพมีลกั ษณะเสมือนจริ ง
3. สีทาให้ผูด้ ูรูส้ ึกเกิดอารมณ์ร่วมกับงาน นักออกแบบจึงมักใช้สี
เพื่อทาให้ผูช้ มเกิดความรู ส้ ึกตามที่ตนต้องการ
4. สีทาให้เกิดความเข้าใจ และสามารถจดจาภาพได้มากกว่างาน
ขาว-ดา
5. สีทาให้เกิดความประทับใจแก่ผูด้ ู
วงสี หรือกงล้อสี (Color Wheel) วงสีประกอบด้วยสีตา่ งๆเรียงเป็ น
วงกลมจานวน 12 สี โดยสามารถแบ่งประเภทของสีตา่ งๆออกเป็น 3 ขัน้ คือ
1.1 แม่สปี ฐมภูมิ (Primary Color) เป็นสีบริ สุทธ์จิ านวน 3 สี ที่ไม่เคย
ผสมกับสีใดมาก่อน และไม่อาจใช้สอี ่ ืนผสมเพื่อสร้างแม่สปี ฐมภูมิได้ ได้แก่ สี
เหลือง แดง และน้าเงิน
1.2 สีทุตยิ ภูมิ (Secondary Color) เป็นสีผสมจานวน 3 สี โดยการนา
แม่สปี ฐมภูมิมาผสมกัน ได้แก่
สีเหลือง + สีแดง = สีสม้
สีแดง + สีน้าเงิน = สีมว่ ง
สีน้าเงิน + สีเหลือง = สีเขียว
1.3 สีตติยภูมิ (Tertiary Color) เป็นสีผสมจานวน 6 สี ซึ่งเกิดจากแม่สี
ปฐมภูมิกบั สีทุตยิ ภูมิมาผสมกัน ได้แก่
สีเหลือง + สีสม้ = สีสม้ เหลือง
สีแดง + สีสม้ = สีสม้ แดง
สีแดง + สีมว่ ง = สีมว่ งแดง
สีน้าเงิน + สีมว่ ง = สีมว่ งน้าเงิน
สีน้าเงิน + สีเขียว = สีเขียวน้าเงิน
สีเหลือง + สีเขียว = สีเขียวเหลือง
อุณหภูมิของสี เป็นความสู งต่ าของความร้อนที่สสี หี นึ่ งสร้างให้เกิดความรู ส้ ึ กแก่ผูด้ ู แบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภทคือ
สีโทนร้อน เป็นสีท่ ที าให้เกิดความรู ส้ ึ กร้อน ได้แก่ สีแดง สีเหลือง สีเทาที่ออกไปทางสี
น้าตาล และเหลือง ก็ถือว่าเป็นสีอุน่ ด้วย ซึ่งสีอุน่ ได้แก่ สีท่ อี อกในโทน แดง เหลือง ส้ม
เป็นต้น สีอุน่ จะให้ ความรู ส้ ึ กร้อน สนุ กสนาน น่าสนใจ
สีโทนเย็ น เป็นสีท่ ที าให้เกิดความรู ส้ ึ กเย็น ได้แก่สนี ้าเงิน สีเขียว สีเทาที่ออกไปทางสีน้า
เงินก็ถือว่าเป็นสีเย็นเช่นกัน สีเย็นได้แก่ สีเขียว ม่วง น้าเงิน เป็ นต้น สีเย็นจะให้ความรู ส้ ึก
สงบ เย็น ลึกลับ
การผสมสี การผสมสีสามารถแบ่งออกเป็น 2 รู ปแบบคือ
1. การผสมสีแบบบวก (Additive Color Mixing) เป็นการผสมสีของแสง
โดยมีแม่สพี ้ ืนฐานคือ สีแดง สีเขียว และสีน้าเงิน (Red Green and Blue)
เมื่อทัง้ สามสีผสมกันก็จะได้สขี าว เราเรียกการผสมสีแบบนี้วา่ RGB Mode การ
ผสมสีในลักษณะนี้ใช้กบั งาน ออกแบบที่มองเห็นสีจากการผสมของแสง เช่น
จอคอมพิวเตอร์ จอโทรทัศน์ ดังนั้นจึง นาไปใช้ในการประเภท เว็บไซต์ รายการโทรทัศน์
เป็นต้น
2. การผสมสีแบบลบ (Subtractive Color Mixing) เป็นการผสมสีของ
สีท่ ตี กกระทบวัตถุโดยมีแม่สพี ้ ืนฐานคือ สีฟ้าแกมเขียว Cyan)สีมว่ งแดง
(Magenta) และสีเหลือง (Yellow) โดยทัง้ 3 สีน้ ีถา้ ผสมกันจะเป็นสีดา การ
ผสมสีในลักษณะนี้เรียกว่า CMYK Mode ใช้สาหรับงานออกแบบประเภทสิ่งพิมพ์
ต่างๆ
สีกบั ความรูส้ ึก
สีทอง- ให้ความรู ส้ ึก มัง่ มี หรู หรา รุ ่งเรื อง รุ ่งโรจน์
สีเงิน - ให้ความรู ส้ ึก ทันสมัย
สีขาว - ให้ความรู ส้ ึก บริ สุทธิ์ สบายตา ว่างเปล่า นิ่ ง เฉี ยบ เฉย ธรรมดา โล่ง ร่มเย็น สะอาด
สีเทา- ให้ความรู ส้ ึก ความเป็นกลาง เศร้า ขุน่ มัว ไร้ชวี ติ ชีวา
สีดา- ให้ความรู ส้ ึก ทึบแสงเข้ม มืด ลึกลับซับซ้อน ความน่ากลัว ความเป็นอมตะ
สีเหลือง- ให้ความรู ส้ ึก สดใส ปลอดโปร่ง สว่าง สดใส
สีสม้ - ให้ความรู ส้ ึก นิ่ มนวล อบอุน่ คล่องตัว และเคลื่อนไหว
สีชมพู- ให้ความรู ส้ ึก อ่อนหวาน ละมุนละไม สะอาด สดใส นิ่ มนวลชวนฝัน เป็นสีของความรัก
สีแดง - ให้ความรู ส้ ึก ร้อนแรง สะดุดตา มีพลัง มีอานาจ มีเสน่ห์ มีความแกร่งกล้า ท้าทาย ดุดนั
สีเขียว- ให้ความรู ส้ ึก ร่มเย็น อุดมสมบูรณ์ ความเย็น สบายตา ชุม่ ชื่น ความเป็นสีของธรรมชาติ
สีฟ้า- ให้ความรู ส้ ึก โล่ง สบายตา ปลอดโปร่ง สุ ขสบาย สุ ภาพบุรุษ โดยส่วนใหญ่จะคุน้ เคย เพราะ
เป็นสีของท้องฟ้ า
สีมว่ ง- ให้ความรู ส้ ึก ลึกลับ เสน่หา น่าสนใจ ดึงดูด เป็นสีของศาสตร์แห่งศิลป์
สีน้าเงิน - ให้ความรู ส้ ึก มัน่ คง สุ ขุม รอบคอบ หนักแน่น แข็งแรง แข็งแกร่ง
ความหมายของเส้น
เส้นเกิดจากการเคลื่อนที่ของจุด (Moving dot) จานวนมาก ไปในทิศทาง
ที่กาหนด อีกความหมายหนึ่ ง เส้นคือทางเดินของจุดไปในทิศทางเดียวกันที่กาหนด
เป็นแนวเชื่อมโยงระหว่าง จุดสองจุดขึ้นไป
เส้น จะมีปฏิกริ ิ ยา โต้ตอบกับสายตาของ มนุ ษย์ให้เคลื่อนที่ไป ตามลักษณะของ
เส้น ได้เป็นอย่างดี เราจะเห็นเส้นในการ เคลื่อนไหว ของมนุ ษย์ เส้นรู ปทรงของ
สัตว์ วัตถุ และธรรมชาติ ที่แตกต่างกัน รู ปลักษณะของเส้นเหล่านี้ ไม่วา่ จะเป็นเส้น
ที่ ปรากฏ ตามสายตา (Visual Elements)หรื อเส้นที่ท่ ปี รากฏใน
ความคิด (Conceptual Elements) ก็ตาม สามารถทาให้เกิด
ความรู ส้ ึ ก ต่าง ๆ เช่น ตื่นเต้น สงบราบเรียบ นิ่ มนวล ร่าเริ ง เคร่งขรึ ม อ่อนหวาน
เป็นต้น เส้น จึงเป็นองค์ประกอบหนึ่ ง ที่สามารถถ่ายทอดความรู ส้ ึ กของ ผูส้ ร้าง
งาน ศิลปะ ให้ผูอ้ ่ ืนได้สมั ผัสได้เป็นอย่างดี
ลักษณะของเส้น
เส้นมีมิตเิ ดียว คือ ความยาว ไม่มคี วามกว้างมีแต่ มีความหนา ที่เรียกว่า
เส้นหนา เส้นบาง เส้นใหญ่ เส้นเล็ก ความหนาของเส้น จะต้อง พิจารณา
เปรียบเทียบกับความยาวด้วย คือถ้าเส้นนั้นสัน้ แต่มคี วามหนามากจะหมด
คุณลักษณะ ของความเป็นเส้น กลายเป็น รู ปร่างสี่เหลี่ยมผืนผ้าไป เส้นมี ทิศทาง
ต่างกัน เช่น แนวราบ แนวดิ่ง แนวเฉียง และมีลกั ษณะ ต่าง ๆ เช่น ตรง คด เป็น
คลื่น ก้นหอย ชัด พร่า ประ ฯลฯ ทิศทางและลักษณะของเส้น ให้ความรู ส้ ึ กต่อผู ้
สัมผัส แตกต่างกัน ออกไป ดังต่อไปนี้
เส้นตรง (Staight Line)
หมายถึงเส้นตรงในทิศทางใด ทิศทาง หนึ่ ง ให้ความรู ส้ ึ ก แข็ง แรง แน่นอน หยุด
นิ่ ง ถูกต้อง ตรง เข้มแข็ง ไม่ประนีประนอม รุ นแรง เด็ดเดี่ยว ให้ความรู ส้ ึ กหยาบ และการ
เอาชนะ เส้นตรง ใช้มากในทัศนศิลป์ ประเภทสถาปั ตยกรรม
เส้นโค้ง (Curved Line)
เส้นโค้ง ให้ความรู ส้ ึ กมีการเคลื่อนไหว เส้นโค้ง มีหลายลักษณะ คือ เส้นโค้งน้อย
ๆ หรื อเป็นคลื่นน้อย ๆ ให้ความรู ส้ ึ กสบาย เปลี่ยนแปลงได้ เลื่อนไหลต่อเนื่ อง คลายความ
กระด้าง มีความ กลมกลืน ในการเปลี่ยน ทิศทาง มีความเคลื่อนไหวช้า ๆ สุ ภาพ เย้ายวน
มีความเป็น ผูห้ ญิง นุ ่มนวล และอิ่มเอิบ ถ้าใช้ เส้นแบบนี้มากเกินไป จะให้ความรู ส้ ึ ก
กังวล เรื่ อย ๆ เฉื่ อยชา ขาดจุดหมาย
นอกจากนี้ เส้นโค้งยังมีหลายลักษณะ และแต่ละลักษณะก็ให้ ความรู ส้ ึ ก แตกต่างกัน
ออกไปอีก เช่น
เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู ส้ ึ กเปลี่ยนทิศทางอย่างรวดเร็ว มีพลัง
เคลื่อนไหว รวดเร็ว
ส้นโค้งก้นหอย ให้ความรู ส้ ึก หมุนเวียน
เคลื่อนไหว คลี่คลาย เจริ ญเติบโต
เป็ นเส้นโค้งที่ขยายตัวออกไม่มจี ุดจบ
เมื่อมองจากภายในออกมา
แต่ถา้ มอง จากภายนอกเข้าไป
จะให้ความรู ส้ ึกที่ไม่ส้ ินสุ ดของพลังเคลื่อนไหว
เส้นฟั นปลาหรือเส้นซิกแซ็ก (Zigzag Line)
เป็นเส้นคดที่หกั เห โดย กระทันหัน เปลี่ยนทิศทาง รวดเร็วมาก ทาให้ ประสาท
กระตุก ให้ความรู ส้ ึ กรุ นแรง ตื่นเต้น สับสน วุน่ วาย ไม่แน่นอน ให้จงั หวะ กระแทก เกร็ง
ทาให้นึกถึงพลังไฟฟ้ า ฟ้ าผ่า กิจกรรมที่ขดั แย้ง ความรุ นแรง ต่อสู ้ การทาลาย และ
สงคราม
นอกจากนี้ ลักษณะของเส้นที่ปรากฎ ยังมีลกั ษณะ ที่เรียกว่า
เส้นหนา (Thick) ที่ให้ความรู ส้ ึ ก กระด้าง ก้าวร้าว แข็ง มีพลัง
เส้นบาง (Thin) ที่ให้ความบอบบาง ละเอียด ปราณีต เปราะบาง
และเส้นประ (Broken) ที่ให้ความรู ส้ ึ กไม่แน่นอน ขาดเป็นห้วง
ไม่ตอ่ เนื่ อง ไม่มพี ลัง
ทิศทางของเส้น
เส้นทุกเส้นมีทศิ ทาง คือ ทางแนวนอน ทางแนวตัง้ หรื อทางแนวเฉียง ในแต่ละ
ทิศทาง จะให้ความรู ส้ ึ ก แตกต่างกัน ดังนี้
1. เส้นแนวนอน (Horizontal Line)
เป็นเส้นเดินทางตามแนวนอน กลมกลืนกับ แรงดึงดูด ของโลก ให้ความรู ส้ ึ ก
ในทางราบ กว้าง พักผ่อน เงียบ เฉย สงบ นิ่ ง เป็นสัญลักษณ์ของการพักผ่อน ผ่อนคลาย
ที่ให้ความรู ส้ ึ ก เช่นนี้มาจากท่าทางของคนนอนที่เป็นการพักผ่อน ไปจนถึง ความสงบ ที่
เหมือนกับท่านอนของคนไม่มชี วี ิต
2. เส้นแนวตัง้ (Vertical Line)
เป็นเส้นที่มลี กั ษณะตรงกันข้ามกับเส้นนอน คือ
เป็นเส้นที่เดินทางในแนวดิ่ง ให้ความสมดุล
มัน่ คง แข็งแรง สู งสง่า พุง่ ขึ้น จริ งจัง และเงียบ
ขรึ ม เป็นสัญลักษณ์ของ ความถูกต้อง ซื่อสัตย์
มีความสมบูรณ์ในตัว เป็นผูด้ ี จริ งจังเคร่งขรึ ม
สง่า ทะเยอทะยาน และรุ ่งเรื อง ทัง้ นี้มาจาก
ท่าทางมนุ ษย์ เวลาตื่นตัวมีพลัง จะอยูใ่ น
ลักษณะยืนขึ้น มากกว่าการนอนราบ
3. เส้นแนวเฉี ยง (Diagonal Line)
เป็นเส้นที่อยูร่ ะหว่างเส้นนอน กับเส้นตัง้ ให้ความรู ส้ ึ ก เคลื่ อนไหว รวดเร็ว ไม่
สมบูรณ์ ไม่มน่ั คง ต้องการเส้นเฉียง อีกเส้นหนึ่ งมาช่วยให้มคี วามมัน่ คง สมดุลขึ้น เส้นที่
เฉียงและโค้ง ให้ความรู ส้ ึ กที่ขาดระเบียบ ตามยถากรรม ให้ความรู ส้ ึ กพุง่ เข้า หรื อพุง่ ออก
จาก ที่วา่ ง ในงานออกแบบทัศนศิลป เส้นเฉียง ให้ประโยชน์ในการลดความกระด้าง จาก
การใช้เส้นตัง้ และเส้นนอน
รูปร่าง (Shape) คือ รู ปแบน ๆ มี 2 มิติ มีความกว้างกับความยาวไม่มคี วาม
หนาเกิดจากเส้นรอบนอกที่แสดงพื้นที่ขอบเขต ของรู ปต่าง ๆ เช่น รู ปวงกลม รู ป
สามเหลี่ยม หรื อ รู ปอิสระที่แสดงเนื้ อที่ของผิวที่เป็นระนาบมากกว่าแสดงปริ มาตรหรื อ
มวล
รูปทรง (Form) คือ รู ปที่ลกั ษณะเป็น 3 มิติ โดยนอกจากจะแสดง ความ
กว้าง ความยาวและ ยังมีความลึก หรื อความหนา นู น ด้วย เช่น รู ปทรงกลม ทรง
สามเหลี่ยม ทรงกระบอก เป็นต้น ให้ความรู ส้ ึ กมีปริ มาตร ความหนาแน่น มีมวลสาร ที่
เกิดจากการใช้ ค่าน้าหนัก หรื อการจัดองค์ประกอบของรู ปทรง หลายรู ปรวมกัน
รู ปร่างและรู ปทรง เป็นรู ปธรรมของงานศิลปะ ที่ใช้ส่ ือเรื่ องราวจาก
งานศิลปะไปสู ผ่ ูช้ ม รู ปร่างและรู ปทรงที่มอี ยูใ่ นงานศิลปะมี 3 ลักษณะ
คือ
รูปเรขาคณิ ต (Geometric Form) มีรูปที่แน่นอน มาตรฐาน สามารถวัด
หรื อ คานวณได้งา่ ย มีกฎเกณฑ์ เกิดจากการสร้างของมนุ ษย์ เช่น รู ปสี่เหลี่ยม รู ป
วงกลม รู ปวงรี นอกจากนี้ยงั รวมถึงรู ปทรงของสิ่งที่มนุ ษย์ประดิษฐ์คดิ ค้น ขึ้นอย่างมีแบบ
แผน แน่นอน เช่น รถยนต์ เครื่ องจักรกล เครื่ องบิน สิ่งของเครื่ องใช้ตา่ ง ๆ ที่ผลิต
โดยระบบอุตสาหกรรม ก็จดั เป็นรู ปเรขาคณิ ต เช่นกัน รู ปเรขาคณิ ตเป็นรู ป ที่ให้
โครงสร้างพื้นฐานของรู ปต่าง ๆ ดังนั้น การสร้างสรรค์รูปอื่นควรศึกษารู ปเรขาคณิ ตให้
เข้าใจถ่องแท้เสียก่อน
รูปอินทรีย(์ Organic Form) เป็นรู ปของสิ่งที่มชี วี ิต หรื อ คล้ายกับสิ่งมีชวี ิตที่
สามารถ เจริ ญเติบโต เคลื่อนไหว หรื อเปลี่ยนแปลงรู ปได้ เช่น รู ปของคน สัตว์ พืช
รูปอิสระ (Free Form) เป็นรู ปที่ไม่ใช่แบบเรขาคณิ ต หรื อแบบอินทรีย ์ แต่เกิดขึ้น
อย่างอิสระ ไม่มโี ครงสร้างที่แน่นอน ซึ่งเป็นไปตามอิทธิพล และการกระทาจาก
สิ่งแวดล้อม เช่น รู ปก้อนเมฆ ก้อนหิน หยดน้า ควัน ซึ่งให้ความรู ส้ ึ กที่เคลื่อนไหว มี
พลัง รู ปอิสระจะมีลกั ษณะ ขัดแย้งกับ รู ปเรขาคณิ ต แต่กลมกลืน กับรู ปอินทรีย ์ รู ป
อิสระอาจเกิดจากรู ปเรขาคณิ ต หรื อรู ปอินทรีย ์ ที่ถูกกระทา จนมีรูปลักษณะเปลี่ยนไป
จากเดิมจน ไม่เหลือสภาพ เช่น รถยนต์ท่ ถี ูกชนจนยับเยินทัง้ คัน เครื่ องบินตก ตอไม้ท่ ี
ถูกเผาทาลาย หรื อซากสัตว์ท่ เี น่าเปื่ อยผุพงั
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปทรง
เมื่อนารู ปทรงหลาย ๆ รู ปมาวางใกล้กนั รู ปเหล่านั้นจะมีความสัมพันธ์ดึงดูด
หรื อผลักไสซึ่งกันและกัน การประกอบกันของรู ปทรง อาจทาได้โดย ใช้รูปทรงที่มี
ลักษณะใกล้เคียงกัน รู ปทรงที่ตอ่ เนื่ องกัน รู ปทรงที่ซอ้ นกัน รู ปทรงที่ผนึ กเข้าด้วยกัน
รู ปทรงที่แทรกเข้าหากันรู ปทรงที่สานเข้าด้วยกัน หรื อ รู ปทรงที่บดิ พันกัน การนารู ป
เรขาคณิ ต รู ปอินทรีย ์ และรู ปอิสระมาประกอบเข้าด้วยกัน จะได้รูปลักษณะใหม่ ๆ อย่าง
ไม่ส้ ินสุ ด
การจัดองค์ประกอบทางศิลปะ เป็น หลักสาคัญสาหรับผูส้ ร้างสรรค์ และผูศ้ ึกษางานศิลปะ
เนื่ องจากผลงานศิลปะใด ๆ ก็ตาม ล้วนมีคุณค่าอยู ่ 2 ประการ คือ
คุณค่าทางด้านรู ปทรง เกิดจากการนาเอา องค์ประกอบต่างๆ ของ ศิลปะ อัน
ได้แก่ เส้น สี แสงและเงา รู ปร่าง รู ปทรง พื้นผิว ฯลฯ มาจัดเข้าด้วยกันเพื่อให้เกิดความ
งาม ซึ่งแนวทางในการนาองค์ประกอบต่าง ๆ มาจัดรวมกันนั้น เรียกว่า การจัดองค์ ประกอบ
ศิลป์ (Art Composition) โดยมีหลักการจัดตามที่จะกล่าวต่อไป
คุณค่าทางด้านเนื้ อหา เป็นเรื่ องราว หรื อสาระของผลงานที่ศิลปิ นผูส้ ร้าง สรรค์ตอ้ งการที่
จะแสดงออกมา ให้ผูช้ มได้สมั ผัส รับรู ้ โดยอาศัยรู ปลักษณะที่เกิดจากการจัดองค์ประกอบศิลป์
นั่นเอง
หรื ออาจกล่าวได้วา่ ศิลปิ น นาเสนอเนื้ อหาเรื่ องราวผ่านรู ปลักษณะที่เกิดจากการจัดองค์ประกอบ
ทางศิลปะ ถ้าองค์ประกอบที่จดั ขึ้น ไม่สมั พันธ์กบั เนื้ อหาเรื่ องราวที่นาเสนอ งานศิลปะนั้นก็จะ
ขาดคุณค่าทางความงามไป
ดังนั้นการจัดองค์ประกอบศิลป์ จึงมีความสาคัญในการสร้างสรรค์งานศิลปะเป็นอย่าง
ยิ่งเพราะจะทาให้งานศิลปะทรงคุณค่าทางความงามอย่างสมบูรณ์
การจัดองค์ประกอบของศิลปะ มีหลักที่ควรคานึ งอยู่
5 ประการ คือ
1. สัดส่วน
2. ความสมดุลย์
3. จังหวะลีลา
4. การเน้น
5. เอกภาพ
1. สัดส่วน
สัดส่วน หมายถึง ความสัมพันธ์กนั อย่างเหมาะสม
ระหว่างขนาดขององค์ประกอบที่แตกต่างกัน ทัง้ ขนาดที่
อยูใ่ นรู ปทรงเดียวกันหรื อระหว่างรู ปทรง และรวมถึง
ความสัมพันธ์กลมกลืนระหว่างองค์ประกอบทัง้ หลาย
ด้วย ซึ่งเป็นความพอเหมาะพอดี ไม่มากไม่นอ้ ย ของ
องค์ประกอบทัง้ หลายที่นามาจัดรวมกัน
2. ความสมดุลย์
ความสมดุล หรื อ ดุลยภาพ หมายถึง น้าหนักที่เท่ากันของ
องค์ประกอบ ไม่เอนเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ ง ในทางศิลปะยังรวมถึง
ความประสานกลมกลืน ความพอเหมาะพอดีของ ส่วนต่างๆ ใน
รู ปทรงหนึ่ ง หรื องานศิลปะชิ้นหนึ่ ง การจัดวางองค์ประกอบต่างๆ ลง
ใน งานศิลปกรรมนั้นจะต้องคานึ งถึงจุดศูนย์ถว่ ง ในธรรมชาตินั้น ทุก
สิ่งสิ่งที่ทรงตัวอยูไ่ ด้โดยไม่ลม้ เพราะมีน้าหนักเฉลี่ยเท่ากันทุกด้าน
ฉะนั้นในงานศิลปะถ้ามองดูแล้วรู ส้ ึกว่าบางส่วนหนักไป แน่น
ไป หรื อ เบาบางไป ก็จะทาให้ภาพนั้นดูเอนเอียง และเกิด
ความ รู ส้ ึกไม่สมดุล เป็ นการบกพร่องทางความงาม
3. จังหวะลีลา
จังหวะลีลา หมายถึง การเคลื่อนไหวที่เกิดจาการซา้ กันของ
องค์ประกอบ เป็นการซา้ ที่เป็นระเบียบ จากระเบียบธรรมดาที่มี
ช่วงห่างเท่าๆ กัน มาเป็นระเบียบที่สูงขึ้น ซับซ้อนขึ้นจนถึงขัน้
เกิดเป็นรู ปลักษณะของศิลปะ โดยเกิดจาก การซา้ ของหน่วย
หรื อการสลับกันของหน่วยกับช่องไฟหรื อเกิดจาก การเลื่อนไหล
ต่อเนื่ องกันของเส้น สี รู ปทรง หรื อ น้าหนัก
4. การเน้น
การเน้น หมายถึง การกระทาให้เด่นเป็ นพิเศษกว่าธรรมดาในงาน
ศิลปะจะต้องมี ส่วนใดส่วนหนึ่ ง หรื อจุดใดจุดหนึ่ ง ที่มคี วามสาคัญ
กว่าส่วนอื่นๆ เป็ นประธานอยู ่ ถ้าส่วนนั้นๆ อยูป่ ะปนกับส่วนอื่น
ๆ และมีลกั ษณะเหมือน ๆ กัน ก็อาจถูกกลืน หรื อ ถูกส่วนอื่นๆที่มี
ความสาคัญน้อยกว่าบดบัง หรื อแย่งความสาคัญ ความน่าสนใจไป
เสีย งานที่ไม่มจี ุดสนใจ หรื อประธาน จะทาให้ดูน่าเบื่อ เหมือนกับ
ลวดลายที่ถูกจัดวางซา้ กันโดยปราศจากความหมาย หรื อเรื่ องราวที่
น่าสนใจ
ดังนั้น ส่วนนั้นจึงต้องถูกเน้นให้เห็นเด่นชัดขึ้นมาเป็ นพิเศษกว่า
ส่วนอื่น ซึ่งจะทาให้ผลงานมีความงาม สมบูรณ์ ลงตัว และน่าสนใจ
มากขึ้น
5. เอกภาพ
เอกภาพ หมายถึง ความเป็นอันหนึ่ งอันเดียวกันของ
องค์ประกอบศิลป์ ทัง้ ด้านรู ปลักษณะ และด้านเนื้ อหา
เรื่ องราว เป็นการประสานหรื อจัดระเบียบของส่วนต่าง ๆให้เกิด
ความเป็น หนึ่ งเดียว เพื่อผลรวมอันไม่อาจแบ่งแยกส่วนใดส่วน
หนึ่ งออกไป การสร้างงานศิลปะ คือ การสร้างเอกภาพขึ้นจาก
ความสับสน ความยุง่ เหยิง เป็นการจัดระเบียบ และดุลยภาพ
ให้แก่ส่ ิงที่ขดั แย้งกันเพื่อให้รวมตัวกันได้ โดยการเชื่อมโยงส่วน
ต่างๆให้สมั พันธ์กนั
Thank you