Transcript Slide 1

Structuralism
801321 History, Theory & Philosophy of Architecture
สัปดาห์ที่ 8/ ครั้งที่ 1
20 ก.ค. 53
•
Ferdinand de Saussure (1857-1913)
บิดาแห่ ง วิชาสัญศาสตร์
ปรัชญาที่มีอิทธิพลมากที่สุดในศตวรรษที่
20 คือ ปรัชญาภาษา
•
มนุษย์เพิ่งมาประจักษ์เมื่อต้นศตวรรษที่ 20
นี้เองว่า มนุษย์ต้องคิดโดยผ่านภาษา ไม่มี
ใครคิดโดยไม่ใช้ภาษาได้
•
ปรัชญาภาษาทาให้เกิดแนวคิดที่สาคัญคือ
Structuralism และ Post Structuralism
ซึ่งต่อมาใช้คาว่า Post Modernism แทน
Phenomenology
Edmund Husserl (1859-1938) บิดาแห่ ง Phenomenology
Jean-Paul Sart re (1905-1980) Existentialism and Phenomenology
Cubism 1907-1920
The Age of Great Engineer 1850-1900
Modern (International Style)
1920-1960
Functionalism
Post Modern Architecture
1960-Present
Bauhaus 1919-1933
Chicago School 1871-1910 De Stijl 1916-1931
1850
Art Nouveau 1890-1910
1861
1900
1950
2000
Frank L. Wright 1869-1959
Mies van de Rohe 1886-1969
เกิดรถยนต์
Le Corbusier 1887-……
Luis I. Kahn 1901-1974
WW. I 1914-1918 WW. II 1934-1945
Ferdinand de Saussure (1857-1913) บิดาแห่ ง วิชาสัญศาสตร์
Rattanakosin 1851-1925
RAMA 4 - 6
Rattanakosin 1925-1967
RAMA 7 - 8
Rattanakosin 1967-present
RAMA 9
• Saussure ได้มองเห็นสาขาวิชาใหม่อันหนึ่งนั่นคือ ศาสตร์ของเครื่องหมายหรือ
สัญลักษณ์ (science of sign) และระบบต่างๆ ของเครื่องหมายและสัญลักษณ์ (signs)
ซึ่งเขาได้ตั้งชื่อว่า semiology หรือ "สัญญวิทยา" (วิธีการทางเทคนิคซึ่งผู้คนสื่อสาร
โดยผ่านสัญลักษณ์และภาพต่างๆ)
นักปรัชญาชาวอเมริกัน Charles Sanders Peirce ซึ่งเป็นคนที่อยู่ในยุคสมัยเดียวกัน
กับ Saussure ได้ร่างศาสตร์ที่คล้ายๆ กันนี้ขึ้นมาและปิดป้ายฉลากว่า semiotics
(สัญญศาสตร์)
•
•
•
ศัพท์คาว่า semiology และ Semiotics ได้มากาหนดขอบเขตการศึกษาเกี่ยวกับการ
วิเคราะห์ระบบสัญลักษณ์ หลักเกณฑ์ต่างๆ และขนบประเพณีทุกๆ อย่าง นับจากมนุษย์
ไปจนกระทั่งถึงสัตว์
ศัพท์คาว่า Semiotics (สัญญศาสตร์) จึงค่อยๆ เข้ามาแทนที่ศัพท์คาว่า Structuralism
(โครงสร้างนิยม) และการก่อตั้งสมาคมนานาชาติว่าด้วยการศึกษาเรื่องสัญญศาสตร์
(the International Association for Semiotic Studies) ในปี 1960 ได้สร้างความ
แข็งแกร่งให้กับแนวโน้มพัฒนาการอันนี้
• คาว่า Semiology ถูกรู้จักในชื่อของ Semiotics ด้วย มันเริ่มต้นในฐานะที่เป็นวิธีการศึกษา
เกี่ยวกับการวิเคราะห์เรื่องภาษา แต่ปัจจุบันได้ถูกนามาใช้เพื่อวิเคราะห์เรื่อง "ระบบเครือ
่ งหมาย
ต่างๆ ว่ามันทางานอย่างไร“ (how all sign systems work)
Semiology (สัญญศาสตร์) ได้รับการนิยามในฐานะที่เป็นศาสตร์ของเรื่องเครื่องหมาย (The
Science of Signs) หรือการศึกษาเรื่องเครื่องหมาย (The Study of Signs) หรือระบบ
เครื่องหมาย (Sign Systems) สัญญศาสตร์เสนอว่า การสื่อสารทัง้ มวลได้วางอยู่บนรากฐานของ
ระบบเครือ
่ งหมายต่างๆ ซึ่งทางานโดยผ่านกฎเกณฑ์และโครงสร้างบางอย่าง
•
สัญญานไฟจราจร
เครื่องหมายบนท้องถนน
แถบป้ายที่คลิกไปยังที่ต่างๆ บนเว็ปไซค์ (navigation bars)
งานภาพยนตร์และโทรทัศน์
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
เสื้อผ้า
สไตล์ของทรงผม
สัญญานมือ
ระหัสมอซ (morse codes)
Sender ---------- Message / sign System --------- Receiver
ธรรมชาติของเครือ
่ งหมาย
1. เครื่องหมายต่างๆ ทางานบนพื้นฐานที่ว่า เป็นตัวแทนหรือยืนยันถึงบางสิ่งบางอย่าง - เช่น
ความหมาย (meaning) แนวความคิด (concept) หรือไอเดีย (idea) ในสิ่งซึ่งมันอ้างอิงถึง
2. ทุกๆ เครื่องหมายมันจะประกอบด้วย Signifier และ Signified สาหรับ Signifier มันคือรูปแบบ
อะไรก็ตามที่ถูกนามาใช้เพื่อถ่ายทอดความหมาย เช่น ตัวหนังสือ, ภาพ, เสียง, และอื่นๆ ส่วน
Signified คือ แนวความคิด (concept) ที่ภาพ เสียง หรือตัวหนังสือสื่อออกมา
Sign ------------ Signifier + Signified
Sign = dog ------------ Signifier - letter d-o-g + Signified - the concept of a dog
“สถานการณ์ที่ชายคนหนึ่งได้มอบดอกกุหลาบให้กับหญิงสาวคนหนึ่ง”
ดอกกุหลาบ ในที่นี้คือ Signifier และสิ่งที่เป็น Signified คือ ความรักของผูช
้ ายคนนั้นหรือความ
ดึงดูดใจหรือสนใจต่อหญิงสาว
เราเห็นถึงโครงสร้างที่เกี่ยวพันในการส่งสารของสื่อ และเตือนเราว่าสิ่งที่เรากาลังเห็นนั้น มันไม่ใช่
"ความจริง“ (แม้ว่ามันจะมองดูคล้ายความจริงมากก็ตาม) แต่เครื่องหมาย (sign) และ Signifier
นั้นมีเป้าหมายที่จะทาหน้าที่เป็นตัวแทนโลกของความเป็นจริง
การรับรู้ต่างๆของเราเกี่ยวกับความจริง (reality)ได้รับการวางกรอบหรือกาหนดโดยโครงสร้าง
ของภาษา
Structuralism
กุญแจดอกแรกคือ เรายังคงจ้องมองไปที่ระบบหรือโครงสร้างต่างๆ อยู่ มากกว่าที่จะดูที่ปฏิบัติการ
อันเป็นรูปธรรมของปัจเจกชน
•
•
กุญแจดอกที่สองก็คือ ทุกระบบหรือโครงสร้างได้รับการสร้างสรรค์ขึ้นมาเป็นคู่ๆ ในลักษณะของ
ความตรงข้ามกัน เกี่ยวกับเทอม 2 เทอม ที่วางลงบนลักษณะบางอย่างของความสัมพันธ์ใน
ลักษณะขัดแย้งกันและกัน
ระบบเครื่องหมายทั้งมวลมีชุดของแก่นแกนหรือรากฐานชุดหนึ่ง ที่ได้รับการรวมกันขึ้นมาภายใต้
กฎเกณฑ์, รหัส, และขนบจารีตบางอย่าง. อย่างเช่น ภาษาอังกฤษวางอยู่บนพื้นฐานตัวอักษร 26
ตัว, ซึ่งสามารถนามารวมกันเป็น"คาๆ"และแบบแผนทางไวยากรณ์ได้
•
•
คาว่า "รหัส“ (code-หลักเกณฑ์) และ "ขนบธรรมเนียม“ (convention) คือ คากุญแจที่สาคัญใน
การศึกษาเกี่ยวกับสื่อ สารของสื่อทั้งหมดได้ใช้ "รหัส“ และ “สื่อสาร” โดยผ่านขนบธรรมเนียม
ต่างๆ
•
รหัสและขนบธรรมเนียมเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรามีส่วนร่วมกันในทางวัฒนธรรม
• เครื่องหมายต่างๆ สื่อสารโดยผ่าน "ระบบของความแตกต่าง"
คาต่างๆมันไม่ได้หมายถึงสิ่งใดเลยในตัวของมันเอง แต่เป็นส่วนหนึ่งของระบบของความต่างๆ(part
of a system of difference) พวกมันทาหน้าที่ในเรื่องความหมายที่มี ความสัมพันธ์กบ
ั คาอื่นๆ
•
ยกตัวอย่างเช่น "up" ไม่ได้หมายถึงอะไรเลย เว้นแต่ว่าเราสามารถที่จะสร้างความสัมพันธ์ของมันกับ
คาและแนวคิดคาว่า "down"
เครื่องหมายต่างๆ สื่อสารโดยผ่านการบ่งชี้และการสื่อความหมาย (denotations and connotations)
• Denotation (การบ่งชี)้
ในการพิจารณาถึงสิ่งที่ตัวหนังสือมันบ่งชี้ถึงอะไร เราจะต้องวิเคราะห์มันในระดับของการอธิบายหรือ
พรรณา(descriptive level)โดยเฉพาะ โดยไม่ต้องค้นลงไปถึงสิ่งที่มันอาจแสดง
• Connotation (การสือ
่ ความหมาย)
สัญญศาสตร์(semiology) เสนอว่า เครื่องหมายทั้งหมดมันจะพ่วงเอาการสื่อความหมายหรือ
ความสัมพันธ์มากับมันด้วยชุดหนึ่ง นั่นคือ มันจะเตือนผู้ดูถึงความรู้สึก, ความเชื่อ, หรือไอเดียบางอย่าง
ที่มันติดมากับ signifier
สีแดง เป็นสัญลักษณ์ของ อารมณ์รุนแรง โทสะ อันตราย และเรื่องทางเพศในวัฒนธรรมตะวันตก ใน
ประเทศจีน สีแดงสื่อความหมายถึงความโชคดีและความเจริญรุ่งเรือง รวมไปถึงความเป็นคอมมิวนิสม์
การสื่อความหมาย (connotation) มันทางานใน 2 ระดับ
1. การสือ
่ ความหมายในระดับของปัจเจก (individual connotations)
ประสบการณ์ต่างๆที่เรามีในชีวิต เป็นเรื่องของปัจเจกที่ได้ก่อรูปก่อร่างสร้างวิธีการมองโลกและการตอบโต้กบ
ั โลก
ของเราขึ้นมา ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากว่าเด็กผู้หญิงคนหนึ่งได้ดมกลิ่นกุหลาบเป็นครั้งแรก และมันเป็นเวลา
เดียวกันกับการที่เธอมีประสบการณ์ที่น่ากลัว ในกาลต่อมา กลิ่นหรือการมองเห็นภาพกุหลาบอาจจะเป็นการ
เตือนความทรงจา หรือทาให้เธอรู้สึกหวาดกลัวขึ้นมาได้
2. การสือ
่ ความหมายเชิงวัฒนธรรม (cultural connotations) มันได้รับการมีส่วนร่วมกันในด้านความหมาย
กับผู้คนจานวนมากในวัฒนธรรมหนึ่ง ยกตัวอย่างเช่น ของขวัญที่เป็น"ดอกกุหลาบ"ได้รับการยอมรับในเชิง
วัฒนธรรมในฐานะที่ได้นาพาการสื่อความหมายที่โรแมนติคมาด้วย
การวิเคราะห์ของ John Fisk เกี่ยวกับความหมายที่ผูกติดมากับประเด็นเรื่องของ “ยีนส์” (ผ้ายีนส์หรือการ
เกงยีนส์) ว่า มันมีการสื่อความหมายที่แตกต่างกัน อย่างเช่น เสรีภาพ อิสรภาพ ความเป็นหนุ่มสาว และความ
เท่าเทียม ซึ่งถูกนาไปสัมพันธ์เชื่อมโยงโดยกลุ่มต่างๆของผู้คนกับยีนส์ (Fiske 1989, pp.1-21)
การสื่อสารประกอบด้วยเครื่องหมาย 3 แบบ
1. เครื่องหมายไอคอน (Iconic signs) คือเครื่องหมายที่คล้ายคลึงกับสิ่งที่มันบ่งถึง ภาพถ่ายหรือ
ภาพยนตร์ จัดอยู่ในจาพวก iconic
2. เครื่องหมายอินเดคซ์ (indexical signs) คือเครื่องหมายที่ชี้บ่งหรือชี้ถึงบางสิ่งบางอย่างอื่นๆ การ
ที่เราเห็นควันก็รู้ได้ว่ามีไฟ เทอร์โมมิเตอร์ มิเตอร์วัดความเร็ว นาฬิกาอนาล็อค หรือกราฟ เป็นตัว
ชี้บ่งถึง อุณหภูมิ ความเร็ว เวลาและอื่นๆนั่นเอง
3. เครื่องหมายสัญลักษณ์ (symbolic signs) คือเครื่องหมายที่แสดงถึงบางสิ่งบางอย่าง, แต่มัน
ไม่ได้คล้ายคลึงกับสิ่งที่มันบ่งชี้ ตัวอย่างที่ชัดเจนมากที่สุดก็คือภาษา
สรุปการทางานของเครือ
่ งหมาย
1. เครื่องหมายต่างๆ มันสื่อสารโดยผ่าน "รหัส“ (กฎเกณฑ์) และ "ขนบธรรมเนียม“ (codes and
conventions)
2. เครื่องหมายและขนบจารีตเหล่านี้ถูกปันส่วนร่วมกันในทางวัฒนธรรม
3. พวกมันขึ้นอยู่กับความรู้เชิงวัฒนธรรม
4. เครื่องหมายต่างๆ มันสื่อสารโดยผ่านระบบของความแตกต่าง
5. เครื่องหมายต่างๆ สื่อสารโดยผ่านตัวเครื่องหมาย (denotation) และการสื่อความหมาย
(connotations)
แบบจาลองของนัก"โครงสร้างนิยม"
1) โครงสร้างของภาษาในตัวมันเอง เป็นตัวที่สร้าง"ความจริง“ (reality) ขึ้นมา - ซึ่งเราสามารถคิดได้โดยผ่าน
ภาษาเท่านั้น และการรับรู้ต่างๆ ของเราเกี่ยวกับความจริง (reality) ได้รับการวางกรอบหรือกาหนดโดย
โครงสร้างของภาษา
2) ภาษานั้นพูดเรา (ออกมา) (language speaks us); ดังนั้น ต้นตอที่มาของความหมายจึงไม่ใช่ประสบการณ์
ของปัจเจกหรือบุคคล เครื่องหมายและไวยากรณ์ต่างๆเป็นสิ่งที่ควบคุมภาษา ความหมายไม่ได้มาจากปัจเจก
ชน แต่มาจากระบบที่ควบคุมสิ่งที่ปัจเจกแต่ละคนสามารถกระทาได้ภายใต้กรอบอันนี้
3) "โครงสร้างนิยม"ได้วาง"โครงสร้าง"ลงที่ศูนย์กลาง - มันคือ"โครงสร้าง"ที่ได้ให้กาเนิดหรือสร้างความหมาย
ขึ้นมา ไม่ใช้ตัวตนที่เป็นปัจเจก ฉันสามารถที่จะพูดว่า"ฉัน" เพราะ ฉันได้อิงอาศัยระบบหนึ่งของภาษา ที่ซึ่ง
ตาแหน่งของประธาน ( subject) ได้ถูกทาเครื่องหมายหรือกาหนดโดยการเป็นบุรุษสรรพนามตัวที่หนึ่ง ด้วย
เหตุนี้ อัตลักษณ์ของฉันจึงเป็นผลผลิตของระบบภาษาศาสตร์ที่ฉันครอบครองอยู่.