แนวทางการปรับปรุงฟื้นฟูย่านที่กระจัดกระจาย

Download Report

Transcript แนวทางการปรับปรุงฟื้นฟูย่านที่กระจัดกระจาย

Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
แนวทางการฟื ้ นฟู ก ายภาพเพื่ อลดการกระจั ด กระจายของเมื อ ง
โดย ฐาปนา บุณยประวิตร
โครงการก่ อตัง้ สถาบันการเติบโตอย่ างชาญฉลาด (ประเทศไทย)
Smart Growth Thailand Institute
http://www.facebook.com/smartgrowththailand/
http://www.asiamuseum.co.th
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
Smart Growth
Thailand
หั ว ข้ อ บ ร ร ย า ย
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
บทนา แนวทางการฟื ้ นฟูกายภาพเพื่อลดการกระจัดกระจายของเมือง
การก่ อกาเนิดการกระจัดกระจาย
พัฒนาการรุ่นแรก (First-Generation Suburbs)
พัฒนาการรุ่นที่สอง (Second-Generation Suburbs
พัฒนาการรุ่นที่สาม (Third-Generation Suburbs)
สองรู ปแบบเมืองกับทางเลือกที่ท้าทายของผู้บริหาร
ตัวชี ้วัดสองรูปแบบเมือง
แนวทางการปรั บปรุ งฟื ้ นฟูย่านที่กระจัดกระจาย
การปรั บปรุ งฟื ้ นฟูย่านที่กระจัดกระจาย 7 ขัน้ ตอน
ขันตอนที
้
่1
ขันตอนที
้
่2
ขันตอนที
้
่3
ขันตอนที
้
่4
ขันตอนที
้
่5
ขันตอนที
้
่6
ขันตอนที
้
่7
การหาตัวแปรที่มีอิทธิพลในการกระจัดกระจาย
การกาหนดประเภทและพื ้นที่ต้องสงวนรักษา
การลาดับความสาคัญของย่านพาณิชยกรรมและแหล่งงานที่ต้องปรับปรุงฟื น้ ฟู
การกาหนดพื ้นที่ให้ บริการของระบบขนส่งมวลชนและโครงสร้ างพื ้นฐาน
กาหนดเป้าหมายพื ้นที่ต้องปรับปรุงฟื น้ ฟู
การเปลี่ยนย้ ายพื ้นที่พฒ
ั นาออกจากพื ้นที่สงวนรักษา
การสรุปพื ้นที่ปรับปรุงฟื น้ ฟู
บทสรุ ป
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
แ น ว ท า ง ก า ร ฟื ้ น ฟู ก า ย ภ า พ เ พื่ อ ล ด ก า ร ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย ข อ ง เ มื อ ง
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
บทนา
Galina Tachieva นักออกแบบชุมชนเมืองแบ่งรู ปทรงของเมืองได้ เป็ น 2 ประเภท ประเภทแรกคือ รูปทรง
เมืองที่กระจัดกระจายของ (Urban Sprawl) ประเภทที่สองซึ่งมีลกั ษณะตรงกันข้ ามกับประเภทแรกเรี ยกว่ า รู ปทรง
เมืองที่สมบูรณ์ (Complete City or Communities)
รู ปทรงเมืองที่ กระจัดกระจายมีลกั ษณะที่เด่นชัด เช่น การเป็ นพื ้นที่ พึ่งพาการใช้ รถยนต์ ส่วนบุคคลและรถ
ขนส่งสินค้ า พื ้นที่เมืองเต็มไปด้ วยโครงข่ายถนนและทางด่วนซึ่งมีสภาพติดขัด สองฝั่ งถนนจะพบศู นย์การค้ าและ
ร้ านค้ า หมู่บ้านจัดสรรที่ออกแบบวางผังถนนตามวิธี cul-de-sac รูปแบบการใช้ ประโยชน์ที่ดินมีลักษณะเชิงเดี่ยว
มีการใช้ พลังงานและทรัพยากรที่สิ ้นเปลือง เป็ นพื ้นที่ที่อดุ มไปด้ วยมลพิษและปั ญหาด้ านสุขภาพ ในขณะที่เมืองที่มี
รูปทรงแบบสมบูรณ์จะมีลกั ษณะในทางตรงกันข้ าม หรื ออาจเรี ยกว่าเป็ น เมืองแห่งการเดิน (Walkable Cities)
เมือ งกระจัดกระจายถูก เรี ยกว่า เมืองที่ ไร้ การวางแผนหรื อ เมืองแห่งการวางแผนล้ มเหลว (Unplanned
Cities) ซึ่งการวางแผนเมือ งลัก ษณะนี ้ ปล่อ ยให้ กายภาพและเศรษฐกิ จ เติ บโตไปตามธรรมชาติ ไม่มีทิ ศ ทาง
การบริ หารจัดการ ใช้ รูปแบบปล่อยให้ เติบโตแล้ วจึงค่อยหาทางแก้ ไขปั ญหา ซึ่งการแก้ ปัญหามักจะแก้ ไขที่ปลายเหตุ
เช่น การแก้ ปัญหาการคับคัง่ การจราจรด้ วยการตัดถนนเพิ่ม เป็ นต้ น หรื อการปล่อยให้ Growth แล้ วจึงค่อย Plan
แตกต่างจากเมืองแบบสมบูรณ์ ที่ใช้ การวางแผนให้ เกิดการเติบโตตามทิศทางที่ต้องการหรื อการใช้ Planning ในการ
สร้ างทิศทางของ Growth
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
แ น ว ท า ง ก า ร ฟื ้ น ฟู ก า ย ภ า พ เ พื่ อ ล ด ก า ร ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย ข อ ง เ มื อ ง
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
ภาพเปรี ยบเทียบเมืองกระจัดกระจายกับเมืองสมบูรณ์
ที่มา : Galina Tachieva, Sprawl Repair Manual, 2010
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
ก า ร ก่ อ กา เ นิ ด ก า ร ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
การก่ อกาเนิดการกระจัดกระจาย
เมืองหรื อชุมชนดั ้งเดิมตั ้งถิ่นฐานอย่างกระชับอยู่ในพื ้นที่ที่ถกู ควบคุมทางภูมิศาสตร์ พื ้นที่รอบเมืองจะอุดม
สมบูรณ์ ไปด้ วยแหล่งอาหารและแหล่งน า้ เมื่อ เศรษฐกิ จ เติ บโตขึน้ เนื อ้ เมือ งเริ่ มแผ่ ขยายออกไปตามเส้ น ทาง
คมนาคมที่ใช้ เชื่อมต่อระหว่างย่านและเมืองอื่น ๆ (Strip Pattern) เมื่อพื ้นที่สองข้ างเส้ นทางคมนาคมเริ่ มหนาแน่น
เนือ้ เมืองจะเริ่ มแผ่ขยายออกจากเส้ นทางในลักษณะกระจายเป็ นหย่อม ๆ หรื อ กระจัดกระจายแบบก้ าวกระโดด
(Leapfrog Pattern) ไม่มีความต่อเนื่องกันและรุกล ้าพื ้นที่การเกษตร จากปริ มาณของประชากรที่เพิ่ มขึ ้นทาให้ รัฐ
ต้ องลงทุนก่อสร้ างโครงข่ายถนนเพื่อรองรับการสัญจร เมื่อโครงข่ายการสัญจรได้ รับการพัฒนาจนเกิด ความสะดวก
ในการเดินทาง ประชากรในเขตชั ้นในของเมืองจึงได้ หลัง่ ไหลออกมาซื ้อหาที่อยู่อาศัยในย่านชานเมือ ง และได้ เกิด
โครงการจัดสรรอาคารพักอาศัยประเภทบ้ านเดี่ยวที่เติบโตในแนวราบเป็ นจานวนมาก ภาวะการเติบโตในแนวราบ
เป็ นสภาพการกระจัดกระจายแบบแผ่ขยายเต็มพื ้นที่ (Conurbation) ซึ่งถือว่าเป็ นการกระจัดกระจายแบบสมบูรณ์
ก่อให้ เกิดปั ญหาทางกายภาพต่อเมือง
ขั ้นตอนการกระจัดกระจายการออกเป็ น 3 รุ่น ดังนี ้
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
พั ฒ น า ก า ร รุ่ น แ ร ก ( F i r s t - G e n e r a t i o n S u b u r b s )
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
พั ฒ นาการรุ่ นแรก (FirstGeneration Suburbs)
เป็ นการแผ่ขยายเนื ้อเมืองตามแนว
รถไฟฟ้าและถนนสายหลักที่ออกสู่
ย่านและเมืองอื่น ๆ เนือ้ เมือ งยังไม่
รุ กล า้ พื น้ ที่ การเกษตรมากนั ก
เนื่ อ งจากยัง ไม่ มี ก ารตัด ถนนสาย
ย่ อ ยเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งกลุ่ ม ที่ พั ก
อาศัย ชุมชนที่ กระจายยัง คงเกาะ
แนวขอบเส้ นทางและรอบสถานี
รถไฟ
ภาพพัฒนาการการกระจัดกระจายรุ่ นแรก
ที่มา : Galina Tachieva, Sprawl Repair Manual, 2010
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
พั ฒ น า ก า ร รุ่ น ที่ ส อ ง ( S e c o n d - G e n e r a t i o n S u b u r b s )
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
พั ฒ น า ก า ร รุ่ น ที่ ส อ ง (SecondGeneration Suburbs) ชุมชนเริ่ ม
กระจัดกระจายออกนอกใจกลางเมือง
ทาให้ ใจกลางเมืองลดความหนาแน่น
ลง การจัดสรรที่ดินและบ้ านเดี่ย วเริ่ ม
แผ่ขยายมากขึ ้นพร้ อมกับการก่อสร้ าง
โค รงข่ า ย ถน น สา ย ห ลั ก แ ละ รอ ง
เชื่ อ มต่ อ ในชุม ชนชานเมื อ งเกิ ด ใหม่
ลัก ษณะการสัญ จรด้ ว ยรถยนต์ เ ริ่ ม มี
ความเด่ นชัด มากขึน้ ในระยะนี ้ พื น้ ที่
พาณิชยกรรมรอบสถานีขนส่งและสอง
ข้ างทางยังมีความหนาแน่นเช่นเดิม
ภาพพัฒนาการการกระจัดกระจายรุ่ นที่สอง
ที่มา : Galina Tachieva, Sprawl Repair Manual, 2010
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
พั ฒ น า ก า ร รุ่ น ที่ ส า ม ( T h i r d - G e n e r a t i o n S u b u r b s )
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
พั ฒ น า ก า ร รุ่ น ที่ ส า ม (ThirdGeneration Suburbs) การกระจัด
กระจายแบบสมบูรณ์ เต็มพื ้นที่ ย่าน
ชานเมือง พืน้ ที่การเกษตรถูกรุ กล ้า
ด้ วยโครงการบ้ านจัดสรรและอาคาร
พาณิ ช ยกรรมที่ ก ระจายตามแนว
ถนน ปั ญหาการคับคัง่ การจราจรได้
ก่ อให้ เ กิ ดมลภาวะแล ะปั ญห า
สภาวะแวดล้ อม พื ้นที่ใจกลางเมื อง
ลดความหนาแน่นลงอย่างเห็นได้ ชัด
เนื่ องจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้
ย้ ายออกสูย่ ่านชานเมือง
ภาพพัฒนาการการกระจัดกระจายรุ่ นที่สาม
ที่มา : Galina Tachieva, Sprawl Repair Manual, 2010
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
ส อ ง รู ป แ บ บ เ มื อ ง กั บ ท า ง เ ลื อ ก ที่ ท้ า ท า ย ข อ ง ผู้ บ ริ ห า ร
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
สองรู ปแบบเมืองกับทางเลือกที่ท้าทายของผู้บริหาร
รูปแบบแรกเรี ยกว่า ย่านที่กระชับหรื อ Neighborhood Unit Model ซึ่งทุกส่วนของกายภาพย่านต้ อง
ได้ รับการวางผังและออกแบบ กับรู ปแบบที่สองเรี ยกว่า ย่านที่กระจัดกระจายหรื อ Sprawl Model ซึ่งปล่อยให้
กายภาพย่านเติบโตไปตามธรรมชาติ ลักษณะสาคัญของทั ้งสองรูปแบบวัดจาก 5 ตัวชี ้วัดประกอบด้ วย
1) ที่ตั ้งและขนาดทางกายภาพ
2) การเข้ าถึงบริการในชีวิตประจาวัน
3) รูปแบบถนนและการเชื่อมต่อ
4) รูปแบบ ขนาด และส่วนประกอบอาคาร ถนน และที่ว่าง
5) ประสิทธิภาพของโครงสร้ างพื ้นฐานในการลดการใช้ พลังงาน
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
ส อ ง รู ป แ บ บ เ มื อ ง กั บ ท า ง เ ลื อ ก ที่ ท้ า ท า ย ข อ ง ผู้ บ ริ ห า ร
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
ภาพเปรียบเทียบผังของ Neighborhood Unit Model กับ Sprawl Model
ที่มา : Galina Tachieva, Sprawl Repair Manual, 2010
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
ตั ว ชี ้ วั ด ส อ ง รู ป แ บ บ เ มื อ ง
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
Neighborhood Unit Model
Sprawl Model
ที่ตัง้ และขนาดทางกายภาพ
ขนาดย่ า นประมาณ 1 ใน 4 ตร.ไมล์ แ ละระยะการเดิ น จาก
ใจกลางถึงขอบย่านประมาณ 5 นาที
ที่ตัง้ และขนาดทางกายภาพ
ย่านพาณิชยกรรม ที่พกั อาศัย และหน่วยบริ การชุมชนตัง้ ห่างกัน
ไม่สามารถวัดระยะเฉลีย่ ได้
การเข้ าถึงบริการในชีวิตประจาวัน
มีบริ การระบบขนส่งมวลชน ที่ทางาน ร้ านค้ า และหน่วยบริ การ
ชุมชนตังภายในบริ
้
เวณย่าน
การเข้ าถึงบริการในชีวิตประจาวัน
เข้ าถึงหน่วยบริ การ แหล่งงาน ร้ านค้ าด้ วยรถยนต์สว่ นบุคคล
โครงข่ ายถนนและการเชื่อมต่ อ
โครงข่ายถนนเชื่อมต่อกันอย่างสมบูรณ์ ถนนมีสว่ นประกอบของ
ทางเดิน ทางจักรยานและรถยนต์อย่างสมดุล
โครงข่ ายถนนและการเชื่อมต่ อ
โครงข่ายถนนไม่เชื่อมต่อกัน ถนนออกแบบไว้ เฉพาะการสัญ จร
ด้ วยรถยนต์
รูปแบบ ขนาด และส่ วนประกอบอาคาร ถนน และที่ว่าง
รูปแบบสร้ างความหลากหลายของสภาพแวดล้ อม ความรู้สกึ ที่
ได้ รับประโยชน์ใช้ สอย ราคา และประชากร
รูปแบบ ขนาด และส่ วนประกอบอาคาร ถนน และที่ว่าง
ไม่ มี ค วามหลากหลาย สร้ างข้ อจ ากั ด ด้ านสภาพแวดล้ อม
ความรู้สกึ ที่ได้ รับ ประโยชน์ใช้ สอย ราคา และประชากร
ประสิทธิภาพโครงสร้ างพืน้ ฐาน
มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ม า ก ใ น ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ก า ร ใ ช้ พ ลั ง ง า น
ทรัพยากรธรรมชาติ พื ้นที่การเกษตร ที่โล่ง เวลา และงบประมาณ
ประสิทธิภาพโครงสร้ างพืน้ ฐาน
มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ต่ า ใ น ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ก า ร ใ ช้ พ ลั ง ง า น
ทรัพยากรธรรมชาติ พื ้นที่การเกษตร ที่โล่ง เวลา และงบประมาณ
ที่มา : Galina Tachieva, Sprawl Repair Manual, 2010
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
ตั ว ชี ้ วั ด ส อ ง รู ป แ บ บ เ มื อ ง
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
ภาพเปรียบเทียบระยะทางระหว่ างบ้ านกับที่ทางานและลักษณะโครงข่ ายถนนของย่ าน
Neighborhood Unit Model กับ Sprawl Model
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
แ น ว ท า ง ก า ร ป รั บ ป รุ ง ฟื ้ น ฟู ย่ า น ที่ ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
แนวทางการปรั บปรุ งฟื ้ นฟูย่านที่กระจัดกระจาย
Tachieva ได้ เสนอให้ ใช้ 3 เทคนิคในการปรับปรุ งฟื น้ ฟูย่านที่กระจัดกระจายได้ แก่ เทคนิคการออกแบบชุมชน
เมืองซึง่ แบ่งออกเป็ น 4 ระดับประกอบด้ วย
1. การฟื น้ ฟูในระดับภาค (The regional scale) ได้ แก่ การฟื น้ ฟูโครงสร้ างการใช้ ประโยชน์ที่ดิ น โครงข่าย
การคมนาคมและขนส่ง และสาธารณูปโภคโดยปรับปรุงการใช้ ประโยชน์และหน้ าที่ให้ ตอบสนองต่อสภาวะแวดล้ อมและ
สภาพที่แท้ จริงของโครงสร้ างทางภูมศิ าสตร์
2. การฟื น้ ฟูระดับชุมชน (The Community scale) ให้ ความสาคัญกับการสร้ างศูนย์ชมุ ชนและขอบเขตที่มี
ระยะการเดินถึงที่ชดั เจน
3. การฟื น้ ฟูระดับบล็อกที่ดิน (The block scale) ซึ่งเป็ นการลดขนาดและปรับปรุ งรู ปทรงบล็อกให้
เหมาะสมกับการเดิน การวางแผนอาคารและการใช้ ประโยชน์
4. การฟื น้ ฟูระดับอาคาร (The building scale) ที่เน้ นความกระชับของอาคารและการจัดวางที่เหมาะสม
เทคนิคการฟื น้ ฟูด้วยการออกแบบชุมชนเมือง
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
แ น ว ท า ง ก า ร ป รั บ ป รุ ง ฟื ้ น ฟู ย่ า น ที่ ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
ภาพแสดงเทคนิคการฟื ้ นฟูตาม
หลักการออกแบบชุมชนเมือง
ที่มา : Galina Tachieva, Sprawl Repair Manual, 2010
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
T a c h i e v a ก า ร ป รั บ ป รุ ง ฟื ้ น ฟู ย่ า น ที ่ ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย 7 ขั ้ น ต อ น
ส รุ ป ไ ด้ ดั ง นี ้
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
ขัน้ ตอนที่ 1 การหาตัวแปรที่มีอิทธิพลใน
การกระจัดกระจาย ได้ แก่ การจาแนกปั จจัย
ด้ านภูมิศาสตร์ ที่เป็ นเครื่ องกาหนดขอบเขต
การเติบโตและการกระจัดกระจาย และการ
จาแนกประเภทของปั จจัยกระตุ้นให้ เกิด การ
กระจัดกระจายซึ่งต้ องกาหนดเป้าหมายใน
การฟื น้ ฟูสภาพซึ่งได้ แก่ ทางด่วน ถนนสาย
หลัก ถนนสายรอง ถนนซอย และถนนภายใน
โครงการแบบcal-de-sac ทั ้งนี ้ ปั จจัยที่ควร
พิจ ารณาได้ แก่ ลักษณะของโครงข่ าย การ
เชื่อมต่อกับย่านการใช้ ประโยชน์ที่ดิ น สภาพ
การใช้ ประโยชน์ โอกาสในการปรับเปลี่ยนให้
เหมาะสมกั บ ระบบขนส่ ง มวลชนและการ
ขนส่งสีเขียว ฯลฯ
ขัน้ ตอนที่ 1 การจาแนกปั จจัยด้ านโครงข่ ายคมนาคม
ที่มา : Galina Tachieva, Sprawl Repair Manual, 2010
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
T a c h i e v a ก า ร ป รั บ ป รุ ง ฟื ้ น ฟู ย่ า น ที่ ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย 7 ขั ้ น ต อ น
ส รุ ป ไ ด้ ดั ง นี ้
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
ขัน้ ตอนที่ 2 การกาหนดประเภทและพืน้ ที่ต้องสงวนรั กษา เป็ นการสารวจและจาแนกขอบเขตประเภทที่ ดินและ
โครงสร้ างพื ้นฐานทางธรรมชาติที่ต้องทาการสงวนรักษา (Preservation) ได้ แก่ พื ้นที่ธรรรมชาติ พื ้นที่ ต้นน ้าและแหล่งน ้า
ขนาดใหญ่ พื ้นที่ช่มุ น ้า ที่โล่งทั ้งเพื่อการอนุรักษ์ และการเก็บสารองน ้า พื ้นที่ประเภทนี ห้ ้ ามดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่
ทาลายสภาพความสมบูรณ์ทางธรรมชาติ และพื ้นที่ต้องดูแลรักษา (Reservation) ได้ แก่ พื ้นที่การเกษตร โครงข่ายระบบ
การระบายน ้า พื ้นที่สีเขียวที่งดงามตามธรรชาติ พื ้นที่เหล่านี ้ต้ องปรับปรุ งฟื น้ ฟูให้ มีความสมบูรณ์ และมีศกั ยภาพในการ
สร้ างเสริมเศรษฐกิจชุมชน
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
T a c h i e v a ก า ร ป รั บ ป รุ ง ฟื ้ น ฟู ย่ า น ที่ ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย 7 ขั ้ น ต อ น
ส รุ ป ไ ด้ ดั ง นี ้
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
ขัน้ ตอนที่ 3 การลาดับความสาคัญของย่ านพาณิช
ยกรรมและแหล่ ง งานที่ ต้ อ งปรั บ ปรุ ง ฟื ้ น ฟู ได้ แ ก่
การจาแนกประเภท ที่ตั ้ง และรัศมีการให้ บริการของแหล่ง
พาณิ ชยกรรมระดับต่าง ๆ พร้ อมจัดลาดับความสาคัญ
ก่อนหลังในการปรับปรุ งฟื น้ ฟู เช่น ร้ านสะดวกซื อ้ กลุ่ม
ร้ านค้ าปลีก ย่านพาณิชยกรรม ศูนย์พาณิชยกรรมระดับ
ย่าน ศูนย์ พาณิชยกรรมระดับภาค กลุ่มที่ตัง้ ของแหล่ง
งาน ฯลฯ ในการจ าแนกต้ องศึกษาลงลึกประเภทและ
ขนาดของกิจการ รัศมีการให้ บริ การ (ทั ้งระยะการเดินถึง
หรื อ walk score และการให้ บริ การในระยะกระจัด
กระจาย)
ภาพการจาแนกรัศมีการให้ บริการของแต่ ละหน่ วยบริการพาณิชยกรรม
ที่มา : Galina Tachieva, Sprawl Repair Manual, 2010
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
T a c h i e v a ก า ร ป รั บ ป รุ ง ฟื ้ น ฟู ย่ า น ที่ ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย 7 ขั ้ น ต อ น
ส รุ ป ไ ด้ ดั ง นี ้
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
ขั ้น ตอนที่ 4 การก าหนดพื น้ ที่
ให้ บริ ก ารของระบบขนส่ ง มวลชน
และโครงสร้ างพืน้ ฐาน ได้ แก่ การ
วิเคราะห์การให้ บริ การของระบบขนส่ง
มวลชนได้ แก่ รถบั ส ขนส่ ง มวลชน
รถไฟฟ้า streetcar รถไฟฟ้ารางเบา
และรถไฟประเภทต่ าง ๆ โดยใช้ ที่ ตั ง้
ของสถานี ข นส่ ง เป็ นจุด ก าหนดรั ศ มี
การเดินถึง สาหรับโครงสร้ างพื น้ ฐาน
อื่น ๆ ให้ ใช้ รัศมีบริการจากสองข้ างทาง
ที่เส้ นสายโครงข่ายพาดผ่าน
ภาพการกาหนดรัศมีบริการของระบบขนส่ งมวลชนด้ วยระยะการเดินถึง
ที่มา : Galina Tachieva, Sprawl Repair Manual, 2010
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
T a c h i e v a ก า ร ป รั บ ป รุ ง ฟื ้ น ฟู ย่ า น ที่ ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย 7 ขั ้ น ต อ น
ส รุ ป ไ ด้ ดั ง นี ้
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
ขัน้ ตอนที่ 5 กาหนดเป้าหมายพื น้ ที่
ต้ องปรั บปรุ งฟื ้ นฟู กาหนดพื ้นที่พาณิช
ยกรรมที่ควรได้ รับการปรับปรุ งฟื ้นฟูด้วย
การก าหนดที่ ตัง้ ของย่ า นพาณิ ช ยกรรม
ประเภทต่างๆ พร้ อมรัศมีบริ การ โดยแบ่ง
พื น้ ที่ พ าณิ ช ยกรรมออกเป็ น 3 กลุ่ ม
ประกอบด้ วย ศูนย์ พาณิ ชยกรรมชุมชน
ศูนย์พาณิชยกรรมเมือง และศูนย์พาณิช
ยกรรมระดับ ภาค ทัง้ นี ใ้ ห้ ซ้ อ นทับ ที่ ตัง้
ของแหล่งงานลงไปด้ วย
ภาพแสดงการกาหนดที่ตงั ้ พืน้ ที่ปรับปรุ งฟื ้ นฟู
ที่มา : Galina Tachieva, Sprawl Repair Manual, 2010
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
T a c h i e v a ก า ร ป รั บ ป รุ ง ฟื ้ น ฟู ย่ า น ที่ ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย 7 ขั ้ น ต อ น
ส รุ ป ไ ด้ ดั ง นี ้
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
ขัน้ ตอนที่ 6 การเปลี่ย นย้ า ยพืน้ ที่ พัฒ นาออกจากพืน้ ที่สงวนรั กษา ได้ แก่ การใช้ กลยุท ธ์ The Transfer of
Development Right (TDR) ในการออกข้ อบัญญัติของท้ องถิ่นเพื่อแลกเปลี่ยนพื ้นที่สงวนรักษาและพัฒนา เนื่ องจากกลยุทธ์
TRD มีความใกล้ เคียงกับการจัดรูปที่ดินซึง่ มีปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินการมากในประเทศไทย ดังนัน้ ในทางปฏิบตั ิจึง
ควรใช้ การเวนคืนหรื อจัดซื ้อที่ดินที่รัฐต้ องสงวนรักษาแทนการใช้ TRD
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
T a c h i e v a ก า ร ป รั บ ป รุ ง ฟื ้ น ฟู ย่ า น ที่ ก ร ะ จั ด ก ร ะ จ า ย 7 ขั ้ น ต อ น
ส รุ ป ไ ด้ ดั ง นี ้
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
ขัน้ ตอนที่ 7 การสรุ ป พืน้ ที่ ปรั บปรุ ง ฟื ้ นฟู ได้ แ ก่
การซ้ อนทับพื ้นที่ตามขั ้นตอนที่ 2, 3, 4 และ 5 พร้ อม
กาหนดขอบข่ายพื ้นที่อนุญาตให้ พฒ
ั นาและพักอาศัย
โดยแบ่งพื ้นที่ออกเป็ น ศูนย์พาณิชยกรรมชุมชน ศูนย์
พาณิชยกรรมเมือง และศูนย์พาณิชยกรรมระดับภาค
ที่ตั ้งของแหล่งพาณิชยกรรม ที่ตั ้งแหล่งงาน และพื ้นที่
ยังอยู่ในภาวะกระจัดกระจาย
แผนที่กาหนดพืน้ ที่ปรับปรุ งฟื ้ นฟู
ที่มา : Galina Tachieva, Sprawl Repair Manual, 2010
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH
บ ท ส รุ ป
Smart Growth
Thailand
ASIA PLANER
&
ASIA MUSEUM
บทสรุ ป
แสดงให้ เห็นลักษณะสาคัญของพืน้ ที่สองประเภทได้ แก่ พืน้ ที่เมืองที่สมบูรณ์ กับพืน้ ที่เมืองที่กระจัด
กระจาย จะเห็นได้ ว่า มีความจาเป็ นอย่ า งยิ่ง ในการปรั บปรุ ง ฟื ้ น ฟูพืน้ ที่ท่ ีเติบโตตามธรรมชาติและกระจัด
กระจายให้ มี สภาพเป็ นชุ ม ชนที่ ก ระชับ ทั ง้ นี เ้ พื่ อความคุ้ม ค่ า ในการใช้ ประโยชน์ ท่ ี ดิน การประหยัดการใช้
ทรั พยากร การลดค่ าใช้ จ่ายในการเดินทาง การลดภาวะโลกร้ อน และการสร้ างสรรค์ ชุมชนแห่ งการเดินซึ่ ง
จัดเป็ นชุมชนแห่ งความยั่งยืน
WWW.ASIAMUSEUM.CO.TH