การเก็บสารเคมีในห้องปฏิบัติการ

Download Report

Transcript การเก็บสารเคมีในห้องปฏิบัติการ

การเก็บ
การเก็บสารเคมีที่ดี จะทาให้เราได้ใช้ประโยชน์จากมันมากที่สุด
และช่วยลดอันตรายที่เกิดขึ้นได้
ตามปกติไม่ควรจะเก็บสารเคมีไว้เป็ นปริ มาณมากเกินความจาเป็ น เพื่อ..
1. ลดความเสี่ ยงในการเกิดอุบตั ิเหตุ
2.เมื่อเกิดไฟไหม้จะได้ควบคุมได้ง่าย
การเก็บสารเคมีในห้ องปฏิบัติการ
แยกการเก็บสารเคมีตามประเภทที่อนั ตราย
วางเรี ยงลาดับตามหมวดหมู่ ตามตัวอักษร เพื่อให้คน้ หาง่ายขึ้น
ควรเก็บในที่ที่จดั ไว้โดยเฉพาะ
สารเคมีทุกตัวควรมีการบันทึกวันที่ได้รับเข้ามาในห้องปฏิบตั ิการ
และวันที่เปิ ดใช้
ผูใ้ ช้หรื อผูท้ ี่มีสารเคมีควรทราบสมบัติบางประการ
ของสารเคมีน้ นั ๆ
การเก็บสารเคมีจะมีหลักการทัว่ ไป
สถานที่เก็บสารควรเป็ นสถานที่ปิดมิดชิด ฝาผนังควรทาด้วยสารกัน
ไฟปิ ดล็อคได้ และมีป้ายบอกอย่างชัดเจนว่า “สถานที่เก็บสารเคมี”
ภายในสถานที่เก็บสารเคมี ควรมีอากาศเย็นและแห้ง มีระบบถ่ายเท
อากาศที่ดี และแดดส่ องไม่ถึง
ชั้นวางสารเคมีภายในสถานที่เก็บสารเคมีตอ้ งมีความแข็งแรง ไม่มีการ
สัน่ สะเทือน
ภาชนะที่บรรจุสารเคมี ต้องมีป้ายชื่อที่ทนทานติดอยูพ่ ร้อมทั้งบอก
อันตรายและข้อควรระวังต่างๆ
การเก็บสารเคมีจะมีหลักการทัว่ ไป (ต่ อ)
ภาชนะที่ใส่ ตอ้ งทนทานการสึ กกร่ อนและแรงกระแทกจากภายนอก
ควรมีภาชนะสารอง ในกรณี ที่ภาชนะรั่วจะได้เปลี่ยนได้ทนั ที
ภาชนะเก็บสารที่ใหญ่และหนักไม่ควรเก็บไว้ในที่สูง เพื่อสะดวกใน
การหยิบใช้
ขวดสารเคมีไม่ควรวางบนพื้นโดยตรง ควรมีระยะห่างกันพอสมควร
ระหว่างชั้นที่เก็บสาร ไม่ควรวางใกล้ประตูหรื อหน้าต่าง
การเก็บสารเคมีจะมีหลักการทัว่ ไป (ต่ อ)
ควรแยกเก็บสารเคมีในปริ มาณน้อยๆ โดยใช้ภาชนะบรรจุขนาดเล็ก
บริ เวณที่เก็บสารควรรักษาความสะอาดและมีความเป็ นระเบียบอย่าง
สม่าเสมอ และมีการจัดเรี ยงอย่างเป็ นระบบ
ต้องมีอุปกรณ์ดบั เพลิง อุปกรณ์ป้องกันภัย และเครื่ องปฐมพยาบาล
พร้อมไว้ในกรณี ที่เกิดเหตุฉุกเฉิ น
ควรเก็บสารตามลาดับการเข้ามาก่อนหลัง ถ้าหมดอายุแล้วต้องทาลาย
ทันที ห้ามใช้เด็ดขาด
การจาแนกวัตถุอนั ตราย
สารไวไฟ ควรเก็บในที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี และอยูห่ ่างไกลจากสิ่ งที่จะลุกติดไฟง่าย
สารที่เข้ากันไม่ได้ สารพวกนี้จะต้องเก็บแยกต่างหาก ไม่ควรเก็บไว้ใกล้กนั
สารที่เป็ นพิษ ภาชนะต้องปิ ดฝาสนิ ท อากาศเข้าไม่ได้ และต้องอยูห่ ่างไกล
จากสิ่ งที่จะลุกติดไฟง่าย
สารกัดกร่ อน ต้องเก็บกรดแยกห่างจากโลหะที่ไวในการทา
ปฏิกิริยา ด่างต้องแยกเก็บจากกรดและสารอื่นๆ
สารระเบิดได้ ไม่ควรเก็บในที่มีเชื ้อเพลิง หรื อสารที่ติิไไไไไง่าย
ฉลากปิ ดภาชนะที่ใส่ สารเคมี ควรมีองค์ประกอบดังนี้
1.ชื่อทางสารเคมีและชื่อสามัญ สูตรโมเลกุล คุณสมบัติทางกายภาพเช่น จุดเดือด
2. คาเตือนที่ อ่านได้ชดั เจน เช่น อันตราย
3. ลักษณะของอันตราย เช่น ไวไฟ
4. เครื่ องหมายเตือนอันตราย
5. สิ่ งที่ควรระวังหรื อควรหลีกเลี่ยง
6. คาแนะนาวิธีรักษา
7. คาแนะนาในการเก็บ
8. วันที่ที่ช้ือสารขวดนั้นมา
ตัวอย่างฉลากปิ ดขวดสารเคมี
เครื่องหมายเตือนอันตราย
เครื่ องหมายเตือนอันตราย
จากสารไวไฟ
เครื่ องหมายเตือนอันตราย
จากกัมมันตรังสี
เครื่ องหมายเตือนอันตราย
จากสารเป็ นพิษ
เครื่ องหมายเตือนอันตรายจากก๊าซ
เครื่ องหมายอันตราย
จากสารกัดกร่ อน
เครื่ องหมายเตือนอันตราย
จากสารระเบิดได้
ตัวอย่ างฉลากของระบบ NFPA
ประกอบด้วยสี่ เหลี่ยมย่อยขนาดเท่ากัน 4 รู ป ได้แก่ สี น้ าเงินบอกถึงอันตราย
ต่อร่ างกาย สี แดงบอกถึงอันตรายจากไฟ สี เหลืองบอกถึงความไม่เสถียรหรื อ
ความไวต่อปฏิกิริยา และสี ขาวแสดงคุณสมบัติพิเศษของสารและใช้ตวั เลข 0-4 แสดง
ระดับอันตราย ซึ่ ง เลข 0 แปลว่าไม่มีอนั ตราย และเลข 4 แปลว่าอันตรายมากที่สุด
อันตรายจากไฟ
2- ของเหลวที่ลุกติดไฟ
ได้ที่อุณหภูมิสูง มีจุด
วาบไฟสู งกว่า 38°C
ของแข็งที่ให้ไอไวไฟก็
จัดอยูใ่ นกลุ่มนี้
อันตรายต่ อร่ างกาย
3- อันตรายน้อยกว่า 4 แต่กย็ งั เป็ น
อันตรายมากถ้าช่วยเหลือไม่ทนั ดังนั้นผูท้ ี่
จะเข้าไปช่วยเหลือต้องป้ องกันตัวเองก่อน
ความไม่ เสถียรหรือ
ความไวต่ อปฏิกริ ิยา
4- สารที่ระเบิดได้ดว้ ย
ตัวของมันเอง อาจเป็ น
เพราะการสลายตัว
ภายใต้สภาวะธรรมดา
ถ้าเกิดมีไฟไหม้ใน
บริ เวณใกล้เคียงต้อง
รี บนาสารพวกนี้ออก
ให้ห่างที่สุด
สารอันตรายที่เป็ นพิษ
นอกจากนั้นได้มีการพยายามใช้สีของถังก๊าชเพื่อบอกชนิ ดของก๊าชในถังนั้นเพื่อ
จะได้มองเห็นได้จากที่ไกลโดยที่ไม่ตอ้ งอ่านชื่อสารคือ
สี เทา เป็ นก๊าช carbon dioxide ,สี เขียว เป็ นก๊าช oxygen ,สี น้ าตาล เป็ นก๊าช inert
ตามโรงงานที่มีระบบรักษาความปลอดภัย จะมีการทาสี ท่อเพื่อบอกชนิ ดของ
สารที่ผา่ นท่อนั้น เขาใช้
- สี ส้มหรื อสี เหลือง สาหรับท่อที่มีสารอันตราย เช่น สารที่ลุกติดไฟได้ สาร
เป็ นพิษ หรื อสารกัดกร่ อน
- สี แดง ใช้สาหรับเครื่ องมือที่เกี่ยวกับไฟ เช่น กริ่ งไฟไหม้ ประตูหนีไฟ หัวสูบ
- สี นำ้ เงิน สาหรับเครื่ องป้ องกันต่างๆ เช่น หน้ากาก
การใช้ สารเคมี
สารทดลองสารเคมีตวั ใดก็ตามควรศึกษาคุณสมบัติและอันตราย
ของมันไว้ก่อน เพื่อหาทางป้ องกัน ส่ วนในการทดลองที่ยงั ไม่เคยทาควร
เริ่ มจากปริ มาณน้อยก่อนเพื่อลดอัดตราเสี่ ยงที่อาจจะเกิดขึ้น
ดังนั้นการทดลองต่างๆ จาเป็ นต้องใช้เทคนิคที่ดีเป็ นวิธีทางาน
ด้วยความปลอดภัยสิ่ งเล็กๆน้อยที่เรามองข้ามไปอาจเป็ นสาเหตุของ
อุบตั ิเหตุได้จึงควรฝึ กฝนเทคนิคให้ดี เช่น เทคนิคการเทสาร เทคนิคการ
กรองสาร เทคนิคการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เป็ นต้น
เทคนิคการถ่ ายเทสารเคมี
สารที่เป็ นของแข็ง
1. ก่อนหยิบสารใช้ตรวจดูชื่อที่ฉลาก
2. เมื่อตักสารออกมาควรตักเท่าที่จะใช้ อย่าเอาออกมามากเกินไป
เพราะสารที่เหลือจะเกิดการปนเปื้ อน
3. เมื่อเปิ ดจุกให้วางจุกหงายลง เพื่อว่าจุกจะได้ไม่เปรอะเปื้ อน ในกรณี
ที่เป็ นจุกแก้ว อาจใช้นิ้วคีบไว้ขณะตักสาร
4. ถ้ามีสารปริ มาณไม่มาก ใช้กระดาษกรองเป็ นภาชนะใส่
5. ถ้ามีสารมาก ตักสารใส่ ขวดชัง่ หรื อกระจกนาฬิกา เมื่อใช้เสร็ จแล้ว นา
ขวดไปคืนที่เดิม
สารที่เป็ นของเหลว
1. เวลาเทของเหลวออกจากขวด ให้หงายฉลากขึ้น
2. การตวงของเหลวจากขวดใหญ่ ควรเทใส่ บีเกอร์ ก่อน แล้วจึงตวง
จากบีกเกอร์ ออกไป
3. การเทของเหลวอาจใช้แท่งแก้วช่วย โดยแตะแท่งแก้วไว้ที่ปาก
บีกเกอร์ เอียงบีกเกอร์ ให้ของเหลวไหลลงตามแท่งแก้ว
การตวงสารละลาย
ปิ เปตใช้ตวงสารละลายเมื่อต้องการปริ มาตรที่แน่นอน
ปิ เปตมี 2 ชนิด คือชนิดที่มีกระเปาะตรงกลาง เรี ยกว่า ปิ เปตชนิด
volumetric หรื อ transfer อีกชนิดไม่มีกระเปราะตรงกลางแต่มีขีด
บอกปริ มาตราเรี ยกว่า measuring
ภาพแสดงเทคนิคการใช้ ปิเปต และ บิวเรต
ดังนั้นการปฏิบตั ิงานโดยระวังจึงควรคานึ งถึง...
เวลาถ่ายเทสารไวไฟ อย่าลืมตรวจตราว่าไม่มีแหล่งติดไฟอยูใ่ กล้ๆ
สารที่มีฤทธิ์ กดั กร่ อน ก็ควรสวมเครื่ องป้ องกันให้ดี เช่น มีผา้ กันเปื้ อน ใส่
แว่นตาใส่ ถุงมือ เมื่อมีสารหกต้องรี บล้างด้วยน้ ามากๆ
การเปิ ดจุกขวดสาร เช่น ammonia, acid chloride หรื อตัวทาละลายที่มีจุด
เดือดต่าควรเปิ ดในตูค้ วันอย่างระมัดระวัง
เวลายกขวดหนักๆอย่าจับที่คอ ต้องอุม้ ไป เพราะกันขวดอาจทานน้ าหนัก
ไม่ได้ หลุดแตกออก ทางที่ดีควรใส่ ตะกร้าหิ้ วไป
การใช้ ก๊าช
การใช้ก๊าชต้องมีความระมัดระวังเป็ นพิเศษเมื่อเป็ นก๊าชไวไฟ เช่น hydrogen
หรื อ oxygen
-
ควรตรวจสอบก่อนว่าถังก๊าชรั่ว
ไม่มีแหล่งติดไฟอยูใ่ กล้ๆ อ่านป้ ายชื่อให้แน่ใจเสี ยก่อน
ถังก๊าชควรอยูใ่ นท่าตั้งมีที่ยดึ ซึ่ งอาจจะเป็ นโซ่ยดึ ไว้กบั เสาหรื อกาแพง ไม่ลม้
ง่าย แต่กป็ ลดออกได้เมื่อจาเป็ น เช่น เกิดไฟไหม้
การเคลื่อนย้ายถังก๊าชควรใช้รถเข็นการกลิ้งถังไปกับพื้นอาจทาให้วาล์วหลุด
หรื อชารุ ดเกิดการรั่วได้
หัวถังต้องมีเครื่ องปรับความดัน(gas-pressure regulator)ซึ่ งออกแบบมาเพื่อลด
ความดันสู งจากถังก๊าชลงมาถึงระดับที่ปลอดภัยแก่การใช้
-
เครื่ องปรับความดันจะควบคุมความดันที่ก๊าชออกมา ให้อยูใ่ นช่วงที่
กาหนดไว้ ทาให้เกิดการไหลของก๊าชในอัตราที่สม่าเสมอ ความดันที่ก๊าช
ออกจะลดลงเมื่ออัตราการไหลเร็ วขึ้น เครื่ องปรับความดันที่ดี
-
เครื่ องปรับความดันที่ใช้กบั oxygen ต้อง
ไม่เปื้ อนน้ ามัน และไม่นาเครื่ องปรับความ
ดันที่ใช้กบั ก๊าชอื่นมาใช้กบั oxygen
-
เวลาเปิ ดค่อยๆหมุนวาล์วจนอ่านได้ความ
ดันของถังก๊าชสู งสุ ด โดยหมุนสกรู ตาม
เข็มนาฬิกา ให้ได้ความดันตามต้องการ
แล้วจึงปรับอัตราการไหล
การใช้ ก๊าชเหลว
ก๊าชที่ตอ้ งทาให้เย็นลงต่ากว่า-80°C จึงจะกลายเป็ นของเหลว เรี ยกว่า
cryogen ซึ่ งนามาใช้เมื่อต้องการอุณหภูมิต่ามากๆที่น้ าแข็ง หรื อน้ าแข็งแห้ง(solid
carbon dioxide)เย็นไม่พอ เช่น nitrogen ใช้ใน cold trap เมื่อต้องการจะเก็บสาร
ที่เป็ นไอระเหยได้ง่าย ก๊าชเหลวที่นามาใช้มากในการทดลองที่ตอ้ งการอุณหภูมิ
ต่ามากๆได้แก่
ชื่อก๊าช
จุดเดือด °c
Carbon dioxide
-78
Methane
-161
Oxygen
-183
Argon
-185
Nitrogen
-195
Hydrogen
-252
Helium
-269
ในการใช้และการเก็บต้องระมัดระวังเป็ นพิเศษ เพราะมีอนั ตรายที่เกิดได้จาก
1.การขยายตัวอย่างรวดเร็ วเมื่อเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็ นก๊าช เช่น
methane จะขยายตัวได้ถึง 630 เท่าของปริ มาตรที่เป็ นของเหลว ดังนั้นจะเกิด
ความกดดันเพิ่มขึ้นจนทาให้ภาชนะบรรจุระเบิดได้
2.ความสามารถในการทาก๊าชอื่นให้กลายเป็ นของเหลว เช่น ทาให้อากา
สกลัน่ ตัวเป็ นของเหลว ดังนั้นใน trap หรื อในภาชนะบรรจุที่มีรูเปิ ดสาหรับลด
ความดันภายใน อาจถูกอุดตันได้ จึงไม่ควรเอา trap ออกจาก nitrogen เหลว
จนกว่าจะได้เปิ ดเครื่ องมือหรื อ trap เพื่อให้อากาศออกได้เสี ยก่อน
3.อันตรายของความเย็นต่อเนื้อเยือ่ เมื่อถูกผิวหนังจะทาให้แข็งตัว เกิด
เป็ นแผลไหม้คล้ายถูกของร้อน เลือดแข็งตัวได้ ทาให้การหมุนเวียนของโลหิ ต
ถูกกระทบกระเทือน เวลาใช้จึงควรระวังการกระเด็นเข้าตาหรื อถูกผิวหนัง ใส่
ถุงมือป้ องกัน
การต้ ม การกลัน่
การต้มหรื อกลัน่ สารที่ไม่ไวไฟ ใช้เปลวตะเกียงได้โดยตรง เมื่อต้มสาร
ในหลอดทดลอง ให้ใช้คีมจับ หันปากหลอดไปทางที่ไม่มีคน ขยับหลอดไปมาอย่า
ให้ร้อนอยูท่ ี่เดียว สารจะเดือดล้น หรื อใช้ตม้ บนอ่างน้ าร้อน ถ้าสารมีมากขนาดใส่ บี
เกอร์ ได้ ก็ตม้ ในบีเกอร์ ต้ งั บนตะแกรงลวด เพื่อตะแกรงลวดจะได้กระจายความ
ร้อนไปได้ทวั่ ใส่ เศษกระเบื้อง 2-3 ชิ้น ซึ่ งจะทาหน้าที่ให้ฟองอากาศ กันการเดือด
พลุ่ง (super heat)ทาให้ของเหลวเดือดสม่าเสมอ โดยใส่ ก่อนนาสารไปต้ม
การต้ ม การกลัน่ (ต่ อ)
การกลัน่ ก็ใช้หลักเดียวกัน ใส่ เศษ
กระเบื้องลงในสารเพื่อกันการเดือดพลุ่ง ห้ามใช้
เปลวตะเกียงกับสารไวไฟ ทางด้านภาชนะรองรับ
ควรมี adapter ที่ช่วยให้ของเหลวกลัน่ ตัวไหลลงสู่
ภาชนะรองรับ โดยมีไอระเหยออกไปได้นอ้ ยที่สุด
และไม่ควรกลัน่ ของเหลวจนแห้ง เพราะสารอาจ
สลายเมื่อร้อนจัดสารบางชนิดอาจระเบิดได้
การกลัน่ แบบธรรมดา
(simple distillation)
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการกลัน่ ether ที่อาจมี peroxide อยูม่ าก
เมื่อ ether กลัน่ ออกไป ทาให้เหลือ peroxide เข้มข้นขึ้น เมื่อถึงจุดหนึ่งที่มีความ
เข้มข้นสู งมาก และถูกความร้อนก็จะระเบิดได้นนั่ เอง
การทิง้ หรือการกาจัดสารเคมี
การทิ้ง หมายถึง การขจัดสารเคมีที่ไม่ตอ้ งการแล้ว อาจจะมีวธิ ี การเผาทิ้ง
ฝัง ทิ้งทะเลลึก หรื อเปลี่ยนให้เป็ นสารที่ไม่เป็ นอันตรายก่อนทิ้ง การเผาทิ้งต้อง
คานึงถึงอันตรายจากไฟไว้ให้มาก จะต้องนาไปเผาในที่ห่างไกลชุมนุมชน ห่าง
จากตัวอาคาร และสารนั้นจะต้องไม่ระเบิด หรื อให้ก๊าชพิษเมื่อเผา ควรจะต้องมี
เครื่ องป้ องกันและอุปกรณ์ดบั ไฟเตรี ยมพร้อมไว้เสมอ
การเปลี่ยนเป็ นสารที่ไม่มีอนั ตราย เป็ นวิธีที่ใช้กนั มาก แต่ตอ้ งอาศัย
ความรู ้ทางเคมีเข้าช่วย
การจัดการของเสี ยในห้ องปฏิบัติการ
ของเสี ยจากสารเคมี ได้แก่ สารจากการกระทาปฏิกิริยา ตัวอย่างที่เหลือจาก
การวิเคราะห์ สารอินทรี ยแ์ ละสารอนินทรี ยเ์ คมีที่เสื่ อมสภาพ
ของเสี ยอันตรายจากห้องปฏิบตั ิการ หมายถึง ของเสี ยใดๆที่มีองค์ประกอบ
หรื อปนเปื้ อนวัตถุอนั ตรายจากห้องปฏิบตั ิการชนิดต่างๆ
การลดปริมาณของเสี ย
1. การจัดการสารเคมีที่ดี
2. การใช้สารอื่นทดแทน
3. การฝึ กอบรมการปฏิบตั ิงาน
ในห้องปฏิบตั ิการที่ดี
หลักการ:การจัดการของเสี ย
1. การลดปริ มาณของเสี ย
2. การรี ไซเคิล
3. การบาบัด
การจัดการของเสี ยที่เกิดขึน้ ในห้ องปฏิบัติการ
1.
2.
3.
4.
การจาแนกของเสี ย
การบาบัดเบื้องต้น
การกาจัดของเสี ยอันตราย
การรายงานข้อมูลของเสี ยอันตราย
การจาแนกของเสี ยในห้ องปฏิบัติการ
- ของเสี ยไม่อนั ตรายที่สามารถปล่อยทิ้งได้เลย
- ของเสี ยที่ตอ้ งบาบัดเบื้องต้นก่อนทิ้งหรื อก่อนส่งบาบัด
- ของเสี ยที่ตอ้ งส่ งบาบัด
ของเสี ยที่ไม่ อนั ตรายทีส่ ามารถปล่ อยทิง้ ได้ เลย
1.สารเคมี
วิธีการกาจัด โดยการเทลงในท่อน้ าทิ้งแล้วเปิ ดน้ าตามปริ มาณมาก
- เกลือของโลหะที่ไม่เป็ นพิษและไม่มีแอนไอออนที่เป็ นพิษหรื อมี
อันตรายอย่างอื่น เช่น NaCl , KCl
- ของเสี ยที่มีน้ าเป็ นตัวทาละลาย และมีสารอินทรี ยห์ รื ออนินทรี ยท์ ี่
ไม่เป็ นพิษละลายอยูไ่ ม่เกิน5%
- ของแข็งที่ไม่มีสารเป็ นพิษหรื อมีอนั ตรายอย่างอื่น เช่น เศษแก้วที่
สะอาด กระดาษกรอง ตัวดูดน้ า
2.ของเสี ยต่างๆ
2.1ของเสี ยทัว่ ไป เช่น กระดาษชัง่ สาร กระดาษกรองตัวอย่างกระดาษ
ทิชชู ถุงมือยาง วัสดุไม่เป็ นอันตรายอื่นๆ
2.2กระดาษที่รีไซเคิลได้ เช่น กระดาษถ่ายเอกสาร กระดาษบันทึก
ข้อความ กระดาษจดหมาย กระดาษที่ใช้ห่ออุปกรณ์ต่างๆ
2.3 พลาสติกที่รีไซเคิลได้ เช่น ขวดพลาสติกใส่ อาหารเลี้ยงเชื้อ ขวด
พลาสติกใส่ สารเคมีที่ไม่เป็ นอันตราย ขวดพลาสติกเก็บตัวอย่าง
2.4 ขวดแก้วและเครื่ องแก้ว เช่น ขวดแก้วใส่ สารเคมีที่เตรี ยมภายใน
ห้องปฏิบตั ิการ เครื่ องแก้วที่ใช้ในการทดลอง
2.5 ของเสี ยที่ผา่ นการฆ่าเชื้อแล้ว
ของเสี ยที่ต้องบาบัดเบือ้ งต้ นก่ อนทิง้ หรือก่ อนส่ งบาบัด
• สารละลายกรดและเบส ทาให้เป็ นกลางแล้วทิ้งลงท่อน้ าพร้อมทั้งเปิ ดน้ าใน
ปริ มาณมากๆ เช่น 0.01M HCl ผสมกับ0.02M NaOH
• ตัวออกซิ ไดซ์ รี ดิวซ์ดว้ ยตัวรี ดิวซ์ที่เหมาะสมก่อนนาส่ งเป็ นของเสี ย
ประเภทอื่นหรื อทิ้งตามท่อน้ าตามความเหมาะสม
• สารละลายที่ประกอบด้วยโลหะหนักในปริ มาณน้อยๆ (≤100 mg/L)ทา
ให้เข้มข้นขึ้นโดยการตั้งทิ้งไว้ให้ระเหยแล้วทิ้งในสภาพที่เป็ นสารละลายเข้มข้น
•
สารไวต่อน้ าหรื ออากาศ ทาลายด้วยน้ าหรื อกรดอ่อน
- สารละลายโซเดียมไบคาร์บอเนต พวกที่เมื่อไฮโดรไลส์แล้วได้
ผลิตภัณฑ์ทีเป็ นกรด เช่น แอซิ ดเฮไลด์
- สารละลายแอมโมเนียมคลอไรด์ เมื่อไฮโดรไลส์แล้วได้ผลิตภัณฑ์ที่
เป็ นเบส เช่น โลหะไฮไดรด์หรื อออร์ แกโนเมทัลลิกกรี เอเจนต์
ของเสี ยทีต่ ้ องส่ งบาบัด
ประเภทที่ 1
ประเภทที่ 2
ประเภทที่ 3
ประเภทที่ 4
ประเภทที่ 5
ประเภทที่ 6
ประเภทที่ 7
ประเภทที่ 8
ของเสี ยพิเศษ
ของเสี ยที่มีไซยาไนด์
ของเสี ยที่มีสารออกซิ แดนซ์
ของเสี ยที่มีปรอท
ของเสี ยที่มีสารโครเมต
ของเสี ยที่มีโลหะหนัก
ของเสี ยที่เป็ นกรด
ของเสี ยอัลคาไลน์
ประเภทที่ 9 ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
ประเภทที่ 10 พวก Oxygenated
ประเภทที่ 11 NPS Containing
ประเภทที่ 12 Halogenated
ประเภทที่ 13 ของแข็งที่เผาไหม้ได้
และของแข็งที่ไม่สามารถเผาไหม้ได้
ประเภทที่ 14 ของเสี ยที่มีน้ าเป็ นตัวทา
ละลายอื่นๆ
ขั้นตอนการจัดแยกของเสี ย
•
•
•
•
•
•
•
การจัดแยกประเภทของเสี ยภายในห้องปฏิบตั ิการ
การแจ้งขอฉลากและภาชนะบรรจุ
การรับฉลากและภาชนะบรรจุของเสี ย
การจัดเก็บของเสี ยภายในห้องปฏิบตั ิการ
การบันทึกปริ มาณของเสี ย
การรายงานปริ มาณของเสี ย
การรวบรวมของเสี ยส่ งคลังศูนย์เครื่ องมือ
การเตรียมภาชนะและอุปกรณ์
• ของเสี ยอันตรายแต่ละประเภทควรทาการเก็บในขวดแก้วแยกจากกัน
• ของเสี ยที่มีส่วนประกอบเป็ นน้ า ควรเก็บไว้ในขวดพลาสติก ชนิด
Polyethylene
• ไม่ใช้ขวดโลหะในการเก็บของเสี ยที่เป็ นกรดหรื อด่าง
• ภาชนะที่บรรจุของเสี ยควรมีจุกปิ ดแน่น
• หลีกเลี่ยงการใช้ฝาปิ ดที่ไม่คงทน เช่นจุกคอร์ก หรื อแผ่นฟิ ล์ม
• ไม่ควรใส่ ของเสี ยในภาชนะจนเต็ม เพื่อป้ องกันการขยายตัวของของเสี ย
• ภาชนะที่ใช้บรรจุของเสี ยควรมีฉลากระบุชนิ ดของของเสี ย พร้อมทั้งระบุ
วันที่เก็บของเสี ย
ข้ อปฏิบัติและข้ อควรระวังในการจัดการของเสี ย
• อย่าผสมหรื อปรับสภาพสารเคมีหากไม่แน่ใจว่าจะเกิดปฏิกิริยาอันตรายหรื อไม่
โดยตรวจสอบรายชื่อสารที่หา้ มผสม
• ใช้กรวยช่วยในการเทสารและอย่าเทสารมากเกินไปขณะดาเนินการเทสาร ต้อง
ให้มีการถ่ายเทหรื อระบายอากาศภายในห้องได้โดยสะดวก
• หลังการเก็บบรรจุของเสี ยแล้ว ทาความสะอาดให้เรี ยบร้อย
• ทุกครั้งที่เทสารลงถัง ต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันทุกครั้ง คือ เสื้ อกาวน์ แว่นตา
ถุงมือ รองเท้า
• ในกรณี ที่สารเคมีหรื อของเสี ยหก ให้ทาตามขั้นตอนในเอกสาร MSDS (
Material Safety Data Sheet) ที่จดั ไว้ในบริ เวณพื้นที่ปฏิบตั ิงานทดลอง
• ในกรณี ที่เกิดการบาดเจ็บ หรื อสู ดดมก๊าซอันตรายเข้าไป นาส่ งโรงพยาบาล
โดยด่วน และแจ้งชื่อสารเคมีที่ใช้ให้แพทย์ทราบ
การขนส่ ง
การขนส่ งสารเคมี ต้องคานึงถึงว่า ในการขนส่ งจะมีผเู ้ ข้ามาเกี่ยวข้อง
เพราะจะมีต้ งั แต่ผผู ้ ลิต ผูข้ นส่ ง คนขับรถ คนใช้สาร รวมถึงประชาชนตามท้อง
ถนนด้วย สาหรับคนขับรถนั้น อุบตั ิเหตุบนท้องถนนจะมิใช่การชนกันอย่าง
ธรรมดา แต่จะมีการรั่วไหลของสารเคมีที่บรรทุกไปด้วย ดังนั้นการขนส่ งจาเป็ น
ที่จะต้องหลีกเลี่ยงการผ่านชุมนุมชนให้มากที่สุด ควรรับทราบสิ่ งเดียวกันโดยมี
เพิ่มเติมอีกว่า ถ้าเกิดสารเคมีรั่วไหลจะทาอย่างไร ต้องมีอุปกรณ์ดบั ไฟติดรถไว้
ตัวถังรถต้องมีป้ายติด เตือนอันตรายให้เห็นชัดเจน จัดหาอุปกรณ์คุมครองความ
ปลอดภัยส่ วนบุคคลให้ผทู ้ ี่ทาหน้าที่เคลื่อนย้ายหรื อขนส่ งสารเคมี
การป้ องกันอุบัตภิ ัยจากสารเคมีอาจพิจารณาปัจจัยหลัก 3 ประการ คือ
1. ยานพาหนะและอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการขนส่ ง
2 บุคลากรที่มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีอนั ตรายที่ขนส่ ง
3.ระเบียบและหลักเกณฑ์ที่เหมาะสมในการส่ งเสริ มความปลอดภัย
• ปัจจัยที่มสี ่ วนสาคัญต่ อความปลอดภัยในการขนส่ งคือ
1. ผูข้ บั ขี่ เป็ นผูท้ ี่มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลก็ตอ้ งมีศกั ยภาพเพียงพอ และผูข้ บั ขี่
รถบรรทุกจึงต้องมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายของสารเคมีที่อยูใ่ นรถ
2. การให้ความรู ้แก่ผขู ้ บั ขี่รถบรรทุกสารอันตราย จะส่ งผลให้การดาเนินการขนส่ ง
อยูบ่ นพื้นฐานของความตระหนักถึงความเสี่ ยงและอันตรายร้ายแรงที่อาจเกิดขึ้น
3. ยานพาหนะในการขนส่ งที่ใช้ในการขนส่ งสารเคมีอนั ตรายจะมีช่องถ่าย
สารเคมีอยู่ 3 ชั้น คือ วาล์วภายใน วาล์วภายนอก และส่ วนที่ปิดปลายท่อถ่ายเทสาร
4. สิ่ งที่สาคัญอีกประการหนึ่ ง คือ การติดป้ ายเตือนภัย โดยป้ ายที่แสดงนั้นจะต้องมี
ความชัดเจนและเข้าใจง่าย ระบุชื่อและรายละเอียดเกี่ยวกับสารเคมีตามหลักเกณฑ์
สากล
• กรณีพบรถบรรทุกสารเคมีรั่วไหล มีข้อควรปฏิบัตดิ งั นี้
1.
2.
3.
อยูห่ ่างจากจุดเกิดเหตุดา้ นเหนือลมหรื อที่สูงระยะไม่ต่ากว่า 50 เมตร
โทรฯ แจ้งหน่วยปฏิบตั ิการช่วยเหลือ เช่น
แจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย 191
แจ้งเหตุฉุกเฉิ นอุบตั ิภยั สารเคมีกรมควบคุมมลพิษ 1650
หรื อสายด่วนนิรภัย 1784
แจ้งข้อมูลที่จาเป็ นอย่างละเอียด เช่น
สถานที่เกิดเหตุ ประเภทของรถบรรทุก
รู ปร่ างและลักษณะของถังบรรจุสารเคมี
ชื่อบริ ษทั ขนส่ ง สัญลักษณ์ ฉลากหรื อเครื่ องหมาย และหมายเลข
สหประชาชาติที่เป็ นตัวเลข 4 หลักติดบนภาชนะบรรจุ ถังเหล็ก
แท็งก์ ป้ ายที่ติดบนรถบรรทุก และจานวนผูบ้ าดเจ็บ
เมื่อเวลา 10.30 น. วันที่ 7 มิ.ย.54 เจ้าหน้าที่ตารวจสถานีตารวจภูธรแหลม
ฉบัง อาเภอศรี ราชา ได้รับแจ้งว่ามีรถบรรทุกสารเคมีรั่วไหลฟุ้ งกระจายไป
ทัว่ จอดอยูท่ ี่ถนนสาย ข้างทางต่างระดับเข้านิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง หมู่
3 ตาบลทุ่งศุขลา อาเภอศรี ราชา จังหวัดชลบุรี