จัดทำคำสั่ง - cupamnat.com

Download Report

Transcript จัดทำคำสั่ง - cupamnat.com

อบรมหลักสูตร ครู ค (หลักสูตร ๓ วัน)
โดยโครงการกองทุนโลกด้านวัณโรค รอบที่ ๑๐ ปี ที่ ๓
ระหว่างวันที่ ๒๘ – ๓๐ พ.ค. ๒๕๕๗
ณ ห้องประชุมศูนย์แพทย์โนนหนามแท่ง
ประชุมติดตามการดาเนิ นงานวัณโรค
โครงการกองทุนโลกด้านวัณโรค รอบที่ ๑๐ ปี ท่ี ๓
อัตราค้ นพบผู้ป่วยรายใหม่ เสมหะแพร่ เชือ้ จ.อานาจเจริญ ปี 2552-2555
ร้ อยละ
ปี พ.ศ.
สูตรคำนวณ New M+
ปชก. x 62 ÷ 100000
สูตรคำนวณ TB ทุกประเภท
ปชก. x 142 ÷
100000
อัตราค้ นพบผู้ป่วยรายใหม่ เสมหะแพร่ เชือ้ อาเภอเมือง ปี 2552-2556
ร้ อยละ
ปี
อัตราค้ นพบผู้ป่วยรายใหม่ เสมหะแพร่ เชือ้ อาเภอเสนางคนิคม ปี 2552-2556
ร้ อยละ
ปี
อัตราค้ นพบผู้ป่วยรายใหม่ เสมหะแพร่ เชือ้ อาเภอหัวตะพาน ปี 2552-2556
ร้ อยละ
อัตราการรักษาหายผู้ป่วยวัณโรค New M+ จ.อานาจเจริญ ปี 2549-2555
ร้ อยละ
อัตราการรักษาสาเร็จผู้ป่วย New M+ อาเภอเมือง ปี 2551-2555
ร้ อยละ
ปี
อัตราการรั กษาสาเร็จผู้ป่วย New M+ อาเภอเสนางคนิคม ปี 2551-2555
ร้ อยละ
ปี
อัตราการรั กษาสาเร็จผู้ป่วย New M+ อาเภอหัวตะพาน ปี 2551-2555
ร้ อยละ
ปี
สถานการณ์ วณ
ั โรคดือ้ ยา จ.อานาจเจริญ
จานวน/ราย
แนวทางการดาเนินงานวัณโรค ปี 2557
ให้ ผ้ ูป่วยกลับบ้ านโดยไม่ ให้
ไปด้ วาตั
ย วผู้ป่วย
ยากัยากลั
บสมุดบประจ
ให้ จนท.รพ.สต.มารั บกลับ
ติดตามงานจากการประชุมครั้งทีแ่ ล้ว
การจัดทาบันทึกความร่ วมมือของ อปท.
• กิจกรรมที่ต้องดาเนินการ
• จัดทาคาสั่ งความร่ วมมือระหว่ างหน่ วยงาน รพ.สต.และองค์ กรปกครอง
ส่ วนท้ องถิ่น เพือ่ การดาเนินงานวัณโรค
• หรือถ้ ามีคาสั่ งในกองทุนหลักประกันสุ ขภาพทีเ่ กีย่ วข้ องกับวัณโรคแล้ว
สามารถถ่ ายสาเนาส่ งให้ จังหวัดแทนได้ โดยไม่ ต้องทาคาสั่ งใหม่
• ขอให้ มีวาระประชุ มทีเ่ กีย่ วกับวัณโรคเข้ าประชุ มทุกครั้ง และส่ งวาระ
ประชุ มให้ สสจ.ด้ วย เพือ่ ส่ งหลักฐานให้ สานักวัณโรค ภายในเดือน
พฤษภาคม 2557
การจัดทาบันทึกความร่ วมมือของ อปท.
• ได้ รับหลักฐาน ตาบลบุ่ง และ ตาบลรัตนวารี
• ขอให้ ส่งภายใน 2 มิถุนายน 2557 ประกอบด้ วย
–คาสั่งความร่ วมมือ
–วาระการประชุม
กิจกรรมค่ าเดินทางผู้ป่วย New M+และค่ าป้ อนยา
ข้ อมูล ณ 30 มี.ค.57
1.ผู้ป่วยวัณโรค ทุกประเภท จะได้ รับค่ าเดินทาง คนละ 1,200 บาท
โดยแบ่ งจ่ าย ดังนี้
อาเภอเมือง 49/57,59/57 ยังไม่ ส่งเบิก
2.เหมาจ่ ายค่ าเดินทางกากับการกินยาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เสมหะพบเชื้อ
คนละ 600 บาท / ราย
อาเภอเมือง 49/57,59/57 ยังไม่ ส่งเบิก
การนิเทศเจ้ าหน้ าที่กากับการกินยา
โดยเจ้ าหน้ าที่ระดับอาเภอ TB Clinic ค่ าตอบแทน 650 บาทต่ อ
เดือน นาเอกสารการเบิกเงินให้ สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัด ทุกเดือน
ยังไม่ ส่งเบิก
อาเภอเมือง เดือน เม.ย.-พ.ค.57
อาเภอหัวตะพาน เดือน เม.ย.-พ.ค.57
อาเภอเสนางคนิคม ยังไม่ เคยส่ งเลย
หลักสู ตรอบรมอาสาสมัครสาธารณสุ ข
เพือ่ เป็ นพีเ่ ลีย้ งป้ อนยาวัณโรค
จังหวัดอานาจเจริญ
27/8/2556
ทาไม ต้ อง มีพเี่ ลีย้ ง
• การรักษาวัณโรคทั่วไป 1 ราย ค่ ารักษา 2,500 บาท
• หากมีการทาDOT รักษาหาย ˜ 95% แต่ ถ้าไม่ ทาDOT จะ
เกิด
MDR ˜25%
• MDR-TB 1 ราย ค่ ารักษา 200,000 บาท การรักษาหาย
˜ 50%
• ประเทศไทย ทุกๆ 20 รายของผู้ป่วย MDR-TB จะมี 1 ราย
ที่เป็ น XDR-TB
• XDR-TB 1 ราย ค่ ารักษา 1,200,000 บาท การรักษา
วัณโรค คืออะไร......
• เป็ นโรคติดต่ อที่เกิดจากเชือ้ แบคทีเรีย ชื่อ มัยโคแบคทีเรียม
ทูเบอร์ คูโลซิส มีรูปร่ างเป็ นแท่ ง ขนาดเล็กมากมองไม่ เห็น
ด้ วยตาเปล่ า สามารถเป็ นได้ กับอวัยวะทุกส่ วนของร่ างกาย
เช่ น ปอด ลาไส้ กระดูด ผิวหนัง ต่ อมนา้ เหลือง เยือ้ หุ้ม
สมอง
• เป็ นปั ญหามากที่สุด
คือ วัณโรคปอด
วัณโรค ติดต่ อได้ อย่ างไร.......
• ติดต่ อโดยการแพร่ กระจายจากคนหนึ่งสู่ อกี คนหนึ่ง ทาง
ระบบหายใจ โดยผู้ป่วยทีม่ เี ชื้อในเสมหะ พูด คุย ไอ จาม
โดยไม่ ปิดปาก ผู้ทสี่ ู ดหายใจเอาเชื้อวัณโรคเข้ าร่ างกาย ทาให้
มีโอกาสติดเชื้อและป่ วยเป็ นวัณโรคได้
• การทาลายเชื้อวัณโรค ทาได้ โดยการเผาทิง้
การฝังกลบ
การเทลงส้ วม แต่ วธิ ีทดี่ ที สี่ ุ ด คือการใช้ ความร้ อน คือ
การเผาทิง้
เป้ าหมายยุทธศาสตร์
• เป้ าหมายยุท ธศาสตร์ ก ารควบคุ ม วัณโรคแห่ งชาติ
ทีส่ าคัญ คือ
ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายมีพเี่ ลีย้ งป้ อนยาวัณโรคทุกวัน
วัณโรค มีอาการอย่ างไร..........
• อาการทีส่ งสั ยว่ าป่ วยเป็ นวัณโรค คือ ไอติดต่ อกันเกิน 2 สั ปดาห์
• อาการอืน่ ๆทีอ่ าจพบได้ เช่ น
- ไอแห้ งหรือไอมีเสมหะหรือไอปนเลือด
- เจ็บหน้ าอก เหนื่อยหอบ
- มีไข้ ต่าๆตอนบ่ ายหรือคา่
- เบื่ออาหาร นา้ หนักลด อ่อนเพลีย
ถ้ าพบว่ ามีอาการเหล่ านีใ้ ห้ ไปพบแพทย์ เพือ่ ตรวจหาวัณโรค
การรักษาวัณโรค
• วัณโรครักษาหายขาดได้ แต่ ต้องกินยาครบตามมาตรฐาน
การรักษา ใช้ ระยะเวลารักษา 6-9 เดือน
• ถ้ ากินยาไม่ ครบ จะเกิด “เชื้อดือ้ ยา” จะต้ องใช้ เวลารักษา
นานถึง 18 - 24 เดือน การรักษาจะยากขึน้ ค่ าใช้ จ่ายเรื่ องยา
จะแพงขึน้
โอกาสรักษาหายเพียง 50 % อีก 50% ตาย
อาการข้ างเคียงจากยา
• แบบไม่ รุนแรง
ผืน่ คันเล็กน้ อย อาการเบื่ออาหาร คลืน่ ไส้ อาเจียน ชาตามปลาย
มือปลายเท้ า ปัสสาวะหรือฉี่หรือเหงื่อเป็ นสี ส้มแดงส่ วนใหญ่ ไม่ เป็ น
อันตราย พูดให้ กาลังใจผู้ป่วยกินยาต่ อไป พร้ อมกับให้ ยารักษาตามอาการ
• แบบรุนแรง (ต้ องหยุดยาทันทีและไปพบแพทย์ )
ผืน่ เป็ นเม็ดแดงนูนเต็มตัว หูออื้ ฟังไม่ ชัด ตัวเหลือง ตาเหลือง ตา
มัว เยือ่ บุตาแดงบวม ปวดตามข้ อ เดินเซ
ทาไม ต้ องมีพเี่ ลีย้ ง
• ช่ วยให้ ผู้ป่วยกินยาทุกวันจนครบ ช่ วยให้ การรักษาได้ผล
• ลดการแพร่ เชื้อวัณโรคในชุมชน
• ผู้ป่วยกินยาประมาณ 2 สั ปดาห์ อาการไอและอาการต่ างๆจะดี
ขึน้ รู้ สึกสบายขึน้ ผู้ป่วยมักหยุดยาเอง เพราะคิดว่าหายแล้ ว พี่
เลีย้ งต้ องคอยกระตุ้นให้ กนิ ยาต่ อไป
• พีเ่ ลีย้ งได้ ช่วยเหลือให้ กาลังใจผู้ป่วย และเฝ้ าระวังการแพ้ยาให้
ผู้ป่วย
หน้ าทีท่ สี่ าคัญทีส่ ุ ดของผู้ป้อนยา คือ
ป้ อนยาผู้ป่วยวัณโรคโดยกินยาต่ อหน้ าทุกวัน
DOT กับการรักษาวัณโรค
DOT คือ เจ้ าหน้ าที่สาธารณสุ ข หรือ อาสาสมัครสาธารณสุ ข ทาหน้ าที่
• ดูแลกากับการกินยาผู้ป่วยวัณโรคพร้ อมบันทึกการกินยาของผู้ป่วยวัณโรค
• ให้ กาลังใจให้ ผู้ป่วยกินยาครบตามกาหนดการรักษา
• แนะนาการปฏิบัติตนในการรักษาวัณโรค และป้องกันการแพร่ กระจายเชื้อ
โดยใช้ ผ้า ปิ ดปากปิ ดจมูก
• สั งเกต สอบถาม เมื่อผู้ป่วยเกิดอาการข้ างเคียงหรืออาการแพ้ยา
• หมั่นยา้ เรื่องการดูแลสุ ขภาพของผู้ป่วย เช่ น ไม่ ดื่มเหล้ า ไม่ สูบบุหรี่
• ให้ ข้อมูลผู้ป่วยแก่เจ้ าหน้ าทีส่ าธารณสุ ข เช่ น ความสม่าเสมอในการกินยา
Standard Flow Chart (WHO) การคัดเลือกพีเ่ ลีย้ งในการทา DOTS
อันดับแรกผู้ป่วยสามารถ
มากินยาที่รพ.สต.ได้ ทุกวัน
ได้
ไม่ ได้
ให้ จนท.หรือ อสม.
เป็ นผู้ป้อนยา
ไม่ ได้
ให้ ญาติท่ นี ่ าเชื่อถือเป็ นผู้
ป้อนยา(ผู้ป่วยปิ ดตัว)
ได้
1.คัดเลือกจนท.ในรพ.สต.เป็ นผู้ป้อนยา
2.ให้ ผู้ป่วยมากินยาทุกวันในวันราชการให้ ยา2-3วัน
สาหรับวันหยุด
3.ผู้ป่วยไปต่ างจังหวัด จัดยาให้ ผู้ป่วยตามจานวนวันและ
แจ้ งการกินยาการมารับยาตามนัด
1.เอายาไว้ ที่ รพ.สต.ทั้งหมด
2.ให้ จนท.หรือ อสม.เป็ นผู้ป้อนยา
3.ให้ ญาติ,ผู้ป่วย,พีเ่ ลีย้ ง ร่ วมรับทราบแนวทางการรักษา
4.มอบยาแก่ ผ้ ูป้อนยา ครั้งละ 7 ซอง
5.จนท.รพ.สต.ต้ องออกเยีย่ มบ้ านทุกสั ปดาห์ เพือ่ ประเมิน
การแพ้ยา