Moodle - ภาควิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์

Download Report

Transcript Moodle - ภาควิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์

Moodle
Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment
บทนำ
ระบบการจัดการเรี ยนการสอนแบบออนไลน์แต่เดิมการออกแบบและพัฒนา
เว็บไปสู่การจัดการเรี ยนการสอนผ่านเว็บจะต้องอาศัยโปรแกรมในการพัฒนา
หลายแบบ ได้แก่
1. กำรพัฒนำโดยอำศัยภำษำโปรแกรมสำหรับกำรเขียนเว็บ (Web
Programming) เป็ นการพัฒนาระบบการเรี ยนการสอนออนไลน์ในลักษณะที่
จะต้องอาศัยผูเ้ ชี่ยวชาญในการเขียนโปรแกรม เช่น HTML , Perl , CGI, ASP,
PHP, JSP , XML ฯลฯ
2. กำรพัฒนำโดยอำศัยโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับกำรเขียนเว็บ (Web
Authoring) เป็ นการพัฒนาระบบการเรี ยนการสอนออนไลน์ที่ผปู ้ ฏิบตั ิสามารถ
สร้างเว็บได้ดว้ ยตนเอง อาศัยโปรแกรมสาเร็ จรู ปได้แก่ Macromedia
Dreamweaver, Microsoft Frontpage , Namo Web Editor ฯลฯ
บทนำ
ดังนั้นจึงได้มีความพยายามแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นแต่เดิม โดยจัดทาเป็ น
ระบบที่สมบูรณ์แบบติดตั้งในเครื่ องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย พร้อมทั้งมี
โปรแกรมการสร้างเว็บสาเร็ จรู ปติดตั้งมาด้วยกับระบบในรู ปแบบของการ
ออนไลน์ ทาให้การพัฒนาระบบการเรี ยนการสอนผ่านเว็บทาได้อย่าง
รวดเร็ วขึ้นสิ่ งที่สาคัญก็คือระบบการจัดการเรี ยนการสอนแบบ LMS เกือบ
ทั้งหมดพัฒนาขึ้นโดยการใช้โปรแกรมเว็บในลักษณะที่เป็ นแบบเปิ ดเผย
ซอร์สโค้ด หรื อที่เรี ยกว่า Open Source Code ทาให้ผทู ้ ี่ประสงค์จะทาการ
ปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง หรื อเพิ่มเติมระบบใด ๆ เข้าสู่ LMS ก็สามารถทา
ได้โดยอิสระ
LMS : Learning Management System
เป็ นการจัดระบบกระบวนการเรี ยนการสอน ตั้งแต่เนื้อหา การ
ลงทะเบียน การเก็บข้อมูล การจัดกิจกรรม การมีปฏิสมั พันธ์ ระหว่างผูส้ อน
กับผูเ้ รี ยนเช่น กระดานข่าว ห้องสนทนา อภิธานศัพท์ วิกิ เป็ นต้น ซึ่งจะมี
ส่ วนของระบบฐานข้อมูล ที่สนับสนุนการจัดการเนื้อหาวิชา มีคลังข้อสอบ
และระบบบริ หารจัดการรายวิชา โดยจะเอื้ออานวยความสะดวกให้กบั ผูเ้ รี ยน
ผูส้ อน และผูด้ ูแลระบบ โปรแกรมประเภทนี้อาทิ Moodle , Atutor , Learn
Square , Caroline , WebCT
CMS : Content Management System
เป็ นระบบจัดการเนื้อหาและนามาใส่ ไว้ในระบบฐานข้อมูลเหมือน
LMS ผูด้ ูแลสามารถจัดการบริ หาร เพิ่มเติมเนื้อหา ติดตั้งอุปกรณ์เครื่ องมือ
บางส่ วนได้ดว้ ยตนเอง เช่น Mambo , Joomla, Drupal, Xoops, PHP Nuke,
Post Nuke, Thai Nuke etc..
ควำมแตกต่ ำงระหว่ ำง LMS/CMS
•LMS
ระบบสมำชิก
Admin
Teacher
Student
ระบบกำรเรียนกำรสอน
ระบบแบบทดสอบ
ระบบกิจกรรม
•CMS
ระบบสมำชิก
Admin
Author
User
ระบบกำรจัดกำรเนือ้ หำ
ระบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนผ่ ำนเว็บ
การจัดการเรี ยนการสอนผ่านเว็บ Web-Based Instruction
• E-Learning : Web
• LMS : Moodle , Caroline
• CMS : Mambo , Joomla, PHP nuke, Xoops , Drupal
• LCMS : A-Tutor
Moodle
Moodle ย่อมาจาก Modular Object-Oriented Dynamic
Learning Environment เป็ นชุดโปรแกรมสาหรับ ช่วยผูส้ อน สร้าง
หลักสูตร และเปิ ดสอนบนเว็บไซต์ ผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
หรื ออินทราเน็ต สามารถนาไปใช้ได้ท้ งั มหาวิทยาลัย โรงเรี ยน สถาบัน
หรื อครู สอนพิเศษ
Moodle
ผูพ้ ฒั นาโปรแกรมคือ Martin
Dougiamas โปรแกรมชุดนี้เป็ น Open
source ภายใต้ขอ้ ตกลงของ GNU.ORG
(General public license) สามารถ
download ได้ฟรี
Moodle
ควำมสำมำรถของ moodle โดยสรุป
1. เป็ น open source ที่ได้รับการยอมรับ
2. สามารถเป็ นทั้ง CMS และ LMS ช่วยสร้างเนื้อหาโดยครู และบริ การให้
นักเรี ยนเข้ามาเรี ยนได้
3. สามารถนาเอกสารที่ทาไว้เพิ่มเข้าไปได้ เช่น word, power point, excel,
webpage, pdf หรื อ image เป็ นต้น
4. มีระบบติดต่อสื่ อสารกับนักเรี ยน หรื อระหว่างครู ดว้ ยกัน เช่น chat หรื อ
webboard เป็ นต้น
5. มีระบบแบบทดสอบ และรับการบ้าน สามารถตรวจการบ้าน และให้
คะแนนโดยอัตโนมัติ
6. สามารถเก็บงานทั้งหมดที่อาจารย์ลงแรงทาไปเป็ น .zip แฟ้ มเดียว อนาคต
สามารถนาไปติดตั้งเครื่ องที่ไหนก็ได้ ไม่ตอ้ งเริ่ มต้นใหม่
ส่ วนประกอบของ Moodle
Moodle จะประกอบด้วยส่ วนประกอบต่างๆ ที่สาคัญ 3 ส่ วนคือ
1. กำรจัดกำรระบบ
2. ส่ วนแสดงเนือ้ หำ
3. ส่ วนกิจกรรม
Moodle
ผู้เข้ ำใช้ ระบบมีบุคคล 4 ประเภท
1. ผู้ดูแล(admin) ติดตั้งระบบ บารุ งรักษา กาหนดค่าเริ่ มต้น และกาหนด
สิ ทธิ์การเป็ นผูส้ อน
2. ผู้สอน(teacher) เพิ่มเนื้อหา เพิ่มข้อสอบ ให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรม
ผูเ้ รี ยนตอบคาถาม และสนทนากับนักเรี ยน
3. ผู้เรียน(student) เข้าเรี ยนหัวข้อต่าง ๆ ทาแบบฝึ กหัด ตามที่ได้รับ
มอบหมาย
4. ผู้มำเยีย่ ม(guest) เข้าเรี ยนได้เฉพาะวิชาที่อนุญาต และไม่มีสิทธิ์ทา
แบบทดสอบใด ๆ
Moodle
ผู้สอนสำมำรถเพิม่ สิ่ งต่ อไปนี้ ในแต่ ละบทเรียน หรือสั ปดำห์
Chat (ห้องสนทนา พูดคุยกันได้)
Glossary (รวมคาศัพท์ จัดหมวดหมู่ได้ยอดเยีย่ ม สามารถสื บค้นได้)
Label (ป้ ายประกาศไม่สามารถ click ได้)
Lesson (บทเรี ยนให้พิมพ์แยก page title, page contents, answer และ
response)
5. กระดำนสนทนำ (กระดานข่าว หรื อ webboard)
1.
2.
3.
4.
Moodle
ผู้สอนสำมำรถเพิม่ สิ่ งต่ อไปนี้ ในแต่ ละบทเรียน หรือสั ปดำห์
6. กำรบ้ ำน (ให้พิมพ์งานใส่ word มา upload ได้)
7. ตัวเลือก (คือการลงคะแนน vote จากคาถาม 1 ข้อ และมีตวั เลือกให้)
8. สั มมนำ (เน้นกิจกรรม และองค์ประกอบต่างๆ หลายเรื่ อง)
9. วำรสำร (ให้นกั เรี ยนเข้ามาเขียนวารสาร และมีคะแนนให้ ตามหัวเรื่ อง)
10. แบบทดสอบ (สร้างคลังข้อสอบเป็ น 1000 ข้อ แล้วเลือกมาให้ทา 100 ข้อ
ระบบจะสุ่ มให้นกั ศึกษาทาอัตโนมัติ)
11. แบบสำรวจ (essay หรื อ choice)
12. แหล่งข้ อมูล (text, html, upload, weblink, webpage หรื อ program)
Moodle
กิจกรรมของผู้สอน
1. สมัครสมาชิกด้วยตัวเอง
2. รออนุมตั ิการเป็ นสมาชิก และสมัครเข้าเรี ยนแต่ละวิชาด้วยตนเอง
3. รอผูด้ ูแลกาหนดสิ ทธิ์ในการเป็ นผูส้ อน หรื อผูส้ ร้างคอร์ ส
4. ผูส้ อนสร้างคอร์ส และกาหนดลักษณะของคอร์สด้วยตนเอง
5. เพิ่ม เอกสาร บทเรี ยน และลาดับเหตุการณ์ตามความเหมาะสม
6. ประกาศข่าวสาร หรื อนัดสนทนา กับนักเรี ยนผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
7. สามารถสารองข้อมูลทั้งหมดที่เคยใส่ เข้าไปใน server เก็บเป็ นแฟ้ มเพียงแฟ้ ม
เดียวได้
8. สามารถนาข้อมูลที่สารองกลับมากูค้ ืนที่ server เครื่ องเดิม หรื อเครื่ องใหม่
Moodle
กิจกรรมของผู้สอน
9. สามารถ download คะแนนนักเรี ยนจากการทากิจกรรม ไปใช้ใน excel
ได้โดยง่าย
10. กาหนดกลุ่มให้กบั นักเรี ยน เป็ นกลุ่ม เป็ นห้อง เป็ นชั้นปี เพื่อสะดวกใน
การคิดเกรด คะแนน หรื อสื่ อสาร เป็ นต้น
11. สัง่ ยกเลิกการเป็ นสมาชิกในวิชา ของนักเรี ยนที่มีความประพฤติไม่
เหมาะสม หรื อเข้าผิดวิชา
12. ดูกิจกรรมของนักเรี ยนแต่ละคน เช่น ความถี่ในการอ่านแต่ละบท หรื อ
คะแนนในการสอบแต่ละบท เป็ นต้น
13. ดูผลการทาแบบทดสอบของนักเรี ยนทุกคน หรื อยกเลิกการทาข้อสอบ
ในบางครั้ง ของนักเรี ยนบางคนได้
Moodle
กิจกรรมของผู้เรียน
1.สมัครสมาชิกด้วยตัวนักเรี ยนเอง
2.สมัครเข้าเรี ยนแต่ละวิชาด้วยตนเอง
3. อ่านเอกสาร หรื อบทเรี ยน ที่ผสู ้ อนกาหนดให้เข้าไปศึกษาตามช่วงเวลา
ที่เหมาะสม
4. ฝากคาถาม หรื อข้อคิดเห็น หรื อนัดสนทนาระหว่างเพื่อน ผ่านเครื อข่าย
อินเทอร์เน็ต
5. ทากิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น ทาแบบฝึ กหัด หรื อส่ งการบ้าน
เป็ นต้น
6. แก้ไขข้อมูลส่ วนตัวของตนเองได้
7. อ่านประวัติของครู เพื่อนนักเรี ยนในชั้น หรื อในกลุ่ม
วิธีกำรใช้ งำน Moodle
แบบ Offline
การจาลองเครื่ องด้วย AppServ
การติดตั้งฐานข้อมูลด้วย PHP MyAdmin
แบบ Online
การติดตั้ง Moodle ใน Server
การติดตั้งฐานข้อมูล
การติดตั้งค่าต่าง ๆ เพื่อใช้งาน