เอกสารงานนำเสนอการศึกษาสะเดา - งานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนภูเวียง

Download Report

Transcript เอกสารงานนำเสนอการศึกษาสะเดา - งานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนภูเวียง

โครงการอนุรักษ์ พนั ธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ ได้
ดาเนินงานสนองพระราชดาริฯ จัดตังงาน
้ สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรี ยน เพื่อเป็ นสื่อ
ในการสร้ างจิตสานึกด้ านอนุรักษ์ พนั ธุกรรมพืช โดยให้ เยาวชนได้ ใกล้ ชิดพืชพรรณ
ไม้ เห็นคุณค่าประโยชน์ ความสวยงามอันจะก่อให้ เกิดความคิดที่จะอนุรักษ์
พรรณพืชต่อไป
การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์ ดาเนินการโดยนักเรี ยน มีครูอาจารย์
เป็ นผู้ให้ คาแนะนาสนับสนุน ผู้บริหารเป็ นหลักและผลักดัน นักเรี ยนจึงได้ จดั ทา
โครงงานศึกษาพรรณไม้ ที่สนใจ นัน่ คือ สะเดา ขึ ้น เพื่อทาตามวัตถุประสงค์งาน
สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรี ยน และเป็ นประสบการณ์ตรงของนักเรี ยนต่อไป
วัตถุประสงค์
 เพื่อศึกษาโครงสร้ างของสะเดา
 ผู้ศกึ ษาทางานในกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้
ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ
 ผู้ศกึ ษาได้ ความรู้จากการศึกษาโครงสร้ างสะเดา จากการปฏิบตั จิ ริง
 ผู้ศกึ ษาได้ ความรู้จากการทางานในกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 เป็ นแหล่งข้ อมูลอ้ างอิงในการทางานในด้ านอื่นๆ
แบ่งเกลุม่ และกาหนดเรื่ องที่จะเรี ยนรู้ในแต่ละส่วนของพืช ได้ แก่ ถิ่นอาศัย ราก ลาต้ น ใบ และเมล็ด
ศึกษาลักษณะโครงสร้ างพืชศึกษาทังภายนอก
้
และภายในของพืชแต่ละส่วน
 การศึกษาโครงสร้ างภายนอก

สืบค้ นเอกสาร และศึกษาโครงสร้ าง และชนิด

ลงมือศึกษา และปฏิบตั ิจากการสารวจ เก็บตัวอย่างพืชศึกษาแต่ละส่วน ได้ แก่ ราก ลาต้ น ใบ และ
เมล็ด

บันทึกข้ อมูล เก็บข้ อมูล ถ่ายภาพการปฏิบตั ิงาน และถ่ายภาพโครงสร้ างภายนอก
 การศึกษาโครงสร้ างภายใน

เก็บตัวอย่างพืชศึกษาในแต่ละส่วน ได้ แก่ ราก ลาต้ น ใบ

ศึกษาตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ กล้ องจุลทรรศน์ ขันตอนการศึ
้
กษาโครงสร้ างภายใน
ศึกษาตามชีววิทยา เล่ม 4 ของสถาบันส่งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ (2548)

บันทึกข้ อมูล เก็บข้ อมูล ถ่ายภาพการปฏิบตั ิงาน และถ่ายภาพโครงสร้ างภายใน
 แต่ละกลุม่ อภิปรายผล และรวบรวมผลการศึกษาทังหมด
้
 รวมเล่มโครงงาน จัดทาสื่ออิเล็กทรอนิกส์


ชื่อวิทยาศาสตร์ :
Azadirachta indica Juss. Var. siamensis Valeton
ชื่อวงศ์ :
MELIACEAE
ชื่อสามัญ :
Neem Tree
ชื่อพืน้ เมืองอื่นๆ :
ภาคอีสาน เรี ยก กะเดา, กาเดา
ถิ่นกาเนิด :
ประเทศพม่าและประเทศอินเดีย
การกระจายพันธุ์ในประเทศไทย : ขึ ้นอยู่ตามธรรมชาติในป่ าเบญจพรรณ ป่ าดิบแล้ ง และป่ าแดง
ลักษณะวิสัย :
ไม้ ยืนต้ นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่
ถิ่นอาศัย :
พืชบก กลางแจ้ ง
ความสูง :
8-15 เมตร
รู ปร่ างทรงพุ่ม :
เรื อนยอดทรงกลม
การขยายพันธุ์ :
ขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด
การใช้ ประโยชน์ ในท้ องถิ่น :
อาหาร
คนไทยทุกภาครับประทานสะเดาเป็ นผักได้ โดยการนายอดอ่อนและดอกสะเดามาเผาไฟ ลวกหรื อต้ มให้ สุก
รับประทานร่วมกับปลาดุกเผาก็ได้ รสหวานของน ้าปลาหวานจะช่วงกลบรสขมของสะเดาได้ ทาให้ ร้ ูสกึ อร่อย
รับประทานได้ มาก บางท้ องถิ่นจะรับประทานสะเดากับน ้าพริ กปลาย่าง และน ้าพริ กรสจัดชนิดอื่น
การเตรี ยมสะเดาให้ สกุ ทาได้ 2-3 วิธี วิธีเผาไฟโดยเอายอดสะเดามาปิ ง้ ไฟหรื อปาดกับไฟ (เหมาะสาหรับการ
ใช้ เตาถ่าน) ให้ ใบนิ่มและพอให้ ปลายใบไหม้ กรอบเล็กน้ อย เรี ยกว่า “สะเดาฟาดไฟ” หรื อวิธีลวกสะเดา โดยการ
นายอดอ่อน และดอกสะเดาลวกน ้าเดือด หรื ออาจใช้ วิธีต้มลงในน ้าเดือดหรื อน ้าข้ าวร้ อน ๆ เพื่อลดความขมลงบ้ าง
ก็ได้
ในระยะที่มียอดสะเดาและดอกสะเดาออกมาก รับประทานไม่ทนั ชาวบ้ านจะมีวิธีเก็บเอกดอกสะเดามาลวก
น ้าดิบ 1 ครัง้ จากนันก็
้ นาสะเดาไปตากแดดสัก 2-3 แดด จนแห้ งดีและเก็บไว้ ในที่สะอาดและโปร่ งเมื่อต้ องการ
บริ โภค ก็จะนามาลวกน ้าร้ อนอีกครัง้ หนึง่ จะได้ สะเดาที่จืดรสดี เหมือนกับสะเดาสดทุกประการ
ยาฆ่ าแมลง ยาปราบศัตรูพชื
สารสกัดจากสะเดา นาไปใช้ เป็ นสารฆ่าแมลง
กากสะเดา นาไปใช้ เป็ นปุ๋ย อาหารสัตว์ สารฆ่าแมลง
ความเกี่ยวข้ องกับความเชื่อทางศาสนา
ชาวไทยถือว่าสะเดาเป็ นต้ นไม้ มงคลที่สมควรปลูกเอาไว้ ในบริ เวณบ้ าน โดยกาหนดให้ ปลูกทางด้ านทิศ
ตะวันตกเฉียงใต้ ของตัวบ้ าน นอกจากนี ้ยังเชื่อว่าพระพุทธเจ้ าเคยประทับใต้ ต้นสะเดาอีกด้ วย
 สะเดาเป็ นพืชที่มีระบบรากแบบ
รากแก้ ว ซึง่ ทาให้ มีลกั ษณะที่
หนา ยาว และเหนียวเป็ นพิเศษ
เนื่องจากลักษณะดินที่สะเดา
เกิดภายในโรงเรี ยนภูเวียง
วิทยาคม เป็ นดินเหนียว เพือ่ ให้
สามารถเจาะทะลุดินที่มีความ
แข็งได้
ลักษณะภายนอกรากของสะเดา
เอพิเดอร์มิส
คอร์เทกซ์
เอนโดเดอร์มิส
สตีล
ไซเลม
โฟลเอ็ม
เพริ ไซเคิล
ภาพตัดขวางรากสะเดา กาลังขยาย 10x10
สะเดาเป็ นไม้ ยืนต้ นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ เรื อนยอดทรง
กลม ชอบแสง สูงประมาณ 8-15 เมตร เส้ นรอบวงประมาณ
80-200 เซนติเมตร เปลือกสะเดาแข็ง และหนา แตกเป็ นร่อง
หรื อสะเก็ดยาวๆ ไปตามความยาวของลาต้ น ลาต้ นสีน ้าตาลเทา
หรื อเทาปนดา กระพี ้สีเทาขาว แก่นไม้ สีน ้าตาลแดง
ลักษณะลาต้ น และเปลือก ต้ นสะเดา
ลักษณะวิสยั ลาต้ นสะเดา
ภาพตัดตามยาวลาต้ นสะเดา
ภาพตัดขวางลาต้ นสะเดาแสดงให้ เห็นวงปี
คอร์เทกซ์
พิธ
ไซเลม
เอพิเดอร์มิส
โฟลเอ็ม
ภาพตัดขวางลาต้ นสะเดา กาลังขยาย 10 x 10
ลักษณะใบสะเดา และขนาดใบ
ใบสะเดาเป็ นใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรี ยงสลับ ยาว 15-40
เซนติเมตร ใบรูปหอก ปลายใบเรี ยวแหลม โคนใบสอบ ขอบใบหยักแบบ
ฟั นเลื่อย แต่ละใบยาวประมาณยาว 8-15 เซนติเมตร ก้ านใบแตกออก
จากกิ่งแบบเกลียว ใบอ่อนสีแดงปนน ้าตาล เส้ นใบแบบร่างแห เส้ นใบจะ
แยกจากเส้ นกลางใบคล้ ายก้ างปลา ประมาณ 15 คู่
ลักษณะใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรี ยงสลับ
ของสะเดา
ลักษณะการแตกใบจากกิ่ง
เอพิเดอร์ มิสด้ านบน
แพลิเซดมีโซฟิ ลล์
มัดท่ อลาเลียง
สปันจีมโี ซฟิ ลล์
เอพิเดอร์ มสิ ด้ านล่ าง
ภาพตัดขวางใบสะเดา กาลังขยาย 10x10
เซลล์คุม
ปากใบ
ลักษณะปากใบ และโครงสร้ างปากใบ ใบสะเดา กาลังขยาย 10 x 40
ลักษณะของผลเมื่อแห้ ง เปลือกของผลจะกลายเป็ นสีดา และเมื่อเปลือกร่อนออกพบ
เมล็ดมีรูปทรงไข่ เปลือกหุ้มเมล็ดชันนอก
้
(resta) เป็ นสีน ้าตาล ลักษณะแข็งแต่เปราะ เมื่อ
กะเทาะเปลือกหุ้มเมล็ดชันนอกออกจะพบเปลื
้
อกหุ้มเมล็ดชันใน
้ (tegmen) เป็ นเยื่อบางๆ
สีน ้าตาลเข้ มห่อหุ้มเอนโดสเปิ ร์ มสีเขียวปนเหลืองอยู่ เอนโดสเปิ ร์ มมีกลิ่นเฉพาะที่คอ่ นข้ าง
เหม็นฉุน เมื่อผ่าเมล็ดตามยาวจะพบคัพภะ (Embryo) อยูค่ อ่ นไปด้ านปลายเมล็ดด้ านใด
ด้ านหนึง่ (ด้ านแหลม) ซึง่ มีสีเขียวอ่อนและขนาดเล็กมาก
ลักษณะผลแห้ งและเมล็ดของสะเดา