Download! - โรงพยาบาลบึงกาฬ

Download Report

Transcript Download! - โรงพยาบาลบึงกาฬ

SAR 2011
Part II
II-2.1 การกากับดูแลวิชาชีพ
ด้ านการพยาบาล
วันที่ 18 พ.ย. 56
เป้าหมาย/ประเด็นคุณภาพที่สาคัญ:
• ประสิทธิภาพ
• คุณภาพมาตรฐาน
• ความปลอดภัย
• จริยธรรม
• บุคลากรมีความสุขในการทางาน
การบริหารการพยาบาล
บทเรียนเกี่ยวกับการจัดทีมผู้บริหาร
ผู้นาทีมการพยาบาลทุกระดับได้ พฒ
ั นาสมรรถนะด้ านบริหาร
ผู้นาทีมการพยาบาลและหัวหน้ าหน่วยงาน : ร้ อยละ 90 (18/20)
ด้ านพยาบาลปฏิบตั ิการอบรมเฉพาะทาง :ร้ อยละ 26.06 (37/142คน)
หลักสูตรระยะสัน้ และTraining
กาหนดคุณสมบัติผ้ บู ริหารทางการพยาบาลทุกระดับ เพื่อสรรหาและ
คัดเลือกผู้บริหารทางการพยาบาล ได้ แก่ หัวหน้ าพยาบาล หัวหน้ ากลุม่
งานการพยาบาลสาขาต่างๆ และหัวหน้ าหน่วยงาน
การบริหารการพยาบาล (ต่ อ)
บทเรี ยนเกี่ยวกับการจัดอัตรากาลัง หน่ วยงานที่มีความเสี่ยงสูง หรื อขาด
แคลนบุคลากร
วิเคราะห์ภาระงาน และการจาแนกประเภทผู้ป่วยใช้ แนวคิดของวาสต์เลอร์
(Wastler Classification) ข้ อมูลตัดสินใจใช้ อตั ราครองเตียง
(เป้าหมาย≥ 80 %) Productivity (เป้าหมาย ≥ 90-110 %)จานวน
ชัว่ โมงพยาบาลต่อวันนอนในโรงพยาบาล (เป้าหมาย 4.1 ชัว่ โมง)
วางแผนจัดอัตรากาลังทังในระยะสั
้
นและระยะยาว
้
ตาม Service Plan
อัตรากาลังที่ควรมี 235 คน (175 เตียงX 1.4) ปั จจุบนั มี 162 คน คิด
เป็ นร้ อยละ 68.94
การบริหารการพยาบาล (ต่ อ)
การบริหารอัตรากาลัง
• หน่วยงานที่มีความเสี่ยงสูง ได้ จดั อัตรากาลังตามเกณฑ์มาตรฐานของ
สภาการพยาบาล เช่น ICU N:P=2:1 ไตเทียมN:P = 2:1
• มีการกาหนดเกณฑ์การจัดอัตรากาลังเสริมเช่น ผู้ป่วยสามัญ Nurse
: Patient = 1:10-12, Nurse Aid: Patient = 1:20
• โอกาสพัฒนาจัดระบบอัตราที่เอื ้อต่อการให้ บริการ โดยให้ หน่วยงานที่มี
ภาระงานน้ อยไปช่วยหน่วยงานที่มีภาระงานมาก ซึง่ พิจารณาจาก
Productivity , อัตราครองเตียง
การบริหารการพยาบาล (ต่ อ)
• บทเรียนเกี่ยวกับการกากับดูแลมาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ
กาหนดให้ ปฏิบตั ิ ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ 2540 เน้ นให้ การพยาบาล
ทุกคนเท่าเทียมกัน ยึดหลักสิทธิผ้ ปู ่ วย 10 ประการ โดยเน้ นในประเด็น
การรักษาความลับของผู้ป่วย การไม่ เปิ ดเผยร่ างกายของ
ผู้ป่วย การให้ ข้อมูล ลงนามยินยอมไม่ เลือกปฏิบตั ิ การ
และระบุตวั ผู้ป่วยโดยติดชื่อที่ข้อมือผู้ป่วย
การบริหารการพยาบาล (ต่ อ)
บทเรียนเกี่ยวกับการนิเทศ กากับดูแลปฏิบัตกิ ารทางการพยาบาล
• มีระบบการนิเทศ โดยแบ่งการนิเทศเป็ น 3 ระดับ
นิเทศโดยผู้บริหารทางการพยาบาล นิเทศโดยผู้ตรวจการนอกเวลาราชการ
และนิเทศโดยหัวหน้ าตึก/หัวหน้ าเวรโอกาสพัฒนากระบวนการนิเทศจึง
จัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร และได้ จัดทาคู่มือการนิเทศของผู้ตรวจการ
พยาบาลนอกเวลาราชการ พร้ อมทัง้ มีการกาหนดประเด็นในการ
นิเทศร่วมกันการนิเทศ
การบริหารการพยาบาล (ต่ อ)
บทเรี ยนเกี่ยวกับการส่ งเสริมการพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัย
• ได้ กาหนดนโยบายให้ หน่วยงานมีการประกันคุณภาพความเสี่ยงของ
หน่ วยงานละ 5เรื่ อง
• สร้ างวัฒนธรรมความปลอดภัยขององค์กรโดยใช้ เครื่ องมือต่างๆ เช่น การ
รายงานความเสี่ยง ให้ ทุกคนรายงานอุบัตกิ ารณ์ ความเสี่ยงอย่ างน้ อย
เดือนละ1เรื่ องต่อคน และสร้ างวัฒนธรรมความปลอดภัยโดยใช้ ค่ ูมือ
SIMPLE
• ส่งเสริ มให้ มีการพัฒนาคุณภาพ องค์กรพยาบาลกาหนดนโยบายให้ หวั หน้ า
พาทาคุณภาพเป็ นแกนนาที่สาคัญในการพัฒนา และเข้ าร่วมเป็ น
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพต่างๆ คณะกรรมการบริ หารโรงพยาบาล
สนับสนุนงบประมาณต่อเดือน
การบริหารการพยาบาล (ต่ อ)
บทเรี ยนเกี่ยวกับการส่ งเสริมการใช้ กระบวนการพยาบาล
• กำหนดนโยบำยให้ทุกหน่วยงำนนำกระบวนกำรพยำบำลมำใช้ในกำรปฏิบตั ิงำนและกำหนด
เป็ นสมรรถนะหลักขององค์กร
• ร่ วมกับทีมนาทางคลินิกทุกสาขาในการ ใช้ กระบวนการพยาบาลดูแลผู้ป่วยใน
กลุ่มโรคที่พบบ่ อย เช่ น การดูแลผู้ป่วย ACS, Stroke, Sepsis Head injury,
Appendicitis, Neonatal jaundice, DHF ,PIH, PPHและระบบยา เป็ นต้น
• มีคณะกรรมการ audit เวชระเบียน
• กำหนดให้บุคลำกรในหน่ วยงาน audit เวชระเบียน One day One chart
• มีระบบกำรนิเทศกำรใช้กระบวนกำรพยำบำลโดยหัวหน้ำตึก/หัวหน้ำหน่วยงำน
• กาหนดเป็ นตัวชี้วดั รายบุคคลของแต่ละหน่วยงำน
การบริหารการพยาบาล (ต่ อ)
บทเรียนเกี่ยวกับการควบคุมดูแลบุคลากรที่อยู่ระหว่ างการฝึ กอบรม
หรือมีคุณวุฒติ ่ากว่ าเกณฑ์
• องค์กรพยาบาลกาหนดให้ มีการปฐมนิเทศบุคลากรพยาบาล2 ระดับ
คือ ระดับองค์ กรและระดับหน่ วยงาน
• ทุกหน่วยงานมีระบบพี่เลี ้ยงสาหรับบุคลากรมาปฏิบตั งิ านใหม่ โดย
ได้ รับการสอนงานและให้ ฝึกทางานคูก่ บั พยาบาลประจาการ 6
สัปดาห์ ส่วนผู้ช่วยเหลือคนไข้ ได้ รับการสอนงานและให้ ฝึกทางานคู่
กับพี่เลีย้ ง 4 สัปดาห์
การบริหารการพยาบาล (ต่ อ)
บทเรี ยนเกี่ยวกับการจัดการความรู้ และการส่ งเสริมการวิจัย
• องค์กรพยำบำลได้จดั กำรควำมรู ้ 3 เรื่ อง ได้แก่ การตรวจสอบเครื่องมือก่อนหมดอายุ
การป้องกันกันการเกิด Phlebitis และการป้องกันการเกิดปอดอักเสบจากการคา
เครื่องช่ วยหายใจ (VAP)
• กำรพัฒนำคุณภำพอย่ำงต่ อเนื่อง (CQI) ของหน่ วยงานต่ าง ๆ ในปี 2555-2556
จานวน 113 เรื่อง
• กำรดำเนินงำนมีงำนวิชำกำร วิจยั และนวตกรรม ในปี 2555-2556 จำนวน 4 เรื่ อง คือ
เรื่ อง 1) พฤติกรรมการดูแลตนเองผู้ป่วยเบาหวานทีม่ ีอาชีพกรีดยางพาราจังหวัดบึง
กาฬ 2) กล่ องหักแอมป์ ยามหาสนุก 3)การดูแลต่ อเนื่องผู้ป่วยโรคเรื้อรังตึกอายุรก
รรมหญิงโรงพยำบำลบึงกำฬ และ ปี 2556 ได้รับรางวัลอันดับ 2 งานประชุ มวิชาการ
เขต 8 เรื่องผลการใช้ แนวทางปฏิบัติเพือ่ ป้ องกันการเกิดหลอดเลือดดาส่ วนปลาย
อักเสบ
ปฏิบัตกิ ารพยาบาล
ผลการศึกษาเกี่ยวกับการใช้ กระบวนการพยาบาล
• ในปี งบประมาณ 2551-2553 กลุม่ งานการพยาบาลได้ ตรวจสอบการใช้
กระบวนการพยาบาลได้ มีโอกาสพัฒนาแบบฟอร์ มการบันทึกการ
ประเมินความเสี่ยงแรกรั บทุกแผนกและแบบฟอร์ มการวางแผนจาหน่าย
เฉพาะโรคในผู้ป่วยใน และเปลี่ยนแบบฟอร์ มการประเมินสมรรถนะเป็ น 11
แบบแผน ของกอร์ ดอน เพื่อให้ ครอบคลุมด้ านร่างกาย จิต สังคม
• ในปี งบประมาณ 2554 เปลี่ยนเครื่ องมือประเมินโดยใช้ APIE และได้
สุม่ ตรวจเวชระเบียนในกลุม่ โรคสาคัญของหน่วยงาน ผลการตรวจสอบ
พบว่า ร้ อยละ79.02 ในปี 2554 เป็ นร้ อยละ 83.01 ในปี 2555 และร้ อยละ
84.58 ในปี 2556 นาข้ อมูลที่ได้ ไปพัฒนาให้ สมบูรณ์มากขึ ้น
•
ปฏิบัติการพยาบาล(ต่ อ)
ผลการศึกษาเกี่ยวกับสิทธิผ้ ูป่วยและจริยธรรมวิชาชีพ
• กลุม่ การพยาบาลได้ กาหนดให้ มีการปฏิบตั ิการพยาบาลโดยยึดหลักสิทธิผ้ ูป่วย 10
ประการ โดยเน้ นประเด็นการรักษาความลับของผู้ป่วย การให้ ข้อมูลการลงนาม
ยินยอม ได้ มีการปรับแบบฟอร์ มการให้ ความยินยอมให้ ชดั เจนมากขึ ้น ผลการ
ดาเนินงานปี 2553-2556 ไม่พบข้ อร้ องเรี ยนเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิผ้ ปู ่ วย และ
พบข้ อร้ องเรี ยนด้ านพฤติกรรมบริการ 4,1,1,1ครัง้ ตามลาดับ ผลการประเมิน
ความพึงพอใจของผู้ป่วยนอกต่อบริ การพยาบาล ร้ อยละ81.73, 81.13,
81.05 และ 81.05 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยในต่อบริการ
พยาบาล 85.01, 85.56, 85.11และ85.45 ตามลาดับ องค์กรพยาบาลจึง
ได้ มีจดั อบรมเรื่ องพฤติกรรมบริการแก่ บุคลากรขึน้ ในปี 2556 จานวน 2 ครัง้
และกาหนดเรื่ องพฤติกรรมบริการบรรจุไว้ ในหลักสูตรการปฐมนิเทศ
บุคลากรใหม่ และมีการเฝ้าระวังโดยกาหนดให้ มีช่องทางรั บข้ อร้ องเรี ยน
ปฏิบัติการพยาบาล(ต่ อ)
• ผลการศึกษาเกี่ยวกับการใช้ ข้อมูลวิชาการและมาตรฐานวิชาชีพ
• มีการทา Nursing Audit ทุกหน่ วยงานเดือนละ 1 ครั ง้ โรคพัฒนาส่วนที่ยงั ไม่
เป็ นไปตามเกณฑ์ เช่น กลุม่ ผู้ป่วยชักจากไข้ สงู กลุม่ ผู้ป่วย COPD ที่มีภาวะ
Respiratory failure,ผู้ป่วย DM ที่มีภาวะ Hypoglycemia ผู้คลอดที่มี
ภาวะตกเลือด หญิงตัง้ ครรภ์ ท่ มี ีภาวะเจ็บครรภ์ คลอดก่ อนกาหนด
• มีการสุ่มตรวจเวชระเบียนโดยใช้ มาตรฐานของ
• ในปี 2553-2554 พบอุบัตกิ ารณ์ ผ้ ปู ่ วยตกเตียง 10 ครั ง้ และ5 ครั ง้ ตามลาดับ
จึงได้ นาแบบประเมิน Hendricks Fall Risk Assessment
• 2555-2556 ยังพบอุบัตกิ ารณ์ ผ้ ูป่วยตกเตียง 2 และ 9 ครั ง้ ตามลาดับ พบมาก
ในตึกอายุรกรรมหญิง ได้ ทบทวนแนวทางปฏิบตั ิในผู้ป่วยปั ญหาสายตาไม่ มีญาติ
เฝ้า ผู้ป่วยสูงอายุท่ ไี ม่ มีญาติเฝ้า และผู้ป่วยได้ รับยาระบบประสาท
ปฏิบัติการพยาบาล(ต่ อ)
ผลการศึกษาเกี่ยวกับการดูแลที่เป็ นองค์ รวม สอดคล้ องกับภาวะสุขภาพ วิถีชีวิต และ
บริบททางสังคม
• ส่ งเสริมให้ ทุกหน่ วยงานดูแลผู้ป่วยครอบคลุม 4 มิติ ทั ้งร่างกาย จิตใจ สังคม และจิต
วิญญาณ โดยเฉพาะผู้ป่วยกลุม่ ผู้ป่วยคดี และผู้ป่วยถูก Drape พบโอกาสพัฒนาใน
เครื อข่ ายผู้ดแู ลป่ วยที่ประสบปั ญหาด้ านสังคม เช่ น ถูกกระทาความรุ นแรงใน
ครอบครั ว ในปี 2556 ได้ ปรั บปรุ งระบบเครื อข่ ายการดูแลผู้ป่วย แต่ งตัง้
คณะกรรมการคุ้มครองเด็กและสตรี
• กาหนดแนวทางปฏิบตั ิการดูแลผู้ป่วย ประคับประคองและผู้ป่วยที่อยูใ่ นวาระสุดท้ ายของ
ชีวิต ผลการดาเนินงาน ปี 2555 (เริ่ มเดือนกรกฎาคม), 2556 ผู้ป่วยประคับประคองและ
ผู้ป่วยที่อยูใ่ นวาระสุดท้ ายของชีวิตได้ รับการดูแลแบบประคับประครอง ร้ อยละ70
(16/22คน), 72 (69/90คน) และผู้ป่วยได้ รับการติดตามเยี่ยม ร้ อยละ 68.75 (11/16 คน),
7.25 (5/69คน) ตามลาดับ พบโอกาส พัฒนา การจัดระบบเครื อข่ ายดูแลต่ อเนื่อง
เชื่อมโยงถึงชุมชน และศูนย์ อุปกรณ์ เครื่ องมือเพื่ออานวยความสะดวกสาหรั บ
ผู้ป่วยให้ สามารถไปใช้ ท่บี ้ านหรื อชุมชน
ประเด็นที่จะต้ องเตรียมองค์ กรพยาบาล
การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร
การใช้ กระบวนการพยาบาล
การบันทึกทางการพยาบาล
การนิเทศทางการพยาบาล
ความปลอดภัยโดยใช้ ค่ ูมือ SIMPLE
SPA III