บริการพยาบาลด้วยใจ ให้เข้าถึงสิทธิ ไม่ผิดกฏหมาย

Download Report

Transcript บริการพยาบาลด้วยใจ ให้เข้าถึงสิทธิ ไม่ผิดกฏหมาย

บริ การพยาบาลด้ วยใจ ให้
เข้ าถึงสิทธิ ไม่ผิดกฎหมาย
ดร. กาญจนา จันทร์ ไทย
ผู้อานวยสานักการพยาบาล
ประเด็นกฎหมาย
• 1. กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับผู้รับบริ การ ผู้ให้ บริ การ
– การเข้ าถึงสิทธิตา่ งๆ ของผู้ป่วย มี - กลุม่ ใหญๆ คือ สิทธิ
ประกันสังคม สิทธิข้าราชการ(รวมรัฐวิสาหกิจ ข้ าราชการการเมือง)
สิทธิ uc
2.กฎหมายวิชาชีพ
3.กฎหมายบริ หารราชการแผ่นดิน
– กาลังคน ค่าตอบแทน ระบบข้ อมูล การปรับโครงสร้ างกระทรวง
งบประมาณ Service Plan
ความต้ องการครัง้ สุดท้ ายของชีวิต (living Will)
• พระราชบัญญัติสขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 บัญญัติไว้
ในมาตรา 12 บุคคลมีสทิ ธิทาหนังสือแสดงเจตนาไม่
ประสงค์จะรับบริ การสาธารณสุขที่เป็ นไปเพียงเพือ่ ยืด
การตายในวาระสุดท้ ายของชีวิตคน หรื อเพื่อยืดการ
ทรมานจากการเจ็บป่ วยได้ ....
• กฎกระทรวงของ สช. ได้ ออกแนวทางปฎิบตั ิ มีผลบังคับ
ใช้ เมื่อ 20 พค. 2554
พยาบาลเกี่ยวข้ องอย่างไรบ้ าง
• เมื่อมีผ้ ขู อทาหนังสือแสดงเจตนาฯมาขอทาที่
สถานพยาบาล
–พยาบาลอานวยความสะดวก แต่ไม่ได้ ชี ้ชวนให้ ทา
–พยาบาลผู้จดั การรายกรณีไม่ควรเซนต์เป็ นพยานใน
หนังสือฯ
–ให้ คาแนะนากรณีการปฏิบตั ิตามหนังสือแสดงเจตนา
–ผู้ป่วยตังครรภ์
้
จะเป็ นผลให้ หนีงสือแสดงเจตนาต้ องยกเลิก
ไว้ ก่อนจนกว่าจะพ้ นสภาพตังครรภ์
้
พยาบาลเกี่ยวข้ องอย่างไรบ้ าง (ต่อ)
• เมื่อผู้มารับบริการเข้ ารักษาในโรงพยาบาล
– ไม่ควรไปถามหา living will เป็ นเรื่ องที่ผ้ ปู ่ วยหรื อญาตินามาให้
– สาเนาหนังสือไว้ ในเวชระเบียน ฉบับจริงให้ เก็บไว้ กบั ผู้ป่วยหรื อญาติ
– แจ้ งให้ ผ้ ปู ่ วยและญาติรับรู้ง่าหนังสือฯจะยกเลิกหรื อเปลี่ยนแปลงได้
ตลอดเวลา อาจด้ วยวาจาก็ได้
– แพทย์เป็ นผู้อธิบายความเป็ นไปของภาวะโรค
– หนังสือแสดงเจตนานามาปฏิบตั ิเมื่อผู้ป่วยอยูใ่ นวาระสุดท้ าย
พยาบาลเกี่ยวข้ องอย่างไรบ้ าง (ต่อ)
• การแจ้ งข่าวร้ าย
–ควรให้ แพทย์เป็ นผู้แจ้ งข่าวร้ าย หรื อถ้ าเป็ นพยาบาลควร
ได้ รับการฝึ กอบรมในการแจ้ งข่าวร้ าย
การพิสจู น์หนังสือว่าเป็ นของจริ ง
กระทรวงสาธารณสุขได้ มีมติในเรื่ องนี ้ว่าให้ ดาเนินการโดย
คณะบุคคล ซึง่ ประกอบด้ วยรองฯบริ หาร แพทย์เจ้ าของ
และนิติกร แต่แนวปฎิบตั ิของแพทยสภาให้ ญาติใช้
กระบวนการทางศาล
พยาบาลเกี่ยวข้ องอย่างไรบ้ าง (ต่อ)
การวินิจฉับภาวะสุดท้ าย
กระทรวงสาธารณสุขได้ ออกแนวปฎิบตั ิให้ ใช้ คณะ
บุคคล โดยประกอบด้ วยแพทย์เจ้ าของไข้ แพทย์
ผู้เชี่ยวชาญ (ซึง่ อาจเชิญจากโรงพยาบาลศูนย์หรื อ
โรงพยาบาลทัว่ ไป กรณีผ้ ปู ่ วยอยูใ่ นโรงพยาบาลชุมชน
และนิติกรของโรงพยาบาลหรื อของจังหวัด ถ้ า
ดาเนินการไม่ได้ ก็ให้ สง่ ต่อ
พยาบาลเกี่ยวข้ องอย่างไรบ้ าง (ต่อ)
• การถอดถอนกรณีที่ญาตินาหนังสือฯมาแสดงในกรณีที่
ผู้ป่วยภาวะสุดท้ าย ได้ มีการรักษาไประยะหนึง่ แล้ ว
–แนวปฎิบ้ติของแพทยสภาไม่ให้ มีการดาเนินการถอดถอน
แม้ จะไม่เป็ นไปตามหนังสือแสดงเจตนา
–การดาเนินการใดๆให้ ญาติได้ รับรู้และเห็นพ้ องต้ องกัน (อาจ
ให้ มีการทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษรไว้ )