เสริมสร้างแรงจูงใจ

Download Report

Transcript เสริมสร้างแรงจูงใจ

เสริมสรางจู
ง
ใจการ
้
ดาเนินงานพัฒนา
คุณภาพใน
โรงพยาบาล
ภญ.สี ตแ
ี อเสาะ
ดือเระ
รพ.หนองจิก
จ.ปัตตานี
1 เมษายน
เริ่ มที่............
การเดินทางที่
แสนไกล
เดินทางไปแบบไม่มี
วันสิ้นสุดเราเก็บ
เสบียงเพียงพอแล้ว
หรือยัง
ไปสู่เป้ าหมายการ
ทางานของชีวิต
2
FA เผชิญกับงานมากมายใน รพ.มิใช่งาน คุณภาพเพียงอย่างเดียว
งานของ รพ.
งานตามนโยบาย
งานประจา
งานของจังหวัด
งานอืน่ ๆของ รพ.
3
3
ความจริงทีเ่ กิดในองค์ กรกับมาตรฐานทีม่ ากมายทีต่ ้ องรองรับ
มาตรฐานสุ ขศึกษา
HA
PMQA
PCA
HPH
มาตรฐาน
3S
QA
TQM
5ส
FA…กับ........ภารกิจระดับองค์กร.......
หัวหน้ าศูนย์คณ
ุ ภาพ
ทีมนาทางคลินิก ทัง้ ของ รพ. และ รพ.สต.
คณะกรรมการทีมคร่อมสายงานHRD /
RM / ENV / EQU
หัวหน้ ายุทธศาสตร์ รพ. /อาเภอ
ดูแลมาตรฐาน HA / HPH / PCA/
มาตรฐานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรม
สุขภาพ ทัง้ ของ รพ. และ รพ.สต./ดูแล
มาตรฐานวิถีอิสลาม
ชัวโมงการท
่
างานไม่สามารถกาหนดด้วย
เวลา
ทางานประจา 4 วัน ของความเป็ นเภสัช
กร
-ดูแล รพ.ในเครือข่าย 5 โรง และ รพ.อื่นๆ
-ไปสอน รพ.ต่างๆ
สอนมาตรฐานทุกมาตรฐานอย่างง่าย
ความสุขของ จนท. (งานปี ใหม่/ศึกษาดูงาน/พบ
ผูบ้ ริหาร)
ศูนย์มี 2 คน มีเภสัชกร 1 คน
จนท.พิมพ์งาน 1 คน
ติดตามและเก็บ KPI ทุกระดับ ชี้นาการวิเคราะห์
KPI
จัดทา Road Mapของทุกระดับทีมคร่อมสายงาน
คนเป็ น Fa ทุกคนสามารถเป็ นได้
แต่เป็ น Fa สร้างทัง้ คน สร้างทัง้ งาน
คนมีความสุข งานได้ผลลัพธ์
องค์กรไปสู่เป้ าหมาย
ไม่ง่าย?
FA ต้องพบกับ...ธรรมชาติของคนทางานดังนี้
•
•
•
•
•
•
•
ทางานยิ่งนานยิ่งน่ าเบือ่ รอวันลาออก
คนใหม่.....รอประสบการณ์...กลัวว่าทาไม่ได้
ได้งานรับผิดชอบน้ อยยิ่งดี
คิดว่างานคุณภาพ....กับงานประจาคนละงานกัน
เช้าชาม....เย็นชาม....
คนราชการเป็ นงานสารอง....งานจริงคือ......?
ทางานต้องมีข้อแลกเปลี่ยน
Step-by-Step
การสู่ SHA FA 2013
1...การพัฒนาคุณภาพ ต้องเริ่มที่...ตัวเราเองก่อน....ว่าจะทาเพื่ออะไร......
• เป้าหมายในการทางานต้องชัด...เพือ่ อะไร...
• ต้องเป็ นมือบน...เป็ นผูใ้ ห้...(สอนงาน ตรวจงาน เป็ นทีป่ รึกษา สรรหา
รูปแบบการทางานทีง่ า่ ยสอดคล้องกับองค์กร)
• หัวใจต้องเต็มด้วยความรัก...พร้อมทีจ่ ะรักคนอื่น
• หวังการตอบแทน...ทีย่ งิ่ ใหญ่กว่า...
• มีจติ ใจทีม่ นคง...ในการคิ
ั่
ดทาดี...กับองค์กร......จิตใจ...ทีเ่ ข็มแข็ง...
• งาน...คือโอกาส...ของคน
• ต้องทางานประจา และ ต้องทางานมากกว่าคนอื่น
• ต้องรูส้ กึ ดีกบั ความสาเร็จของคนอื่น
กระตุ้นการทางานด้วยการทางานด้วยใจ
การร่วมโครงการ......SHA……
ด้วยการใช้ SHA ในการสร้างการทางานด้วยใจ และ
นา SHA ผสมผสานกับมาตรฐาน และ กระบวนการ
ทางานของหน่ วยงาน /กาหนดเป็ นจุดเน้ น
เป้ าหมาย ทางานมาตรฐาน คนทางานแบบมีความสุข
และประชาชนพึงพอใจ
10
นาแนวคิดSHA มาใช้ในองค์กร เพื่อเปลี่ยนความคิดของคน
SHA : Sustainable Healthcare & Health Promotion By Appreciation & Accreditation
Safety
Standard
Spirituality
Humanized Healthcare
Appreciation
Sustainable
HPH (Health Promoting Hospital)
Aesthetic
Suff. Eco
HA (Hospital Accreditation)
Accreditation
Dream
Content
Approach
ในระยะแรกไม่ได้ว่าเป็ น SHA แต่ปีถัดมากาหนดเป็ นเข็มมุ่งของ รพ. และหน่ วยงานนาไป
กาหนดจุดเน้ นของหน่ วยงานตามบริบท และกระตุ้นก่อนการประชุมทุกครัง้ ไม่ได้ทาเฉพาะ
กิจ และจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความดีบอ่ ยๆแทรกในทุกงานและระหว่างการประชุม
3. บูรณาการมาตรฐานเป็ นหนึ่งเดียว
2.สร้างงานคุณภาพจากงานประจา
งานประจา
ความเป็ นพี่น้อง
และเพื่อนในการ
ทามาตรฐาน
มาตรฐาน
แต่เติมเต็มมาตรฐานด้วยคาว่าเพื่อนและความเป็ นพี่น้อง
การประชุมของหน่ วยงานจะเชิญสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้องมาร่วมประชุมทุกครัง้ โดยไม่ต้องรอการประชุมในระดับทีม
นาทางคลินิก เนื่ องจากว่า โอกาสการประชุมน้ อย และหลายประเด็นเวลาไม่ทนั จะประชุมประเด็นที่สาคัญเท่านัน้
จะพัฒนาคุณภาพจากงานประจาของเขา/ส่งเสริมการแก้ปัญหาให้เสร็จในหน่ วยงานและระหว่าหน่ วยงานเช่น
ความเสี่ยง/จุดเน้ น
4.คุณภาพเป็ นของทุกคนมิใช่ทีมนาคุณภาพ รพ.
เริ่มจาก
1. คาสั่ งทีมนาคุณภาพ / ทีมคร่ อมสายงาน
แต่ ละทีมไม่ ต้องมาก เนื่องจากเรามีคนน้ อย งานประจามีมาก เอา
คนทางานจริง...ต้ องเข้ าใจบทบาทว่ า...ทีมนีว้ างแผนและประสาน
เท่ านัน้ ไม่ ได้ เป็ นผู้ปฏิบัติ
นโยบาย
คณะทางานทีมคร่ อม 3-5 คน
(RM/HRD/PCT/IC/ฯลฯ)
ประชุม
ตัวแทนของหน่ วยงานต่ าง ๆ ที่รับผิดชอบเรื่ องนีแ้ ล้ วให้
ตัวแทนมาประสานต่ อที่หน่ วยงาน
ตัวอย่างในมาตรฐาน HRD (ตอนที่ I-5)
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ความพอเพียง
การประเมินสมรรถนะ
การประเมินผลการปฏิบตั ิ งาน
สุขภาพบุคลาการ
การได้รบั วัคซีน
ประวัติบคุ ลากร
คุณสมบัติไม่ตรงตามตาแหน่ ง
การพัฒนาทรัพยากร
ความเสี่ยงจากการทางาน
ทุกหน่ วยงานมีหมด
ในประเด็นดังกล่าว
5.จัดรูปแบบการประชุมต้องที่ใช้เวลาน้ อยและไม่บอ่ ย
• คณะทางานทีมคร่อมจะต้องมีการวางแผนระบบการทางานล่วงหน้ า(Road
map)
• การประชุมนาเฉพาะประเด็นที่เป็ นปัญหาจริงๆ หรือ มีการสร้างรูปแบบ
การประชุมล่วงหน้ า เช่นการทบทวนการเสียชีวิต ใช้การทบทวนแบบ
C3THER+HP+IC+outcome
• ทีมคร่อมสายงานประชุมกับตัวแทนของหน่ วยงานเพื่อการวางแผนร่วมกัน
ทาให้การประชุม 1 ครัง้ ประชุมทัง้ ระดับทีมคร่อมสายงานและ ระดับ
หน่ วยงาน (จะสะท้อนถึงความประณี ตด้านการมีส่วนร่วมและแนวคิด)
• คนหนึ่ งประชุมเดือนละ 1 ครัง้ ครัง้ ละไม่เกิน 3ชม.
การทบทวนการดูแลผู้ป่วยโดยใช้ C3 THERO + IC + HPH ทีมนาทางคลิ นิก โรงพยาบาลหนองจิ ก
วันที่ ....................................................................................................................................................................................................................................................................
สรุปอาการโดยย่อ ...................................................................................................................................................................................................................................
อาการแรกรับ
หัวใจสาคัญ
1.Care
1.1 Access Entry
 การดูแลอยางเต็
มความสามารถดวย
่
้
ความระมัดระวัง
1.2 Assessment+
Investigation+
Diagnosis
1.3 Plan of Care
1.4 Care of Patient
1.5 Reassessment
1.6 Communication
1.7 Information &
Empowerment
1.8 Continuity of Care
2.Team
 ความรวมมื
อระหวางวิ
่
่ ชาชีพ
3.Human Resource
Development
 ความรู้และทักษะของทีมงานทีเ่ พียงพอ
4.Environment & Equipment
 สิ่ งแวดลอมและเครื
อ
่ งมือทีด
่ แ
ี ละพอเพียง
้
5.Record
 ความสมบูรณของเวชระเบี
ยน
์
6.Outcome
 ทีมรับรูอาการผู
ป
้
้ ่ วยให้การรักษาตามมาตรฐาน/
การดูแลตามมาตรฐาน
 บันทึกครบถ้วน
7.IC
 แนวทางการป้องกันและควบคุมการติดเชือ
้
8.HPH
8.1 การดูแลตนเองและครอบครัว
 การส่งเสริมสุขภาพ
ปัญหา /อุปสรรค/ความเสี่ ยงสาคัญ
แนวทางแกไขหรื
อแนวทางปฏิบต
ั ข
ิ ณะ
้
ดูแลผู้ป่วย
การวางมาตรการป้องกันเชิงระบบ
6.การนาและการวางแผนต้ องชัดเจน ทุกคนมีส่วนร่ วม ง่ าย
1.ต้องกาหนดยุทธศาสตร์ที่ตอบความท้าทายขององค์
ได้ (Challenge) ตาม Community based และ
Hospital based อย่างง่ายตามบริบทขององค์กร
2.กาหนดเข็มมุ่งทุกปี ตามประเด็นปัญหาขององค์กร
อย่าขาด
ลงสู่ระดับผูป้ ฏิบตั ิ ทกุ หน่ วยงาน ด้วยการทา action plan
กาหนดยุทธศาสตร์
SWOT Analysis
ตามบริบทขององค์กร
ไม่ต้องมากแต่ตรงประเด็น
ยุทธศาสตร์ 2 ปี ก็พอ
ยุทธศาสตร์โรงพยาบาลเสร็จ (1-2 วัน)
Action Plan ทุกหน่ วยงาน (1/2 วันเสร็จ) รวบรวมเป็ น
ของโรงพยาบาลจัดทาเป็ น Work Shop
ประเมินทุก 6 เดือน
กาหนดจุดเน้ นใน 1 ปี
ทีมนากาหนดและทา Action Plan ระดับโรงพยาบาล (ครึง่ วัน)
เรียกหน่ วยงานทา Work Shop
Action Plan ระดับหน่ วยงานทุกหน่ วย (ครึง่ วัน)
ประเมินผลทุก 6 เดือน
เข็มมุ่งโรงพยาบาลหนองจิก จ.ปั ตตานี ปี 2554
แผนกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ แผนปฏิบัตกิ ารหลัก และตัวชีว้ ัด
ลาดับ
ที่
1
2
เข็มมุ่ง
ประหยัด
ทรัพยากร
พฤติกรรม
บริ การ
วัตถุประสงค์
เชิงกลยุทธ์
1.กาหนดมาตรการ เพื่อให้ หน่วยงานลด
ควบคุมการใช้ วสั ดุ การใช้ ทรัพยากร และ
และพลังงานใน
สามารถเพิ่มรายได้
องค์กร
ให้ กบั โรงพยาบาล
2. สร้ างความ
ตระหนักและ
กระตุ้นให้ เกิดการ
ประหยัดทรัพยากร
3.ลดรายจ่าย-เพิม่
รายได้
แผนกลยุทธ์
1. แลกเปลีย่ น
เรี ยนรู้กลวิธีการ
บริ การที่ดีของ
หน่วยงาน
2. กิจกรรม OD
การละลาย
พฤติกรรมในงาน
บริ การ
เพื่อให้ เกิดการ
แลกเปลีย่ นเรี ยนรู้
เกี่ยวกับพฤติกรรมที่
ดีในการให้ บริ การ
แผนปฏิบัติการหลัก
ตัวชีว้ ัด
งบประมาณ
1. รายงานการใช้ มลู ค่าวัสดุที่ใช้ ในรายไตร
มาส
2. ควบคุมการเบิกจ่ายวัสดุและพลังงาน
3. จัดสือ่ เพื่อการรณรงค์ประหยัดทรัพยากร
ในหน่วยงาน
4.หน่วยงานมีการกาหนดมาตรการการเพิ่ม
รายได้ และลดรายจ่ายใน หน่วยงานจากการ
ปฏิบตั ิงานในหน่วยงาน
-ประหยัดมูลค่าทรัพยากร
ลดลงจากปี ที่ผา่ นมา 5%
-เพิ่มรายได้ จากการ
ปฏิบตั ิงานมากกว่า 2 %
-
1. หน่วยบริ การทุกหน่วยงานทบทวนหา
จุดอ่อน จุดแข็ง ในพฤติกรรมบริ การ
2. การทบทวนข้ อเสนอแนะ ข้ อร้ องเรี ยนใน
หน่วยบริ การ
3. การวัดความพึงพอใจของผู้รับบริ การ เพื่อ
หาส่วนขาดในการพัฒนา
1. อัตราความพึงพอใจ
ของผู้รับบริ การมากกว่า
85%
2. อัตราข้ อร้ องเรี ยน ด้ าน
พฤติกรรมบริ การ ไม่เกิน
5 คน/ผู้รับบริ การ 1 แสน
คน
-
หน่ วยงานที่
รับผิดชอบ
ทีมนา
คุณภาพ
ทีมนา
คุณภาพ
จุดเน้ นปี 2554 หน่ วยงาน.....อุบัตเิ หตุ – ฉุกเฉิน......โรงพยาบาลหนองจิก จ.ปั ตตานี
แผนกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ แผนปฏิบัตกิ ารหลัก และตัวชีว้ ัด
ลาดับ
ที่
วัตถุประสงค์
เชิงกลยุทธ์
จุดเน้ น
แผนกลยุทธ์
1
ลดค่าใช้ จา่ ย
การทาแผล
ต่อเนื่องใน
กลุม่ ผู้ป่วย
การเชื่อมโยงระบบ
การสื่อสารข้ อมูล
การดูแลบาดแผล
เมื่อกลับบ้ านเพื่อ
ป้องกันการกลับมา
ทาแผลซ ้าในหนึ่ง
วันและลด
ภาวะแทรกซ้ อน
เพื่อลดค่าใช้ จา่ ย
ที่เกิดจากการทา
แผลซ ้าในหนึ่งวัน
และลดภาวะ
แทรกซ้ อนของ
แผล
พัฒนาระบบ การวางแผนการจาหน่าย
ผู้รับบริการทาแผล สูก่ ารดูแลแผลต่อเนื่องที่
บ้ าน และเน้ นการดูแลบาดแผลไม่ให้ เกิดแผล
ติดเชื ้อ
ค่าใช้ จา่ ย ที่เกิดจาการกลับมา
ทาแผลซ ้า อันเกิดจากเหตุที่
สามารถป้องกันได้ < ๕ %
2
พฤติกรรม
บริการการ
ดูแลผู้ป่วย
วิกฤติ
1.การสร้าง
เพื่อให้เกิด
สัมพันธภาพ
และการ
สื่ อสารที่ดี
ระหว่างผูใ้ ห้
และ
ผูร้ ับบริ การ
1.จัดทาแนวทางการบริการผู้ป่วยในภาวะ
วิกฤติ
2.การให้ หลักศาสนาความเชื่อและความ
ศรัทธาในผู้ป่วยและญาติ
3.การให้ กาลังใจญาติ ในกรณีเกิดการสูญเสีย
4.การจัดการศพที่สอดคล้ องกับวิถีชมุ ชน
1. อัตราความพึงพอใจของ
ผู้รับบริการ > 80%
2.อัตราข้ อร้ องเรียนด้ าน
พฤติกรรมไม่เกิน 5 คนต่อแสน
ประชากร
สัมพันธภาพ
ที่ดีต้งั แต่แรก
รับถึงจาหน่าย
2.แลกเปลี่ยน
เรี ยนรู้เรื่ อง
การสื่ อสารที่
ดีระหว่างผู้
ให้บริ การและ
ผูร้ ับบริ การ
แผนปฏิบัติการหลัก
ตัวชีว้ ัด
งบประมา
ณ
หน่ วยงานที่
รับผิดชอบ
ระดับที่
ปฏิบัติได้
ทีมการพยาบาล
0.57%
83.75%
0%
7.สร้างหัวใจของทีมคร่อมสายงานให้เข็มแข็ง
• กระตุ้นทีมคร่อมสายงานเรียนรู้มาตรฐาน
ทุกอย่างอย่างแท้จริง
• สร้างทีมคร่อมสายงานให้มีจิตใจที่เข้มแข็ง ไม่ขอลาออก.......
• ทีมคร่อมสายงานต้องมี Road map ทุกปี
• ทีมคร่อมสายงานทางานร่วมกับหน่ วยงาน เป็ นพีเ้ ลีย้ งตลอด
กาล
8.ให้หน่ วยงานจัดทา CQI รูปแบบใดก็ได้
ให้ทุกหน่ วยงานจัดทา
อย่างน้ อย 2 เรือ่ ง/ปี
ส่งผลงานในเวทีต่างๆเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ทัง้ ภายในและนอกองค์กร
9.ทุกเรือ่ งต้องสอนให้เข้าใจทุกระดับแล้วค่อยทาจะได้ไม่
ต้องทาใหม่ และแก้เอกสาร ทาให้เกิดการทางานหลายรอบ
ต้องสอนให้เจ้าหน้ าที่เข้าใจ...แล้วทา...
สอนแบบ Work Shop ทาเลย ตรวจเลย
ห้ามเอาจากที่อื่นแล้วมาให้เจ้าหน้ าที่ดเู ป็ นตัวอย่างหรือ Copy
สุดท้าย...ทราบหรือไม่ทีมนาจะได้อะไร ?
10.ถอดบทเรียนของมาตรฐานตามบริบททุกมาตรฐาน
ถอดบทเรียน ตามบริบทของโรงพยาบาลแต่ได้มาตรฐาน รพ.มี
เป้ าหมายคืออะไร แล้ว โรงพยาบาลสามารถทาอะไรได้บา้ ง
ต้องรู้จกั เจ้าหน้ าที่ของเรา ว่าเขาสามารถรับรูข้ นาดไหน วิธีไหน ต้อง
แบ่งว่ากลุ่มไหนต้องเรียนรู้อะไร
พยายามทาเรื่องยาก...ทาเป็ นเรือ่ งให้ง่าย...เจ้าหน้ าที่จึงจะไม่ “เครียด”
อะไรมีมากเกินไปแล้วไม่มีประโยชน์ ก็ทาให้มนั น้ อยหรือสัน้ ลง
ให้เขาสามารถไปใช้ได้เลยในบางกรณี
ถอดบทเรียนของมาตรฐานต่าง ๆ (HA)
(1) ชุมชนสามารถเข้าถึงบริการต่างๆ ทีเ่ หมาะสมกับความต้องการของตน.
ทีมผูใ้ ห้บริการพยายามลดอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการ ในด้านกายภาพ
ภาษา วัฒนธรรม และอุปสรรคอื่นๆ. ทีมผูใ้ ห้บริการตอบสนองต่อ
ผูร้ บั บริการอย่างรวดเร็ว. ระยะเวลารอคอยเพือ่ เข้ารับบริการเป็ นทีย่ อมรับ
ของชุมชนทีใ่ ช้บริการ. ถอดบทเรียนง่ายๆ
หน่ วยงาน
วิเคราะห์ ผ้ปู ่ วยที่ไม่ สามารถเข้ าถึงบริการ
สาเหตุ
จะทาอย่ างไร
ER
OPD
ปจั จุบนั ถอดบทเรียนว่าทีมต่างๆ ( HRD/PCT/RM/ทีมนา เป็ นต้น) ทาเป็ น รูปแบบทีง่ า่ ย และหน่วยงาน
สามารถใช้ได้ทนั ที และสามารเข้าถึงมาตรฐานได้ทนั ทีเ่ ท่าๆกับทีมคร่อมสายงาน
. จัดให้มีบริ การครอบคลุมผูป
้ ่ วยที่มีปัญหาเฉี ยบพลัน ฉุกเฉิ น ปัญหาเรือ้ รัง และการส่งเสริ มสุขภาพ ป้ องกันโรค
(Availability of care)หน่ วยบริ การปฐมภูมิจดั บริ การด้านสุขภาพที่จาเป็ น ได้ครอบคลุมปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในชุมชนทัง้ ที่
เป็ นปัญหาฉุกเฉิ น เฉี ยบพลัน ปัญหาทั ่วไป และปัญหาเรือ้ รัง บริ การด้านการส่งเสริ มสุขภาพ การป้ องกันโรค โดยใช้ข้อมูล
เกี่ยวกับพฤติ กรรมสุขภาพ สภาพแวดล้อม ภาวะสุขภาพ และโรคของคนในชุมชน ประกอบการวางแผน และ เตรียมบุคลากรให้
มีความรู้ความสามารถ มีเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่เพียงพอในการจัดบริ การทัง้ ในเชิ งรุกและเชิ งตัง้ รับได้อย่างสอดคล้อง
ตอบ 1. โรคฉุกเฉิ น เฉี ยบพลัน (ต้องสอดคล้องกับ รพ.สต. Profile)
(PCA หมวด 6)
โรคฉุกเฉิ น
เฉี ยบพลัน
พฤติ กรรมที่เป็ น
การเตรียม
ปัญหา/สภาพแวดล้อม อุปกรณ์
การเตรียม
บุคลากร
ส่งเสริมสุขภาพ การ
ป้ องกันโรคในรพ.
สต.(ตัง้ รับ)
ส่งเสริม
สุขภาพ การป้ องกันโรค
(ทางานเชิ งรุกในพืน้ ที่)
1.หอบ
-การสูบบุหรี่
-ฝุน่ ละอองจากถนน
-ทีพ่ กั อาศัยอยู่ใกล้โรงสี
ข้าว
-ใกล้โรงงานยาง
1.ความรูใ้ นเรื่อง
การประเมินสภาพ
ผูป้ ว่ ย
2.วิธกี ารพ่นยา
3.มีแนวทางปฏิบตั ิ
1.การสอนวิธกี ารพ่นที่
ถูกต้อง , พ่นครัง้ ที่
เท่าไหร่จงึ ต้องไป รพ.
-การรณรงค์เรื่องบุหรี่
โดยการใช้หลักศาสนา
หรือการอดบุหรีใ่ นเดือน
รอมฎอน
1.จัดการสิง่ แวดล้อมใน
-จานวนผูป้ ว่ ยทีอ่ าการหอบ
พืน้ ทีโ่ ดยอาศัยผูน้ าชุมชน เข้ารับบริการน้อยลง 5%
ในการปรับสภาพของถนน เทียบกับปี 2553
และจัดระเบียบโรงสีขา้ วให้
สีขา้ วเวลาทีป่ ระชาชนไม่อยู่
ในหมู่บา้ น
1.เครื่องพ่น
2.Set พ่น
3.ยาขยาย
หลอดลม
4.เตียง Fowler
ผลลัพธ์
11.ทุกอย่างต้องสัน้ และเข้าใจ มาใช้จริงๆ
•One page summary
Hospital Profile โรงพยาบาลหนองจิก ปี 2554
บริ บท
ความต้องการของผูร้ บั ผลงาน
ริการตามสิทธิประโยชน์ (4 กลุ่ม)
ป่วย (HT/DM/COPD/HIV/ผูส้ งู อายุ/ผูไ้ ด้รบั ผลกระทบ/ยาเสพติด)
นได้ส่วนเสีย (สป.สช/สสจ./รพ.สต./อปท./รร./กลุ่มชุมชนต่าง ๆ)
แพทยสภา
- สภาการพยาบาล- เภสัจุชดสภา
- สภาเทคนิ
เน้นขององค์
กร คการแพทย์
1.การประหยัดทรัพยากร
2.พฤติกรรมบริ การ
ยุทธศาสตร์ปี 2554 – 2555
ยขององค์กร :
นปญั หาสาคัญในพืน้ ที่ MI/HI/COPD/HT/DM/TB/AIDS/ Bronchitis/
DHF/PPH/LBW/จิตเภท/ Anemia/ฟนั ผุ
นโอกาสพัฒนา หรือมีขอ้ จากัดในการให้บริการ
S/COPD/AIDS
ณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
รส่งต่อ (Refer in – Refer out)
โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ก้าวไกลบริการ ผสานวิถีชมุ ชน
พ.สต.ให้ได้ PCA
ายมีส่วนร่วม
รขาดสภาพคล่
องทางการเงิน ปญั หาน้าท่วม
แลรักษาผูป้ ว่ ยในระดับปฐมภูมิ และทุตยิ ภูมริ ะดับต้น บูรณาการ
เปลีย่ นพฤติกรรมของประชาชน
สริมสุขภาพตามวิถชี มุ ชน ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม ส่งเสริม
ะบาดของโรคทีป่ ้ องกันได้โดยวัคซีน
ยนรูร้ ะบบการดูแลสุขภาพเพื่อการบริ การอย่างยัง่ ยืน
สงค์ :
บริ การ: ผูร้ ับบริ การปลอดภัยและพึงพอใจ
ริ การ: บุคลากรให้บริ การตามมาตรฐานวิชาชีพ
การเรี ยนรู ้เพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
ร: โรงพยาบาลเป็ นที่ยอมรับของประชาชน
:ประชาชนมีส่วนร่ วมในการดูแลสุ ขภาพตามวิถี
โรค/หัตถการสาคัญ
ดยภาคี
เครื อข่ายอย่
างยัCoronary
ง่ ยืน Syndrome - COPD y - Bronchitis
- Acute
a
- แพทยสภา
ข้อกาหนดทางวิชาชีพ
- นโยบายของกระทรวง, จังหวัด - ทันต
- Dental Caries - Dengue Hemorrhagic Fever - DM - จิต
rculosis - ยาเสพติด
- Low Birth Weight
-
1. เสริ มสร้างระบบในการดูแลผูป
้ ่ วยโรคเรื้ อรังและโรคระบาดที่สอดคล้องกับวิถีชุมชน
ระดับเครื อข่าย
2. เสริ มสร้างระบบแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ในองค์กร
3. พัฒนาระบบการประเมินและตอบสนองความพึงพอใจของผูร้ ับบริ การให้มี
ประสิ ทธิ ภาพ
ตัวชีว้ ดั ระดับดโรงพยาบาล
4. พัฒนาระบบการประเมินผลและการจั
การความเสีปี่ ย2554
ง
1.อั
ตราการตายรวม
ตราการติ
ดเชือ้ ในโรงพยาบาล บตั ิตนในเรื่ องการดูแลสุขภาพ
5. เสริ
มสร้างความรู ้และทั2.อั
ศนคติ
ของประชาชนในการปฏิ
3.อั
ตราการกลั
บมารั
กษาซ้าภายใน 48 ชม. (Re-Visit)
ตนเองเพื
่อป้ องกั
นโรค
4.อัตราการกลับมารักษาซ้าด้วยโรคเดิมภายใน 28 วัน ( Readmission)
6. สร้างกระแสการสร้างสุขภาพโดยวิถีชุมชน
5.อัตราการเกิด Medication Error
5.1 ผูป้ ่วยนอก Prescribing error, Pre-dispensing error, Dispensing error
5.2 ผูป้ ่วยใน Prescribing error, Pre-dispensing error, Dispensing error, Preadministration error, Administration error
6.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการคลอด PPH, BA ต่อพันการเกิด
7.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนผูป้ ่วยเบาหวาน Nephropathy, Neuropathy
8.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนผูป้ ่วยความดันโลหิตสูง CHF, IHD, Renal Failure, Stroke
9.อัตราความพึงพอใจของผูป้ ่วยนอก
10.อัตราความพึงพอใจของผูป้ ่วยใน
11.อัตราความพึงพอใจของบุคลากรในโรงพยาบาล
12.อัตราเจ้าหน้าทีผ่ า่ นเกณฑ์ท่กี าหนด KPI, Competency
13.อัตราหน่วยงานมี CQI ปี ละ 2 เรื่อง
14.อัตราเกิดอุบตั กิ ารณ์ความเสีย่ งระดับ E-I จากการให้บริการของเจ้าหน้าที่
15.องค์กรมีการรับรองมาตรฐานต่าง ๆ จากหน่วยงานภายนอก
16.อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง (Quick ratio)
17.อัตราผูป้ ่วยรายใหม่ป่วยด้วยโรคเรือ้ รัง (DM / HT)
18.อัตราป่วยด้วยโรค DHF
19.ประชาชนมีการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมด้านการบริโภคทีถ่ ูกต้องเหมาะสม
20.ประชาชนมีการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
กระบวนการจัดการและค
เชี่ยวชาญขององค์กร
1. คุณภาพสอดคล้องวิถีชุมชน
ทางานเชิงรุ ก
3. การทางานแบบเครื อข่าย 4.
มสร้างพลัง
ตัวชี้วดั ยุทเสริ
ธศาสตร์
Core Value
1. ลูกค้าสาคัญ
2. ทางานประจาได้ดี
3. ทางานแบบยืดหยุ่น 4. ทางานเป็ นทีม
5. เสริมพลังชุมชน
1. อัตราผูป้ ่วย (DM / HT / กลุม่ โรคหัวใจ / ASTHMA / COPD)รายใหม่ ไม่เกิน 10%
2. อัตราผูป้ ่วยโรคเรือ้ รัง(DM / HT / กลุม่ โรคหัวใจ / ASTHMA / COPD)เกิดภาวะแทรกซ้อน ไม่เกิน 5
3. อัตราการ Re-Admitted ในกลุม่ ผูป้ ่วย (DM / HT / กลุม่ โรคหัวใจ / ASTHMA / COPD) ไม่เกิน 2%
4.ผูป้ ่วยวัณโรครายใหม่เสมหะบวกเปลีย่ นเป็ นลบเมือ่ สิน้ สุดการรักษาระยะเข้มข้นร้อยละ 87
5. อัตราการเกิดผูป้ ่วยรายใหม่(DM / HT / กลุม่ โรคหัวใจ / ASTHMA / COPD) ไม่เกิน 10%
6.ประชาชนในชุมชนได้รบั การค้นหารายป่วยใหม่เสมหะพบเชือ้ วัณโรคร้อยละ 70
7.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน
8.ผูป้ ่วยวัณโรคขาดยาไม่เกินร้อยละ 3
9.ผูป้ ่วยวัณโร
รักษาสาเร็จร้อยละ 87
10.ความครอบคลุมการได้รบั วัคซีนมากกว่าร้อยละ 90 11. หน่วยงานมี CQI อย่างน้อย 2 เรือ่ ง / ป
12. มีเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรูอ้ ย่างน้อย 1 ครัง้ / 2 เดือน
13. มีการนาความรูจ้ ากคลังความรูไ้ ปใช้ต่อ
14. ผูร้ บั บริการพึงพอใจ ≥ 80%
15. ตอบสนอ
ต้องการ ≥ 50%
16. RM ระดับ E-I ลดลง 10%
17. RM Near
ลดลง 10%
18. ความเสีย่ ง E-I ได้รบั การจัดการ >80%
19.อัตราประชาชนสูบบุหรีล่ ดลง 5 %
20. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ 5 อันดับแรกลดลง0 5%
21.อัตราประชาชนออกกาลังกายเพิม่ ขึน้
22. จัดทาสื่อแบบบูรณาการอย่างน้อย 5 เรื่อง/ปี 23.ประชาสัมพันธ์ส่ชู มุ ชนเดือนละ 2 ค
24.อัตราประชาชนกินอาหารหวาน มัน เค็ม ลดลง 5 %
ผลงานเด่น / CQI ปี 2554
1. ห้องฟั นใกล้บา้ นชาวหนองจิก
2. สถาบันศึกษาปอเนาะต้นแบบบ
บาบัด
3. เสถียรภาพและความมัน
4. คุณคิดอย่างไร? ถ้ายากลายเป็ นยาพ
่ คงทางไฟฟ้ า
5. เข้าใจบริ บท เข้าถึงมาตรฐานคุณภาพยัง่ ยืน 6. IT AND DSI
7. หมดนัดตรวจฟั นทุก 6 เดือนนะครับ
8. เสถียรภาพและความมัน
่ คงทางไฟฟ
9. ดูแลด้วยใจ ห่ วงใยทันตสุ ขภาพ
10.การปรับยาในผูป
้ ่ วยโรคเก๊าต์
11.การปรับยาในผูป
้ ่ วยโรคเบาหวานในเดือนรอมฎอน
12.ตามรอยข
13. การศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์
14.การเยียวยาผูไ้ ด้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
One Page Summary Tracer : Dengue Hemorrhagic Fever ปี 2554
Care Process : Hypertension
Entry + assessment
Prevention
Monitor
CQI
Research/KPI
ผลลัพธ์
***รพ.สต.คัดกรอง +
ผูป้ ่ วยมาด้วยตนเอง
 ประเมินความรุ นแรง /
ระยะของโรค
- ซักประวัติ +
Physical Examination
+ Check V/S +
T.Test + ประเมิน Hct.
- Assess Risk
 Investigate
Planning
Risk
 ประเมินระยะของโรค
 ประเมินระยะของโรค
ไม่ถกู ต้อง
 Dengue Shock
Syndrome (DSS)
ทุกครั้งตาม CPG
 เจาะ CBC + Plt.
 Check V/S ตามระยะ
 แผนการดูแลผูป
้ ่ วย
ของโรค
 Hct. อยูใ่ นเกณฑ์
DHF ตามระยะของโรค
 CPG - DHF
 มาด้วยอาการ /โรคอื่นๆ
แต่จากการซักประวัติ +
ตรวจร่ างกาย สงสัย
หรื อเหมือนกับ DHF
 ประเมินปัญหาเพือ่ วาง
แผนการดูแลผู้ป่วยตาม
ระยะของโรค
 Diets (หลีกเลี่ยงอาหาร
ที่มีสีดา /แดง/น้ าตาล)
Implementation + evaluation  Bed Rest
 Check V/S
 เจาะ CBC + Plt.
 Serial Hct
 งดแปรงฟั น (Plt.ต่ามาก)
 On IV
(ใช้ Infusion Pump)
 Record I/O
การดูแลผูป้ ่ วยต่อเนื่อง
 ทบทวนความรู ้ในการ
ดูแลตนเองและการ
ป้ องกันการเกิดโรคซ้ า
 Plan D/C if Recovery
from Shock 1-2 วัน
 ไข้ลดภายใน 48
ชัว่ โมง
แรก
 Dengue Shock
Syndrome (DSS)
 Pleural Effusion
 Renal Failure
 Hepatic Failure
 อธิ บายและแจกแผ่นพับ Notify แพทย์เวร
ความรู้เรื่ องโรค ,การ  BP < 90/60 mmHg
 PP < 20 mmHg
ปฏิบตั ิตวั
 PR > 120 bpm
 แนะนาการกาจัดแหล่ง  O2 Sat. < 95%
เพาะพันธุ์ยงุ และ
ประสานฝ่ ายสุ ขาภิบาล
ฯ
เพื่อสอบสวนและ
ป้ องกันการแพร่ ระบาด
ของโรคในชุมชน
 แนะนาให้ระมัดระวัง
อุบตั ิเหตุ อาจจะฟกช้ า
ดาเขียว /เลือดหยุดยาก
(ประมาณ 2 สัปดาห์)
เนื่องจากอยูใ่ นภาวะ
เกร็ดเลือดต่า
กรณีที่ :-
 เหงื่อออก-ตัวเย็น /ซี ด
 กระสับกระส่ าย /Bleed
 Urine Output
≥ 30 ml/kg/hr
 แนวทางการตรวจ
ติดตามผูป้ ่ วยที่สงสัยว่า
ติดเชื้อไวรัสเดงกีที่ OPD
DHF ตามระยะของ
 แผนการดูแลผูป
้ ่ วย
DHF ตามระยะของ
 CPG - DHF
31
12. ต้อง Empowerment ทุกระดับทาให้
คนทางานมีความสุขมากขึ
น้ ไม่ลวงคองูเห่า
PCT
Specialist โรคต่าง ๆ ตาม
โรคที่สาคัญที่ รพ.กาหนด
KPI / Tracer / เครือข่าย
ประสานสหวิชาชีพ
กิจกรรมทบทวนทางคลินิก
12 กิจกรรม
ทบทวนทุกเดือนในระดับหน่ วยงาน
แต่มีสหวิชาชีพเข้าร่วม
ในกรณีบางประเด็นที่ต้องพิจารณา
ในทีม PCT ก็จะเข้ าประชุ ม PCT
ผลการดาเนินงาน /Clinical tracer
Highlight/ SA2011
สรุ ปผลการดาเนินงาน
13. ทีมนาและทีมคร่อมสายงานต้องมี
Roadmapในแต่ละปี ไม่ต้องมากจะได้ไม่เครียด
ทีมนาคุณภาพ และ ทีมคร่อมสายงานต้องมี Roadmap
ของตนเอง ในแต่ละปี
ประกาศในทีมนาคุณภาพ และประกาศในการประชุม
ผูบ้ ริหารพบเจ้าหน้ าที่
ลงสู่ระดับหน่ วยงานทุกหน่ วยงาน
14. กระตุ้นการแลกเปลี่ยนเรียนรูใ้ นองค์กร โดยการใช้
กระบวนการในการทบทวน ไม่ใช้คนในการทบทวน ทา
ให้การทบทวนมีความสุขมากขึน้
• การทบทวนกิจกรรมต่างๆให้มีอย่างสมา่ เสมอ
• ใช้เวลาสัน้ ๆ ด้วยการใช้รปู แบบที่ชดั เจน
• นาประเด็นสาคัญๆเท่านัน้ มาทบทวนในทีมคร่อมสาย
งาน เนื่ องจากมีการทบทวนโดยสหวิชาชีพแล้วใน
ระดับหน่ วยงาน
• บางครัง้ อาจต้องมี แบบฟอร์มเพื่อความรวดเร็ว
16.ประชุมข้ามทีมคร่อมสายงาน
• การพัฒนาคุณภาพระยะแรกโรงพยาบาลพบปัญหาว่า ขาดความ
เชื่อมโยงของทีมคร่อมสายงาน ทาให้ปัญหาที่เกิดขึน้ กับทีมคร่อม
สายงานไม่ได้แก้ปัญหาร่วมกัน หรือการรับรู้ปัญหาและการต่อยอด
ของปัญหา
ฉะนัน้ การประชุมของทีมคร่อมหนึ่ งจะเชิญทีมคร่อมที่เกี่ยวข้อง
ประชุมด้วยทุกครัง้
17. การพัฒนาคุณภาพมีแนวโน้ มที่... สอดคล้องกับ
บริบทของพืน้ ที่(Context)...ใส่ใจวิถีชีวิตและทางาน
ร่วมกับชุมชน
36
นิยมรับประทาน
แกงเหลือง
แกงจืด
37
อีแกซีแง
ข้าวยา
ปลาเค็มตากแห้ง(outcome Mapping)
ถ้ามองเพียงปลาเค็ม เราก็มองเพียงความ
สะอาด ยาฆ่าแมลงแล้วตรวจยาฆ่าแมลง
แล้วรายงานจังหวัด ลองมองลึกกว่านัน้ เรา
เห็นอะไร ประชาชนต้องการอะไร หน้ าที่
ของเรากับประชาชนอย่างไร มันก็จะมาก
ว่า คาว่าสะอาด ยาฆ่าแมลง
38
19. เขียนแบบประเมินตนเองตามบริบทของ
ตนเอง เป็ นปัจจุบนั
• จัดทา เป็ น Work shop
• ตรวจเอกสารทุกชิ้น
เจ้าหน้าที่มีความหมัน่ ใจ และมีวามสุ ขมากขึ้น และทาให้เราเข้าใจจากการ
เขียนแบบประเมินมากขึ้น
20 ทบทวนความสุขของเจ้าหน้ าที่
คืนความสุขให้เจ้าหน้ าที่ “Tripทัวร์ 2 ปี ครัง้ ”
ทริปพังงา
ทริปปาย
ทริปสิงคโปร์
ทริปลาวใต้
ทริปสระบุรี
ผูบ้ ริหารพบเจ้าหน้ าที่/ใส่ใจสุขภาพเชิงลึก
4 เดือน/ครั้ง
สวัสดีคะที
ใ
่
ห
่
้
โอกาส