คู่มือการพัฒนาคุณภาพHA-SPA-SAR2011

Download Report

Transcript คู่มือการพัฒนาคุณภาพHA-SPA-SAR2011

คู่มอื การพัฒนาคุณภาพ HA
SPA
SAR 2011
HA Scoring Guideline 2011
นพ.สุ รชัย ปัญญาพฤทธิ์พงศ์
26/01/2012
1
มาตรฐาน HA
มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุ ขภาพ
ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิ ริราชสมบัติครบ 60 ปี
ประยุกต์ จาก TQA (THAILAND QUALITY AWARD)
2
ตอนที่ I ภาพรวมของการบริหารองค์ กร
ตอนที่ I ภาพรวมของการบริหารองค์กร
การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้
ตอนที่ IV ผลการดาเนินงาน
การวางแผน
กลยุทธ์
การมุง่ เน้ น
ทรัพยากรบุคคล
การมุง่ เน้ นผูป้ ่ วย
และสิทธิผป้ ู ่ วย
การจัดการ
กระบวนการ
การนา
ด้านการดูแลผูป้ ่ วย
ด้านการมุ่งเน้ นผูร้ บั ผลงาน
ผลการ ด้านการเงิ น
ดาเนินงาน ด้านทรัพยากรบุคคล
ด้านระบบและกระบวนการสาคัญ
ด้านการนา
ด้านการสร้างเสริ มสุขภาพ
ตอนที่ II ระบบงานสาคัญของ รพ.
ความเสี่ ยง ความปลอดภัย คุณภาพ
การกากับดูแลวิ ชาชีพ
สิ่ งแวดล้อมในการดูแลผูป้ ่ วย
การป้ องกันการติ ดเชื้อ
ระบบเวชระเบียน
ระบบจัดการด้านยา
การตรวจทดสอบ
การเฝ้ าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การทางานกับชุมชน
กระบวนการดูแลผูป้ ่ วย
ตอนที่ III
กระบวนการดูแลผูป้ ่ วย
การเข้าถึงและเข้ารับบริ การ
การประเมิ นผูป้ ่ วย
การวางแผน
การดูแลผูป้ ่ วย
การให้ข้อมูลและเสริ มพลัง
การดูแลต่อเนื่ อง
3
เป้ าหมายของการใช้ มาตรฐาน
เพือ่ เป็ นแนวทางในการออกแบบระบบงานที่
เหมาะสม และใช้ ประเมินเพือ่ หาโอกาสพัฒนา
4
SPA
นามาตรฐาน HA (Standard) มาถ่ ายทอดโดย
ยกตัวอย่ างรู ปธรรมการปฏิบัต(ิ Practice) และให้
โรงพยาบาลประเมินผลการปฏิบัติ(Assessment)
5
Assessment
ผลการประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐาน และการ
เรียนรู้ หรือบทเรียน(Learning) ทีเ่ กิดขึน้ ขององค์กร
ทีม และหน่ วยงานต่ างๆ
6
7
Learning
 Evaluation
 Improvement
 Innovation
 Integration
 Outcome
SAR 2011
 ขยาย Assessment เป็ นหัวข้ อและตั้งคาถามให้ ตอบเป็ น
รู ปธรรมได้ ง่ายขึน้
 เพือ
่ ให้ ตอบมาตรฐาน HA (SPA) ได้ กระชับและตรง
ประเด็น
8
9
SPA I
 มาตรฐานการบริการ
 ใช้ มาตรฐาน TQA
10
SPA II, III
 ระบุรายละเอียด
การจัดกระบวนการของ
โรงพยาบาล
 ใช้ มาตรฐานวิชาชี พ มาตรฐานทางกฎหมาย
แนวทางปฏิบัติ Best Practice
10
11
การตอบแบบประเมินตนเอง
SPA I, SPA II, SPA III
ใช้ แนวทาง ADLI
11
ADLI
A = Approach
= ออกแบบระบบการทางาน (พัฒนา)
D = Deploy
= การนาระบบไปปฏิบัติ (ทัว่ ถึง ทุกที่ ทุกเวลา)
L = Learning
= การเรียนรู้ จากการปฏิบัตติ ามระบบ
I = Integrate
= บูรณาการการเรียนรู้
12
13
การตอบแบบประเมินตนเอง
SPA I, SPA II, SPA III
ตอบ Learning
13
14
การตอบแบบประเมินตนเอง
SPA Іv
ตอบ LeTCI
14
LeTCI
Le = Level
= ผลลัพธ์ (ผลงานที่ผ่านมา)
T = Trend
= แนวโน้ ม(ผลงานที่คาดการณ์ ในอนาคต)
C = Comparison
= เปรียบเทียบผลลัพธ์ กบั องค์ กรอืน่
I = Integration
= ผลลัพธ์ บรรลุเป้าประสงค์ ขององค์ กร
15
16
การตอบแบบประเมินตนเอง
SPA Іv
ตอบ
- Level
- วิเคราะห์ ผลลัพธ์ ที่ผ่านมา
- Trend
16
17
SPA (กระดาษคาถาม)
SAR 2011 (กระดาษคาตอบ)
HA Scoring 2011 (เกณฑ์ให้ คะแนน)
17
ระดับของเอกสารการประเมินตนเอง
Option: Detailed Scorebook
Hospital Profile 2008 & ผลลัพธ์ (IV)
มาตรฐานโรงพยาบาลตอนที่ I-III
ระดับโรงพยาบาล
มาตรฐานส่วนที่เกี่ยวข้อง
CLT Profile
Clinical Tracer /
Highlight
ทีมนาทางคลิ นิก
ทีมนาในระบบงานสาคัญ
Service Profile
หอผูป้ ่ วย
หน่ วยงานอื่นๆ
Service Profile
การจัดทาแบบประเมิน
 เป็ นเรื่องเกีย
่ วกับอะไร หรือได้ ดาเนินการพัฒนา
อะไร
 ระบบงานที่ได้ พฒ
ั นาขึน้ หรือทีป่ ฏิบัติเป็ น
มาตรฐานนั้นมีลกั ษณะสาคัญอย่ างไร
 ผลการดูแลผู้ป่วยทีเ่ กีย
่ วกับเรื่องทีน่ าเสนอเป็ น
อย่ างไร
การจัดทาแบบประเมิน
การนาเสนออาจจะนาเสนอเปรียบเทียบให้ เห็น
แนวโน้ มและความแตกต่ าง หรือนาเสนอ
สถานการณ์ ในปัจจุบัน หรือนาเสนอในลักษณะการ
ประเมินเชิงคุณภาพก็ได้ และควรพยายามเขียน
รายงานแต่ ละประเด็นให้ ส้ั น กระชับ โดยเริ่ มต้ น
จากัดไว้ ที่ 3 บรรทัดก่ อน ถ้ าเห็นว่ ายังมีข้อมูล
สาคัญที่ควรนาเสนอก็สามารถเพิม่ เติมได้
ประเมินตนเอง 3 ประเด็น 3 บรรทัด
ทาอะไร
• รพ.ได้ปรับปรุงการดูแลผูป้ ่ วยจิตเวชที่เสี่ยงต่อการฆ่า
ตัวตายใน รพ. ด้วยการเฝ้ าระวังผูป้ ่ วยที่มีอาการทางจิต
เช่น ประสาทหลอน เพิ่มจากที่เคยมุ่งเน้นเฉพาะผูป้ ่ วย
ที่มีอาการซึมเศร้า ทาให้จานวนผูป้ ่ วยที่ลงมือฆ่าตัว
ตายลดลงจากปี ละ 10 รายเหลือ 0-1 ราย
ทาอย่างไร
ผลเป็ นอย่างไร
21
ความคาดหวังต่ อการเขียนแบบประเมิน
การเขียนแบบประเมินตนเองควรสะท้ อนให้ เห็นบทเรียน
(lesson learned ) คือ ถ้ า…..จะเกิดอะไรขึน้
ซึ่งบทเรียนจะอธิบายเหตุการณ์ และเงือ่ นไขทีเ่ กิดขึน้
และคาอธิบายจะต้ องมีคุณค่ าในการนาไปปฏิบัติ คาอธิบาย
ทีช่ ัดเจนจะต้ องมีตัวชี้วดั ทีด่ ี ทีส่ ะท้ อนว่ าเกิดอะไรขึน้
และเกิดการเรียนรู้ อะไร บทเรียนจะต้ องระบุว่า อะไรใหม่
(what ) หรือ อะไรคือข้ อมูลใหม่ (อาจจะ +,ลบ)
22
แนวทางการเตรียมการให้ ได้ ข้อมูลในการเขียนแบบ
ประเมินตนเอง
 การเปลีย
่ นแปลงอะไรเกิดขึน้ หากไม่ มอี ะไร
เปลีย่ นแปลงไม่ ควรแสวงหาคาตอบว่ าได้ บทเรียน
อะไร
 หากมีผลสื บเนื่องทีเ่ กิดจากการเปลีย
่ นแปลง
คล้ ายๆกัน ต้ องพยายามตอบให้ ได้ ว่า อะไรสาคัญ
ทีส่ ุ ด และ ทาไมจึงสาคัญ
แนวทางการเตรียมการให้ ได้ ข้อมูลในการเขียน
แบบประเมินตนเอง
 บทเรียนมิใช่
ความแตกต่ างทีเ่ กิดขึน้ ระหว่ างสิ่ งที่
คาดหมายกับสิ่ งทีเ่ กิดขึน้ จริง เพราะสิ่ งนั้นคือ
สมมุตฐิ าน แต่ หากมีสิ่งทีไ่ ม่ ได้ ตามคาดหมายที่
เกิดขึน้ แสดงว่ า มีอะไรทาให้ เกิดความแตกต่ าง และ
อะไร ทีไ่ ปทาให้ เกิดความแตกต่ างนั้นก่ อให้ เกิดผล
ต่ อพฤติกรรมอย่ างไร สิ่ งนั้นคือ บทเรียน
คาถามที่ใช้ ในการวิเคราะห์ หลังการพัฒนา/การทางาน เพือ่ ให้ ได้ ผลลัพธ์ /
ข้ อมูลมาใช้ ในการเขียนสรุปแบบประเมินตนเอง
 เราวางแผนกันอย่ างไร อะไรคือจุดหมายของการ
ปฏิบัติการ
 เมือ
่ เราดาเนินการกิจกรรมไปได้ ระยะหนึ่งแล้ ว สิ่ ง
ใดเกิดขึน้ สิ่ งใดเกิดขึน้ สิ่ งใดไม่ เป็ นไปตามแผนที่
วางแผนไว้ / ทาไมถึงเป็ นเช่ นนั้น
 สิ่ งใดเป็ นไปตามทีว
่ างแผนไว้ /ทาไมถึงเป็ นเช่ นนั้น