การถอดบทเรียน

Download Report

Transcript การถอดบทเรียน

การถอดบทเรียน: เครือ่ งมือเพือ่ การ
เรียนรูในการท
างานของทีมเฝ้าระวัง
้
สอบสวนเคลือ
่ นทีเ่ ร็ว(SRRT)
ประภาพรรณ อุนอบ
่
คณะสั งคมศาสตรและมนุ
ษยศาสตร ์
มหาวิทยาลัยมหิดล
์
เอกสารประกอบการประชุมถอดบทเรียนและแลกเปลีย
่ น
เรียนรูการสอบสวนการป
้
้ องกันควบคุมโรคติดตอ
่
วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕
ณ วังยาวรีสอรท
์ จังหวัดนครนายก
ประเด็นการพูดคุย
1
การถอดบทเรียนและสั งเคราะหองค
ความรู
ค
้
์
์
2
มีวธ
ิ ก
ี ารอะไรบางที
ใ่ ช้ในการถอด
้
บทเรียน ?
กระบวนการถอดบทเรียน มีกข
ี่ น
้ั ตอน ?
3
4
ตัวละครทีส
่ าคัญในการถอดบทเรียนมีใครบา้
การเปลีย
่ นแปลงพฤติกรรม
การเปลีย
่ นแปลงวิธค
ี ด
ิ
การเปลีย
่ นแปลงระบบคุณคา่
เป้าหมาย
ของ
โครงการ
พัฒนา
(การป้องกัน
ควบคุม
โรคติดตอ)
่
การเรียนรู้
(Learning)
“การศึ กษาเพือ
่ หาหนทางสาหรับปรับปรุง
เปลีย
่ นแปลง และพัฒนาตอไปข
้างหน้า
่
เรือ
่ ยๆ ไมมี
ี่ ้ิ นสุด และเป็ น
่ ทส
กระบวนการค้นหาไปสู่อนาคตทีพ
่ งึ
ปรารถนา โดยการทบทวนตนเองและภูม ิ
ปัญญาในอดีต (การทางานให้ดีขน
ึ้
เรือ
่ ยๆ) ”
การรับรู้
(Reception)
ความเขาใจ
้
(Comprehension)
ระดับการเรียนรู้
การปรับเปลีย
่ น
พฤติกรรม
(Transformation)
Kotlor, (1982)
cognitive
change
action
change
behavior
change
ระดับของการ
เปลีย
่ นแปลง
ทางสั งคม
value
change
(พฤติกรรมของคน
ในสั งคม)
ข้อมูล/
ประสบการ
ณ์
คาถาม
ในการ
ทางาน
การ
สะท้อนผล
กลับจาก
การใช้
ข้อมูลและ
การปฏิบต
ั ิ
การ
เรียน
รู้
การเรียนรู้
กระบวนการ (process)
• วิธก
ี ารทางานให้ดีขน
ึ้ เรือ
่ ยๆ
ผลลัพธ ์ (outcome)
• ผู้ทีเ่ กีย
่ วของมี
างๆ
การเปลีย
่ นแปลงดานต
่
้
้
ในทางทีด
่ ข
ี น
ึ้
เครือ
่ งมือเพือ
่ สรางการเรี
ยนรู้
้
ในแผนงาน/โครงการพัฒนา/
โครงการวิจย
ั
กระบวนการถอด
บทเรียน
(Lesson-Learned)
“ A Lesson is not learned unless
something changed”
บทเรียน
คือ
???
“บทสรุป (ความรู)้ ทีเ่ ป็ นรูปธรรมทีไ่ ด้
จากกระบวนการทางาน ซึ่งบทสรุป
ดังกลาว
คือ การอธิบายผลการทางาน
่
ตามเป้าหมายทีก
่ าหนดไว้ และปัจจัย
เงือ
่ นไขทีส
่ าคัญทีท
่ าให้เกิดผลเช่นนั้น”
ข้อค้นพบใหม่ (ความรู)้ ทีไ่ ดจากกระบวนการท
างาน
้
ซึง่ ขอค
้ ้นพบใหมนี
่ ้ คือ การอธิบายผลการทางานที่
เกิดขึน
้ โดยไมได
ง้ ทีพ
่ งึ ประสงค ์ และไม่
่ คาดหมายทั
้
พึงประสงค ์ แตเป็
างานให้ดีขน
ึ้
่ นประโยชนต
์ อการท
่
กวาเดิ
่ นไขทีท
่ าให้สิ่ งนั้นเกิดขึน
้ ”
่ ม และปัจจัยเงือ
สรุปบทเรียน
(Lesson
Learned) คือ???
“ความรู้ทีเ่ ป็ นข้อค้นพบใหม่ หรือ
บทสรุป ทีไ่ ดเรี
้ ยนรูจากประสบการณ
้
์
กระบวนการท
างาน”
1. บทเรียนจะอธิบายเหตุการณและเงือ
่ นไขที่
์
เกิดขึน
้
2. บทเรียนจะมิใช่เพียงการเลาเรื
่ งในอดีต
่ อ
แตต
คาอธิบายทีม
่ ค
ี ุณคาที
่ ะนาไป
่ องมี
้
่ จ
ปฏิบต
ั ต
ิ อ
่
3. บทเรียนจะช่วยไมให
่ ้กระทาผิดซา้
4. “เกิดการเรียนรู้”
ขยายความ
บทเรียนจากการท
างาน
จะเขียนในลักษณะอธิบายผลทีเ่ กิดขึน
้
บทเรี
ยน
และสาเหตุหรือเงือ
่ นไขของผลนั้น (ถ้า... แลว
้ ....) เช่น
ถ้ามีคนหมุนเวียนมาในโครงการบอยๆ
และไมมี
่
่ การทาให้คนใหม่
ตามโครงการทันแลว
้ งานก็จะสะดุดและไมเป็
่ นไปตามแผน
ถ้าแกนนาของจังหวัดชัดเจนในโครงการตัง้ แตต
ว
่ นแล
้
้ โครงการ
จะรุดหน้าไปไดรวดเร็
วมาก
้
การนาภาคีในจังหวัดมาทางานโครงการนี้ จาเป็ นตองให
้
้ภาคีแต่
ละส่วนไดมี
้ ตวั ตน หรือนาเอาศั กยภาพของแตละคนมาใช
่
้ใน
โครงการนี้ดวย
โครงการจึงจะไดรั
ออยางดี
้
้ บความรวมมื
่
่
บทเรียนในลักษณะดังกลาว
ถือเป็ นความรูเชิ
่
้ งกลไกทีเ่ ป็ นแบบแผน
นาไปทดลองใช้หรือไปทดสอบได้
บทเรียนมีลก
ั ษณะเป็ นกลาง ไมใช
่ งดีหรือปัญหา หากแตเป็
่ ่ เรือ
่ นขอ
้
ค้นพบซึง่ เกิดขึน
้ ใหมในงานของเรา
่
การถอดบทเรียน คือ
อะไร?
• วิธก
ี ารจัดการความรูรู
้ ปแบบหนึ่งทีเ่ น้น
เสริมสรางการเรี
ยนรูในกลุ
มที
่
้
้
่ เ่ ป็ นระบบเพือ
สกัดความรูฝั
้ งลึกในตัวคนและองคความรู
้
์
ของท้องถิน
่ ออกมาเป็ นบทเรียนทีส
่ ามารถ
นาไปสรุปและสั งเคราะหเป็
่ อ
์ นชุดความรู้ คูมื
สื่ อรูปแบบตางๆ
โดยผลทีไ่ ดจากการถอด
่
้
บทเรียนนอกจากสื่ อชุดความรูแล
้ ว
้ สิ่ งที่
สาคัญทีส
่ ุดคือ ผู้รวมกระบวนการถอด
่
บทเรียนจะตองเกิ
ดการเรียนรูร้ วมกั
น อัน
้
่
นามาซึง่ การปรับวิธค
ี ด
ิ และวิธก
ี ารทางานที่
การถอดบทเรียนเป็ นการจัดการความรูแบบ
้
หนึ่ง
ดึงความรู้
จากการ
ทาความรู้ ทาความรู้
ทางาน
ทีฝ
่ ังลึกให้ ทีน
่ ่ าจะชัด
ออกมาใช้
เป็ นความรู้ แจ้งให้ชัด
เป็ นทุนใน
ที
ช
่
ด
ั
แจ
ง
แจ
งได
้
้
้
การบริหาร
จัดการ
การจัดการความรู้
มิใช่
การจัดการ “ความรู”้ (Managing
Knowledge)
แต่
เป็ นการจัดการโดย “ใช้ความรู”้
(Management by knowledge)
จริงหรือไม่ ???
• “เมือ
่ เราแขงขั
่ น การแบงปั
่ นจะ
หายไป”
• “เราจะแบงปั
เ่ รารัก”
่ น แกคนที
่
• “เราจะบอกความจริง กับคนทีเ่ รา
ความเชื
อ
่
พื
น
้
ฐานของการ
ใจ”
ไว
้
ถอดบทเรียน
วงจรของโครงการพัฒนา
ระหวาง
่
ดาเนินการ
เป้าหมาย
การใช้ความรู้
กอนด
าเนินการ
่
ผลลัพธ ์
หลังดาเนินการ
**Taken from Learning to Fly by Chris Collison & Geoff Parcell, 2001
เทคนิคการถอดบทเรียนกับวงจร
ของโครงการ
การถอดบทเรียน
หลังปฏิบต
ั ก
ิ าร
เป้าหมาย
ระหวางด
าเนินการ
่
กอนด
าเนินการ
่
ระดมความคิด
จากเพือ
่ นพ้อง
การใช้
ความรู้
ผลลัพธ ์
หลังดาเนินการ
ถอดบทเรียน
หลังการดาเนินงาน
**Taken from Learning to Fly by Chris Collison & Geoff Parcell, 2001
1.การเรียนรูจากเพื
อ
่ น (Peer
้
Assist – PA)
: การเรียนรูจากเพื
อ
่ น (Peer Assist)
้
เป็ นการเรียนรูก
ากิจกรรมหรือ
้ อนท
่
Learning Before Doing โดยคาวา
่
“เพือ
่ น” ในทีน
่ ี้หมายถึง ทีมผู้ช่วยกับ
ทีมปรึกษาภายนอก มาเป็ นเพือ่ นรวม
่
อุดมการณ์
สิ่ งทีเ่ รียนรูในการด
าเนินการในอนาคต
้
อะไรทีเ่ รารวมกั
น
่
สร้าง
อะไรทีท
่ านรู
่
้
ในบริบท
ของทาน
่
อะไรที่
เราทัง้
สองรู้
อะไรทีฉ
่ ันรู้
ในบริบทของ
ฉัน
2. การเรียนรูหลั
ั ก
ิ าร
้ งปฏิบต
(After Action Review)
การเรียนรูหลั
ั ก
ิ าร/การวิเคราะห ์
้ งปฏิบต
หลังปฏิบต
ั ก
ิ าร (After Action Review) หรือ
AAR
“เป็ นการเรียนรูที
้ ระหวางด
าเนินกิจกรรม
้ เ่ กิดขึน
่
ในโครงการ”
“ตีเหล็กเมือ
่ กาลังรอน”
้
การวิเคราะหหลั
ั ก
ิ าร
์ งปฏิบต
คือ???



การจับความรูที
้ สั้ นๆ ภายหลังการทา
้ เ่ กิดขึน
กิจกรรมของทีมทางาน รวมทัง้ ทบทวนและ
สะท้อนบทเรียน เพือ
่ นาไปสู่การวางแผนตอไป
่
เป็ นการให้ขอมู
นระบบ ตอที
้ ลป้อนกลับอยางเป็
่
่ ม
ทางาน ในเรือ
่ งผลการปฏิบต
ั ท
ิ ไี่ ดท
้ าไปแลว
้ ทา
ให้ทีมงานมีความตืน
่ ตัวและมีความรูสึ้ กติดพัน
(involve) อยูกั
่ บงาน
เป็ นการอภิปรายรวมกั
นในหมู่ “นักวิชาชีพ” ตอ
่
่
เหตุการณที
้ โดยเน้นทีผ
่ ลการปฏิบต
ั วิ า่
์ เ่ กิดขึน
เป็ นไปตาม “สิ่ งทีค
่ วรจะเป็ น” อยางไร
ทา
่
AAR ควรมีองคประกอบ
์
อยางไร
่



ผู้อานวยการเรียนรู้ (Facilitators)
น
ทีมงานทุกคนทีไ่ ดท
่
้ ากิจกรรมรวมกั
คาถามหลักเพือ
่ การอภิปราย เพือ
่ นาไปสู่
ขอเสนอที
เ่ ฉพาะเจาะจงและปฏิบต
ั ไิ ด้
้
(SARs)


ความเป็ นทางการ (รูปแบบ, สถานที)่
การรักษาความลับและการสรางความ
้
ไว้วางใจซึง่ กัน
ข้อเสนอแนะทีเ่ จาะจงและปฏิบต
ั ไิ ด้
(Specific Actionable
Recommendations: SARs)




หมายถึง ชุดขอความที
แ
่ สดงถึงการที่
้
ทีมงานไดน
้ าสิ่ งทีเ่ รียนรู้ มาพัฒนากิจกรรม
เพือ
่ ใช้ในการปฏิบต
ั ค
ิ รัง้ ตอไป
่
ควรเป็ นขอเสนอแนะที
ร่ ะบุลก
ั ษณะทีต
่ ้อง
้
แก้ไข และวิธก
ี ารแกไขที
เ่ ป็ นรูปธรรม
้
ทีมงานทุกคนตองเข
าใจตรงกั
นตอ
้
้
่
ขอเสนอแนะนั
้น ๆ
้
ขอเสนอแนะเหล
านี
้
่ ้จะถูกนาไปบรรจุไว้ใน
ตัวอยาง
SARs
่
ควรมี ก ารปรับ เปลี่ ย นกิ จ กรรมกลุ่ ม
เ พื่ อ ใ ห้ เ อื้ อ ต่ อ ก า ร เ ข้ า ใ จ ภ า พ ร ว ม ข อ ง
โครงการให้มากกวานี
่ ้ และควรให้กิจกรรม
ใช้เวลาน้อยกวานี
่ ้
ควรมีวท
ิ ยากร
• ในกิจกรรมกลุมย
่
่ อย
กระบวนการทีม
่ ค
ี วามรูและเข
าใจโครงการ
้
้
รวมทัง้ มีทก
ั ษะในการดาเนินการประชุมเป็ น
อยางดี
่
• ควรปรับเปลีย
่ นกิจกรรมบรรยายเนื้อหา ไป
ไว้ในช่วงกอนรั
บประทานอาหารเย็น
่
ชุดคาถามหลักในการวิเคราะหหลั
์ ง
ปฏิบต
ั ก
ิ าร
ชุดที่ 1
สิ่ งทีเ่ รา
กาหนด/
คาดหวังไวว
้ า่
จะให้เกิดขึน
้ /
หรือวาจะ
่
ทา??
สิ่ งทีเ่ กิดขึน
้
จริงคือ
ชุดที่ 2
ทาไม สิ่ งที่
เกิดขึน
้ จริงจึง
แตกตางไป
่
จากสิ่ งที่
คาดหวัง ???
(วิเคราะหถึ
์ ง
เงือ
่ นไข/ปัจจัยที่
ทาให้เกิด
ชุดที่ 3
ในการทา
กิจกรรมครัง้
ตอไป
เรา
่
จะทาสิ่ งใด
ให้ดีขน
ึ้
หรือ
แตกตางไป
่
จากเดิมบาง
้
3. การเรียนรูหลั
้ งดาเนินการ :
Retrospect
โดยสรุป
วิธวี ท
ิ ยาการเรียนรูหลั
้ ง
ดาเนินการ มีลก
ั ษณะดังนี้
1.ทาอะไร
- การรวบรวมความรูในระยะยาว
้
สาหรับ
คณะทางานหรือชุมชน
- ดาเนินในช่วงเวลาทีจ
่ บโครงการ
- เป็ นการประชุมคณะทางานเพือ
่ มอง
อนาคต
2 . ใคร ?
- คณะทางาน
- ผู้อานวยความสะดวก
- ผู้ทีใ่ ช้ความรูในอนาคต
้
3. เมือ
่ ไร ?
-ทันทีทเี่ สร็จสิ้ นโครงการ
“เมือ
่ จบสงคราม มิใช่ เมือ
่ สิ้ นสุดการโจมตี
่ าไม ง้ ?”
4. ทแต
าทละครั
- ปรัชญาของการทางานทีว่ า่
“ทุกครัง้ เราทาอะไรซา้ เราควรทาให้ดีกวาครั
ง้
่
สุดทาย”
้
- ช่วยผู้อืน
่ ให้ทางานของเขาให้ดีขน
ึ้
- สร้างความตระหนักในการเรียนรู้
5. ทาอยางไร
?
่
- คลายๆกั
บ AAR แตลงลึ
ก
้
่
(indepth) กวา่
- เป็ นการทบทวนแผนและ
กระบวนการทัง้ หมด
- ตัง้ คาถามวาเราจะด
าเนินการ
่
ตอไปให
ึ้
่
้ดีขน
อยางไร
ดวยวิ
ธใี ด ทาให้เป็ น
่
้
ทีพ
่ อใจไดอย
้ างไร
่
การวิเคราะหหลั
์ งดาเนินการคือ
@
??
เป็ นการรวบรวมความรูในระยะยาวส
าหรับทีมงาน
้
@ดาเนินการในช่วงเวลาทีเ่ สร็จสิ้ นโครงการแลว
้
@ เป็ นการประชุมทีมงานเพือ
่ มองอนาคต บทเรียนทีไ่ ด้
จะนาใช้ในโครงการตอไป
มิใช่เพือ
่ ให้บรรลุเป้าหมาย
่
ของโครงการเดิม
@ การถอดบทเรียนเน้นให้ผูร
ด
้ วมกระบวนการสกั
่
บทเรียนการทางานโครงการทัง้ ระบบตัง้ แตช
่ ่ วง
เตรียมการ , ช่วงดาเนินการ และผลลัพธหรื
์ อผลผลิต
ทีไ่ ดจากโครงการ
้
@ เป็ นกระบวนการทีใ่ ช้ระยะเวลาในการดาเนินการนาน
ปกติใช้เวลา 1-2 วันขึน
้ อยูกั
่ บความซับซ้อนของ
ขัน
้ ตอนทีส
่ าคัญของ
Retrospect
• กิจกรรมอุนเครื
อ
่ ง
่
• กระบวนการถอดบทเรียน
กิจกรรมอุนเครื
อ
่
ง
่
่ วกับประวัต ิ
าและขอมู
1.เตรียมพรอมความทรงจ
้ ลเกีย
้
ความเป็ นมา และผลการดาเนินโครงการ
• วัตถุประสงค ์ เพือ
่ ให้ผูร
ทบทวน
้ วมกระบวนการได
่
้
ทีม
่ าทีไ่ ปของโครงการ กระบวนการดาเนินงาน
และผลสาเร็จของโครงการรวมกั
นกอน
ซึง่ จะเป็ น
่
่
ประโยชนอย
ง่ ตอการวิ
เคราะหเหตุ
ปจ
ั จัยตางๆ
์ างยิ
่
่
์
่
ในกิจกรรมขัน
้ ตอไป
่
• เป็ นการให้ผูที
่ วของมาร
วม
“ย้อนอดีต”
้ เ่ กีย
้
่
• อาจดาเนินการลวงหน
นทีจ
่ ะจัดเวทีถอด
่
้ ากอนวั
่
บทเรียน
2-3 วันได้
ประเด็นสาหรับใช้ในกิจกรรม
อุนเครื
อ
่ ง
่
ทบทวนวัตถุประสงคของ
์
โครงการและผลงานทีต
่ องส
้
่ งมอบ
ของโครงการ
ทบทวนแผนงานและ
กระบวนการดาเนินโครงการ
กิจกรรมอุนเครื
อ
่ ง
่
วมกั
นเกีย
่ วกับ
2.เตรียมความเขาใจร
่
้
กระบวนการถอดบทเรียน
• วัตถุประสงค ์ เพือ
่ ให้ผู้รวมกระบวนการได
่
้
เขาใจเกี
ย
่ วกับหลักการ เป้าหมาย และ
้
กระบวนการถอดบทเรียนทีจ
่ ะทารวมกั
น
่
• เป็ นสิ่ งสาคัญตอบรรยากาศและคุ
ณภาพของ
่
กระบวนการถอดบทเรียน
• ควรยา้ ถึงหัวใจของการถอดบทเรียนจนเป็ น
ท
่ ก
ุ คนยึดถือตรงกัน
คุณคาร
่
่ วมที
กระบวนการถอด
บทเรียน
• กระบวนการระดมความคิด
จากกลุม
่
• มีคาถามช่วยคิด 4 ขอ
้
คาถามขอที
่
1
้
• ทานเข
ามาเกี
ย
่ วของกั
บโครงการ
่
้
้
นี้อยางไร
?
่
• อะไรเป็ นแรงจูงใจทีท
่ าให้ทานเข
า้
่
มารวมในโครงการนี
้ ?
่
คาถามขอที
่
้
2
• โครงการนี้เกิดขึน
้ ไดอยางไร?
้ ่
• สภาพความสาเร็จของโครงการนี้เป็ น
อยางไร
?
่
• และสภาพทีเ่ กิดขึน
้ จริงเป็ นอยางไร
?
่
คาถามขอที
่
3
้
•ทาไมจึงเป็น เช่นนั้น
?
(ควรวิเคราะหเงื
่ นไขปัจจัยให้
์ อ
ครอบคลุมตัง้ แต่ เริม
่
ระหวาง
และเมือ
่ สิ้ นสุด
่
โครงการ)
คาถามขอที
้ ่ 4
• ทานได
เรี
า
่
้ ยนรูอะไรจากการท
้
โครงการนี้ ?
• ทานมี
ขอเสนอแนะอะไร
หาก
่
้
ตองท
าโครงการนี้อก
ี ในอนาคต
้
?
ข้อเสนอแนะทีเ่ จาะจงและ
ปฏิบต
ั ไิ ด้
(Specific Actionable
Recommendations : SARs)
ตัวอยาง
่
SARs


ในการวางแผนโครงการ ตองมี
ความรูที
้
้ ่
เกีย
่ วของให
ยงพอตอการ
้
้พรอมและเพี
้
่
ต้องมีการศึ กษาบริบทของชุมออกแบบโครงการ
ชนโดยใช้เทคนิค
แผนทีเ่ ดินดิน รวมทัง้ เชิญคนทีเ่ คยทาโครงการ
ในลักษณะเดียวกันนี้มากอนเพื
อ
่ มาพูดคุย
่
เกีย
่ วกับบทเรียนการทางาน เพือ
่ ให้ไดความรู
มา
้
้
ประกอบการวางแผนโครงการ
ต้องกาหนดระบบการติดตามประเมินผลภายใน
(ตัวชีว้ ด
ั เครือ
่ งมือ กลไกการติดตาม
ประเมินผล และการนาผลการประเมิน ไปใช้)
ไว้ในแผนงานโครงการเพือ
่ เป็ นเครือ
่ งมือในการ
ความสั มพันธระหว
าง
AAR และ
่
์
Retrospect
เริม
่ ต้
น
โครงการ
กิจกรรม
หลัก 1
สิ้ นสุ
ด
กิจกรรม
หลัก 2
กิจกรรมยอย
กิจกรรมยอย
กิจกรรมยอย
กิจกรรมยอย
กิจกรรมยอย
กิจกรรมยอย
่ 1.2
่ 1.3
่ 2.1
่ 2.2
่ 2
่ 1.1
AAR1.1
AAR1.2
AAR1.3
AAR2.1
AAR2.2
AAR2.3
SARs
SARs
SARs
SARs
SARs
SARs
การถอดบทเรียนหลังการ
การถอดบทเรียนแบบเลาเรื
่ ง
่ อ
(Story telling)
• เป็ นการปลดปลอยความรู
ที
่ ังลึก(tacit
่
้ ฝ
knowledge) โดยมีเป้าหมายให้ผูมี
้ ความรูจากการ
้
ปฏิบต
ั ป
ิ ลดปลอยความรู
ที
่ ่ อนในตัวตน ทัง้ ใน
่
้ ซ
สภาพจิตใตส
้ านึกและจิตสานึก ภายใตบริ
้ บทที่
เฉพาะเจาะจงทัง้ ในเชิงประเด็น เนื้อหา และตัว
ละครทีเ่ กีย
่ วของ
้
• กระบวนการดาเนินงานทีไ่ ดจากการเล
าเรื
่ งจะมี
้
่ อ
ความจาเพาะสูง จึงควรเป็ นบทเรียนสาหรับการ
ากระท
าซา้ ในทันที
คิดตอมากกว
่
่
• มีวต
ั ถุประสงค ์ (7 ประเภท) วิธก
ี าร และผลที่
การถอดบทเรียนแบบเลาเรื
่ ง(Story
่ อ
telling)
• เงือ
่ นไขการเลาเรื
่ ง ผู้เลา่ “ต้องมีความสุขใน
่ อ
การเลา”
่ “บรรยากาศดี มีความเทาเที
่ ยมกัน” “เป็ น
อิสระ” “เป็ นเรือ
่ งทีป
่ ระสบความสาเร็จ” “มีการ
ซักถามดวยความชื
น
่ ชม” (appreciative inquiry)
้
• “การเลาเรื
่ ง” และ “การถอดบทเรียนจากการเลา่
่ อ
เรือ
่ ง” มิใช่สิ่ งเดียวกัน
• สิ่ งสาคัญในการถอดบทเรียนจากการเลาเรื
่ ง คือ
่ อ
“การสกัดความรูจากเรื
อ
่ งทีเ่ ลา่ ตรวจสอบคุณคา่
้
และสารวจทางเลือกสู่การปฏิบต
ั ใิ นโอกาสตอไป”
่
การถอดบทเรียนจากการ
ประเมินผลโครงการ
1. การถอดบทเรียนจากแผนทีผ
่ ลลัพธ ์
(outcome mapping: OM)
2. การถอดบทเรียนจากการประเมินแบบ
เสริมพลัง (empowerment
evaluation: EE)
3. การถอดบทเรียนจากการประเมิน
สรุปผลโครงการ (summative
evaluation)
จุดออนของการถอดบทเรี
ยนและ
่
การประยุกตใช
์ ้
เป็ นการดาเนินโดยไมมี
่ ระบบ ไมมี
่ โครงสราง
้
จึงไดความรู
เป็
อ
่ มโยงในเชิง
้
้ นส่วนๆไมสามารถเชื
่
มีสานึกของการ
“หวงวิชา” ไมยอมถ
ายทอด
ระบบได
่
่
้
รวมทัง้ กลุมก็
่ น
่ ไมเห็
่ นความสาคัญของการแลกเปลีย
เพิม
่ พูนความรูซึ
้ ง่ กันและกัน
เกิดภาวะ “ความรูท
วเอาตัวไมรอด”
ไมสามารถ
้ วมหั
่
่
่
สั งเคราะหองค
ความรู
ที
่ วมท
นมาใช
้ ท
่
้
้ประโยชนได
์
์
์ ้ ระบบ
คิดจึงเป็ นสิ่ งสาคัญ
ขาดการแลกเปลีย
่ นความรูที
้ ไ่ ด้ จึงทาให้มีการ
ทางานซา้ (ผิดซา้ )
การตัดสิ นใจดาเนินการมิไดใช
้ ้ความรูที
้ ไ่ ดจากการถอด
้
บทเรียนตองเกิ
ดการเรียนรูจากบทเรี
ยน มิใช่ “เลียนแบบ”
้
้
ยนการเรียนรู้
จุดรวมของการถอดบทเรี
่
ทีส
่ าคั
ญ าย
คื
อ
• ความเรี
ยบง
่
• ช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม
• สร้างบรรยากาศการ
เรี
นรูที
่ ี
• ยการแลกเปลี
ย
่ นเรียนรู้ ซึง่ มีเงือ
่ นไขสาคัญคือ
้ ด
เลือก คนทีถ
่ ก
ู ตองเหมาะสม
(Get the right
้
people talking) หาผูที
ี่ ุด แบงปั
้ ร่ ดี
้ ู ทส
่ นความรู้
กั
เครื้างองค
อขาย
• บสร
จากบทเรี
ยนทีด
่ ี
(Best
่ ความรู
์
้
Practice)
• สิ่ งสาคัญคือ การนาความรูที
้ ไ่ ดนั
้ ้นไปใช้
ประโยชนในการพั
ฒนาสรางสรรค
ในอนาคต
จึง
์
้
์
จะเป็ นการจัดการความรูโดยสมบูรณ
กระบวนการถอดบทเรียน มีกข
ี่ น
้ั ตอน
?
•
•
•
•
การออกแบบแผนการถอดบทเรียน
ขัน
้ ที่ 1 การกาหนดรูปแบบในการถอดบทเรียน
ขัน
้ ที่ 2 การเลือกเทคนิคการถอดบทเรียน
ขัน
้ ที่ 3 การกาหนดปฏิทน
ิ การถอดบทเรียน
การดาเนินการถอดบทเรียน
ขัน
้ ที่ 4 การถอดบทเรียนเฉพาะประเด็น
ขัน
้ ที่ 5 การถอดบทเรียนทัง้ โครงการ
การสื่ อสารผลการถอดบทเรียน
ขัน
้ ที่ 6 การบันทึกบทเรียน
ขัน
้ ที่ 7 การพัฒนาชุดความรู้
การติดตามการนาบทเรียนไปใช้
ขัน
้ ที่ 8 การติดตามการใช้บทเรียน
ตัวละครทีส
่ าคัญในการถอดบทเรียนมี
ใครบาง
?
้
• ผู้จัดงาน / ผู้ประสานงาน
• ผู้รวมถอดบทเรี
ยน
่
• ผู้อานวยความสะดวก
• ผู้ช่วยผูอ
้ านวยความสะดวก
• ผู้บันทึกบทเรียน
ผู้จัดงาน / ผู้ประสานงาน
• มีบทบาทสาคัญในการ
ประสานงาน และสรางความ
้
ชัดเจนเกีย
่ วกับวัตถุประสงค ์
และประโยชน์ รวมถึงวัน
เวลา สถานทีข
่ องการจัด
กิจกรรมถอดบทเรียนให้กับผู้ที่
มีส่วนเกีย
่ วของ
้
ยน
ผู้รวมถอดบทเรี
่
• เป็ นเจ้าของความรู้ และภูมป
ิ ญ
ั ญาที่
เราตองการรวบรวมไว
เป็
้
้ นบทเรียน
และเป็ นกลุมคนที
จ
่ ะนาบทเรียนและ
่
บต
ั ิ ดังนั้น
ข้อเสนอแนะทีไ่ ดไปปฏิ
้
บุคคลทีจ
่ ะมารวมการถอดบทเรี
ยน
่
จะตองเป็
นบุคคลทีม
่ ส
ี ่ วนเกีย
่ วของกั
บ
้
้
โครงการหรือกิจกรรมทีด
่ าเนินการอยู่
และมีประสบการณตรงเกี
ย
่ วกับ
์
ประเด็นทีเ่ ราตองการจะถอดเป็
น
้
ผู้อานวยความสะดวก
• มีบทบาทสาคัญในการสรางบรรยากาศ
การ
้
พูดคุย ทีเ่ ปิ ดโอกาสให้ผู้เขาร
กคนได้
้ วมทุ
่
แสดงความคิดเห็ น และความรูสึ้ กและตอง
้
สามารถจับประเด็น และดึงความรูที
่ ังลึกอยู่
้ ฝ
ในตัวผูเข
น
่ ๆ ได้
้ าร
้ วมให
่
้ผูเข
้ าร
้ วมคนอื
่
เรียนรู้ และรวมแลกเปลี
ย
่ นได้
่
• มีหน้าทีท
่ จ
ี่ ะให้ผู้เขาร
“เรียนรูจาก
้ วม
่
้
คาตอบ” มิใช่เพียงทาหน้าที่ “เค้นคาตอบ”
• ควรเป็ นบุคคลภายนอกโครงการ(ถาเป็
้ นไป
ได)้ ทีม
่ ค
ี วามรู้ ความเขาใจในกระบวนการ
้
ผู้ช่วยผู้อานวยความ
สะดวก
• เป็ นผู้ช่วยจับประเด็น และดึงประเด็น
รวมถึงการตัง้ คาถาม โดยผู้ช่วย
อานวยความสะดวกในการถอดบทเรียน
ควรเป็ นคนภายในโครงการทีม
่ ค
ี วาม
สนใจในกระบวนการถอดบทเรียน
ทัง้ นี้เพือ
่ เป็ นการพัฒนาศั กยภาพของ
คนในพืน
้ ทีใ่ ห้สามารถทากระบวนการ
ถอดบทเรียนไดในอนาคต
รวมถึง
้
ผู้บันทึกบทเรียน
• มีบทบาทสาคัญในการเก็บ รวบรวม
และสั งเคราะหเป็
่ เผยแพร่
์ นเอกสารเพือ
ตอไป
ดังนั้นผู้จดบันทึกควรเป็ นบุคคล
่
ภายในโครงการหรือภายนอกโครงการ
ก็ได้
โดยควรมีมากกวา่ 1 คน
โดยให้คนภายในโครงการเป็ นผู้บันทึก
บทเรียนในการอภิปรายกลุมย
และ
่ อย
่
บทเรียนภาพรวม
ประเด็นชวนคุยตอ
่
เราจะใช้ “การถอด
บทเรียน” เป็ นเครือ่ งมือเพือ่
การเรียนรูในการท
างานของทีม
้
เฝ้าระวัง สอบสวนเคลือ
่ นทีเ่ ร็ว
ไดอย
้ างไร????
่