Case-based Learning

Download Report

Transcript Case-based Learning

e-Pedagogy
Case-based Learning
ดร.ปราวีณยา สุวรรณณั ฐโชติ
1
่ ฒนาการคิดของผู เ้ รียน
การสอนเพือพั
Well-structured problem solving
Ill-structured problem solving
OELE
Open-ended Learning Environments (Land and Hanafin)
CLE
Constructivism Learning Environments (Jonassen)
2
Case-based Learning
What students do
ทาความเข ้าใจกับสถานการณ์
วิเคราะห์ปัญหา
เสนอทางแก ้ปั ญหา
ิ ใจ
ตัดสน
สะท ้อนคิดจากผลของทางเลือก
3
Case-based Learning
What teachers do:
ึ ษา
เตรียมกรณีศก
มุมมองทีห
่ ลากหลายต่อปั ญหา
ทางแก ้ปั ญหาทีห
่ ลากหลาย
ทฤษฎี และตัวอย่างจริงทีเ่ กีย
่ วข ้อง
ข ้อเสนอแนะต่อวิธก
ี ารแก ้ปั ญหา
4
ลักษณะของกรณี ศก
ึ ษา
Real world problem solving
ื่ มโยงกับความเป็ นจริง
เชอ
ปั ญหา
มีเทคนิค
การเล่าเรือ
่ ง
ประเด็น
ขัดแย ้ง
มุมมองที่
แตกต่าง
5
ึ ษา
ขัน
้ ตอนการสร ้างกรณีศก
• ระบุจด
ุ มุง่ หมาย
• วิเคราะห์ผู ้เรียน
• เลือกสารสนเทศที่
จาเป็ น
วางแผน
ลาดับความคิด
• ลาดับเหตุการณ์ ฉาก
ตัวละคร ประเด็น
ปั ญหา
• จุดหักเห ขัอขัดแย ้ง
• กากับการเขียนด ้วย
การตรวจสอบกับ
จุดมุง่ หมาย
• พิจารณาข ้อมูล
ประกอบเพิม
่ เติม
ทบทวนและปร ับปรุง
ร่างและเรียบเรียง
6
กระบวนการเรียนรู ้
CBL
ทาความ
เข ้าใจกับ
สถานการณ์
วิเคราะห์
ปั ญหา
เสนอทาง
แก ้ปั ญหา
Multiple
Perspectives
ิ ใจ
ตัดสน
Theories &
Literature
Fact
Case
problems
Experts’
Solutions
Adapted from Choi & Lee (2009)
สะท ้อนคิด
จากผลของ
ทางเลือก
Comments on
the Results
7
ข ้อสงั เกต
• ความพร ้อมของผู ้สอนออนไลน์ ขณะดาเนิน
กิจกรรมออนไลน์
• Social Talk > Academic Talk ทาอย่างไร
ิ ธิภาพในการอภิปรายผ่าน
ให ้ผู ้เรียนมีประสท
ื่ สารด ้วยภาษาเขียนของผู ้เรียน
การสอ
ั พันธ์ระหว่าง
• Social Talk สร ้างความสม
ผู ้เรียนออนไลน์
8
• ผู ้สอนออนไลน์
ทาหน ้าทีผ
่ ู ้สอนด ้วยการปรากฏตัวทางอินเทอร์เน็ต ระบบ
ื่ สาร
บริหารจัดการเรียนรู ้ เครือ
่ งมือสอ
•
ดูแล จัดการ และตรวจสอบความเคลือ
่ นไหว
ของห ้องเรียนเสมือน
Monitoring e-Classroom
9
ผู ส
้ อนออนไลน์: ระหว่างการเรียน
มีความพร ้อม
ด ้านเวลา
การจัดการ
ต่างๆ
ดูแล
ตรวจสอบ
การเข ้า
ห ้องเรียน
ของผู ้เรียน
แสดง
บทบาทของ
ผู ้สอนใน
กิจกรรมการ
เรียนรู ้ของ
ผู ้เรียน
้
ใชภาษา
เขียนเพือ
่
ื่ สาร
การสอ
อย่าง
ไตร่ตรอง
และมี
วิจารณญาณ
ให ้ข ้อมูล
ป้ อนกลับ
ทาง
การเรียน/
ให ้ผู ้เรียน
รับทราบผล
การเรียน
10
่
ผู ส
้ อนออนไลน์: การจ ัดการ การสือสารกั
บผู เ้ รียน
ระหว่างการเรียน
• ผู ้สอนต้องทาอะไรบ้าง
เพือ
่ เป็ นการสนับสนุน
ให ้ผู ้เรียนปรับตัว
เกีย
่ วกับ...
ความเข ้าใจของผู ้เรียน
ทีม
่ ต
ี อ
่ การเรียนใน
ห ้องเรียน
อิเล็กทรอนิกส ์
• การบริหารจัดการเวลา
• การกากับตนเอง
ื่ สารผ่าน
• การสอ
คอมพิวเตอร์ VS การ
ื่ สารแบบผชญ
ิ หน ้า
สอ
11
่
ผู ส
้ อนออนไลน์: การจ ัดการ การสือสารกั
บผู เ้ รียน
ระหว่างการเรียน
ความเข ้าใจของผู ้เรียน
ทีม
่ ต
ี อ
่ การเรียนใน
ห ้องเรียน
อิเล็กทรอนิกส ์
ี้ จงให ้เข ้าใจถึง
• การชแ
รูปแบบการเรียนทีผ
่ ู ้สอน
วางแผน และออกแบบไว ้
เพือ
่ ให ้ผู ้เรียนเข ้าใจบทบาท
ของตนเอง และปรับตัวได ้
เร็วกับวิธก
ี ารเรียนแบบใหม่
• บทบาทของผู ้เรียน
• บทบาทของผู ้สอน
12
่
ผู ส
้ อนออนไลน์: การสือสารกั
บผู เ้ รียนระหว่างการเรียน
ผู ส
้ อนและผู เ้ รียน:
ื่ สาร
ทักษะการสอ
ในห ้องเรียน
อิเล็กทรอนิสก์
• ทักษะการเขียน ปรากฏ
ื่ สารอย่างเป็ นทางการ
ในการสอ
่ การสง่ การบ ้าน การทารายงาน
เชน
เพือ
่ การประเมินผล
• ทักษะการเขียนแบบไม่เป็ นทางการ ด ้วย
้
่ กล่าวทักทาย
การใชภาษาพู
ด เชน
การแสดงความคิดเห็น การโต ้ตอบ
การกล่าวหยอกล ้อแสดงอารมณ์ขน
ั
13
่
ผู ส
้ อนออนไลน์: การสือสารกั
บผู เ้ รียนระหว่างการเรียน
ผู ส
้ อน และผู เ้ รียน:
ื่ สาร
ทักษะการสอ
ในห ้องเรียน
อิเล็กทรอนิสก์
• ภาษาพูดทีป
่ รากฏในงานเขียน
ึ
แสดงความคิด อารมณ์ ความรู ้สก
• การรับรู ้ของผู ้อ่านแตกต่างกันตาม
ึ
ประสบการณ์ การให ้ความหมาย ความรู ้สก
ผู ้อ่านตีความแตกต่างกัน อาจให ้ความหมาย
ได ้ว่า...
• สุภาพ หรือ ก ้าวร ้าว
• สุขม
ุ หรือ ใจร ้อน
• มุมมองด ้านบวก หรือ ลบ
ฯลฯ
14
Case-based Learning
ดร.ปราวีณยา สุวรรณณั ฐโชติ
25 กันยายน 2553
15