บทที่ 1 - Krunungning

Download Report

Transcript บทที่ 1 - Krunungning

การออกแบบ
ระบบการสอน
1. การออกแบบระบบการสอน
ในการดาเนินงานของระบบสอนนั้น ครูผู้สอนจะต้ องมีการ
วางแผนการสอนและตั้งวัตถุประสงค์ ของการเรียนให้ ดเี สี ยก่อน
เพือ่ เป็ นข้ อมูลในการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเตรียมเนือ้ หา
บทเรียนและวิธีการสอนเพือ่ ดาเนินการสอนให้ ได้ ผลลัพธ์ คือ เพือ่ ให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ ทตี่ ้งั ไว้
ถ้ าการเรียนการสอนนั้นไม่ ได้ ผลลัพธ์ ตามทีค่ วรจะเป็ น อาจจะมีปัญหา
ในการสอนหรือเกิดการทีผ่ ู้เรียนเรียนรู้ได้ ไม่ ดีเท่ าทีค่ วร ในกรณีนี้
จาเป็ นต้ องมีการวิเคราะห์ ปัญหาและหาทางแก้ไขข้ อบกพร่ องที่เกิดขน้
ให้ ได้ ผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ ทตี่ ้งั ไว้ วิธีการแก้ไขปัญหาการเรียน
การสอนที่นิยมใช้ กนั มากวิธีหน่งคือ วิธีระบบ (system approach)
หรือเรียกอีกอย่ างหน่งว่ าการจัดระบบ โดยเป็ นกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ที่มีการกาหนดปัญหา ตั้งสมมุติฐาน การดาเนินการทดลอง
การวิเคราะห์ ข้อมูล อันนาไปสู่ การสรุปผลที่เหมาะสมเพือ่ แก้ไขปัญหา
ที่เกิดขน้
ถ้ าผลสรุ ปหรือผลลัพธ์ ทไี่ ด้ มาเป็ นสิ่ งที่คาดว่ าจะได้ ผลดีกจ็ ะถูกนามาทดลองใช้
แต่ ถ้านามาใช้ แล้วยังไม่ สามารถแก้ไขปัญหาได้ ก็จะต้ องมีการทดลองวิธีใหม่
ต่ อไปจนกว่ าจะได้ ผลลัพธ์ ทถี่ ูกต้ องทีใ่ ช้ แล้ วแก้ ปัญหาได้ สาเร็จ
ควบคุม
(Control)
ข้ อมูล
(Input)
กระบวนการ
(Process)
ผลลัพธ์
(Output)
ปัญหา, สมมติฐาน
ทดลอง, วิเคราะห์ ข้อมูล
สรุ ปผล
ข้ อมูลป้ อนกลับ
การจัดระบบตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
การนาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ ในการวางแผนการสอน
คือการนาเทคโนโลยีของการสอน (Technology of instruction)
มาใช้ ในการจัดระบบการสอน
เคมพ์ (Kemp, 1985: 3) ให้ ความหมายของเทคโนโลยีการสอน
ที่นามาใช้ ในการจัดระบบ หมายถง การออกแบบการสอนอย่ างมีระบบ
ซ่งอาศัยความรู้ความเข้ าใจของกระบวนการเรียนรู้ โดยการรวม
องค์ ประกอบและตัวแปรต่ างๆ เข้ าไว้ ด้วยเพือ่ นาไปสู่ การตัดสิ นใจ
ในการออกแบบการสอนนั้น แล้วจงทาการทดสอบ และแก้ไขปรับปรุ ง
จนใช้ ได้ ผลดี เป็ นการนาไปสู่ ความสาเร็จในการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมาย
ที่ต้งั ไว้
การใช้ เทคโนโลยีของการสอนเพือ่ การจัดระบบการสอน ต้ องอาศัย
กระบวนการของการวางแผนอย่ างเป็ นระบบ ประกอบด้ วยขั้นตอนของ
การตรวจสอบปัญหาและความต้ องการในการเรียนการสอน เพือ่ หาทาง
แก้ ปัญหาและแก้ ไขปรับปรุงข้ อบกพร่ องต่ าง ๆ โดยรวมไปถงการ
ประเมินด้ วย ซ่งวิธีการทีใ่ ช้ กระบวนการดังกล่ าวนี้ รวมเรียกว่ า
“การออกแบบการสอน” (Instructional Design)
เป้ าหมายหลักของการจัดระบบการเรียนการสอนมี 2 ประการ คือ
เพือ่ ให้ ผ้ สู อนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ กนั โดยใช้ วธิ ีการต่ างๆ ในการเอือ้ อานวย
ให้ ผ้ เู รียนเกิดการเรียนรู้ ได้ ดที สี่ ุ ด
ใช้ วธิ ีการเชิงระบบในการออกแบบ การวางแผน การนาไปใช้ และ
การประเมินผลของระบบการสอน
องค์ ประกอบพืน้ ฐานของระบบการเรียนการสอนมี 4 ประการ คือ
ต้ องมีการวิเคราะห์ ลกั ษณะของผู้เรียนเพือ่ การออกแบบกิจกรรม
การเรียนการสอนที่เหมาะสม
ต้ องมีการตั้งวัตถุประสงค์ ว่า ต้ องการจะให้ ผู้เรียนได้ เรียนรู้
สิ่ งใดบ้ างในการสอนนั้น
ต้ องมีการกาหนดวิธีการและกิจกรรมในการเรียนรู้ว่าควรมี
อะไรบ้ าง เพือ่ ให้ ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ทดี่ ีทสี่ ุ ดได้
ต้ องมีการกาหนดวิธีการประเมินเพือ่ ตัดสิ นว่ าการเรียนรู้น้ัน
ประสบผลตามทีต่ ้งั จุดมุ่งหมายไว้ หรือไม่
ขั้นตอนของการจัดระบบ โดยแบ่ งเป็ น 4 ขั้น ดังนี้
ขั้นที่ 1 วิเคราะห์ ระบบ (System Analysis) เป็ นการสารวจ
แจกแจงและวิเคราะห์ ปัญหา เพือ่ นาข้ อมูลต่ างๆ เหล่านั้นมากาหนด
วัตถุประสงค์ เพือ่ แก้ปัญหาดังกล่าวได้ ลาดับต่ อมาวิเคราะห์ และกาหนด
ภาระหน้ าทีต่ ่ างๆ ให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ทตี่ ้งั ไว้ และวิเคราะห์ งาน
ที่ต้องปฏิบัติให้ เหมาะสมกับหน้ าที่
ขั้นที่ 2 สั งเคราะห์ ระบบ เป็ นวิธีการทีน่ าข้ อมูลทีไ่ ด้ วเิ คราะห์
จัดองค์ ประกอบต่ างๆ ให้ มีความสั มพันธ์ กนั โดยการเลือกวิธีการ
ทีจ่ ะนาไปใช้ นิยมเขียนในรูปแบบจาลองระบบ
ขั้นที่ 3 สร้ างแบบจาลองระบบ เป็ นวิธีการที่นาเสนอระบบ
ที่จะสะดวกต่ อการนาไปใช้ นิยมเขียนแบบจาลองระบบ โดยการเขียน
แบบจาลองสามารถเขียนได้ ดังนี้
ขั้นที่ 4 ทดสอบระบบในสถานการณ์ จาลอง เป็ นการทดลอง
นาแบบจาลองระบบไปใช้ ในสถานการณ์ จาลองทีส่ ร้ างขน้
การออกแบบระบบการเรียนการสอน (instructional system design)
เป็ นทีย่ อมรับในหมู่นักวิชาการว่ าเป็ นการพัฒนาการเรียนการสอน
รูปแบบสาหรับการออกแบบการเรียนการสอน (instructional design
model) ที่เป็ นพืน้ ฐานทั่วไปคือ ADDIE มีข้นั ตอนในการออกแบบ คือ
A - analyze การวิเคราะห์ ความจาเป็ นหรือปัญหาอุปสรรค
ตัดสิ นใจว่ าจะต้ องเรียนรู้เรื่องอะไร
D - design การกาหนดว่ าจะเรียนรู้อย่ างไร ระบุกจิ กรรม
การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เลือกวิธีการและสื่ อ
D - develop การสร้ างและผลิตเครื่องมือต่ างๆ ตรวจสอบ
และปรับปรุง
I - implement การนาแผนหรือโครงการไปปฏิบัติ
E - evaluate การพิจารณาความเหมาะสมของการเรียน
การสอน ประเมินทุกอย่ างทีผ่ ่ านมา ปรับปรุ งเพือ่ นาไปปฏิบัติต่อไป
มีนักการศกษาหลายท่ าน คิดรูปแบบ/แบบจาลองระบบการสอน
ขน้ มาอย่ างหลากหลาย เพือ่ ให้ สามารถเลือกใช้ เป็ นแนวปฏิบัติในการ
ออกแบบการเรียนการสอน การจัดเรียนการสอน หรือการแก้ปัญหา
การเรียนการสอนทีเ่ กิดขน้ ได้ ตามความต้ องการของผู้ใช้ รูปแบบที่มี
การอ้างถงอย่ างแพร่ หลาย มีดังนีค้ อื
เกอร์ ลาซ และ อีลี (Gerlach and Ely, 1980) ได้ เสนอรูปแบบการสอน
อย่ างมีระบบ ประกอบด้ วยองค์ ประกอบต่ างๆไว้ 10 ประการคือ
1. กาหนดวัตถุประสงค์ (Specification of Objectives)
2. กาหนดเนือ้ หา (Specification of Content)
3. พิจารณาพืน
้ ฐานเดิมของผู้เรียน (Assessment of Entering
Behaviors)
4. เลือกยุทธศาสตร์ และเทคนิคการสอน (Determination of
Strategy and Techniques)
 5. จัดกลุ่มผู้เรียน (Organization of Students into Groups)
6. กาหนดเวลาเรียน (Allocation of Time)
7. กาหนดสถานทีเ่ รียน (Allocate of Learning Space)
8. การกาหนดแหล่ งการเรียนรู้ (Allocation of Resources)
9. ประเมินผล (Evaluation of Performance)
10. ย้ อนกลับ (Analysis of Feedback)

เบราน์ และคณะ (Brown and others, 1986) ได้ เสนอระบบการสอน
ประกอบด้ วย องค์ ประกอบที่สาคัญ 5 ประการ คือ
1. ผู้เรียน (Learner)
2. เป้าหมาย (goals)
3. สภาพการณ์ (Conditions)
4. แหล่งการเรียน (Resources)
5. ผลลัพธ์ (Outcomes)
ไชน์ พชิ และคณะ (1993) ได้ เสนอรูปแบบจาลองวิธีระบบ ASSURE
A = ANALYZE LEARNER'S CHARACTERISTICS การวิเคราะห์
พฤติกรรม เบือ้ งต้ นและความต้ องการของผู้เรียน
S = STATE LEARNING OBJECTIVES AND CONTENT การกาหนด
จุดมุ่งหมายและเนือ้ หาของการเรียนทีด่ ี
S = SELECT, MODIFY OR DESIGN MOTHODS AND MATERIALS
การกาหนดวิธีการและสื่ อการเรียนการสอน
U = UTILIZE METHODS AND MATERIALS กิจกรรมการใช้ สื่อ
การเรียนการสอน
R = REQUIRE LEARNER'S RESPONSE การกาหนดพฤติกรรม
ตอบสนองของผู้เรียน และมีการเสริมแรง
E = EVALUATION การประเมินผล
แคมพ์ (Jerrold/Kemp) ได้ เสนอองค์ ประกอบของระบบการจัดการ
เรียนการสอน 10 องค์ ประกอบ
1. ความต้ องการในการเรียน จุดมุ่งหมายในการสอน
2. หัวข้ อเรื่อง ภารกิจ และจุดประสงค์ ทวั่ ไป
3. ลักษณะของผู้เรียน
4. เนือ้ หาวิชาและการวิเคราะห์ ภารกิจ
5. วัตถุประสงค์ ของการเรียน
6. การทดสอบก่อนการเรียน
7. กิจกรรมการเรียนการสอน
8. ทรัพยากรในการสอน
9. บริการสนับสนุน
10. การประเมินผลการเรียน