เอกสาร

Download Report

Transcript เอกสาร

Silicates 2
Cyclosilicates หรือ Ring silicates



ไซโคลซิลิเกตประกอบด้วย SiO4 เตตระฮีดรอน เชื่อมต่อกันเป็ นวง
ปิ ด โดยมีอตั ราส่ วน Si:O = 1 : 3 การเชื่อมต่อกันมี 3 แบบ
แบบ Si3O9 เป็ นแบบที่ง่ายที่สุด มี SiO4-เตตระฮีดรอน 3 ตัวเชื่อมต่อกัน
แร่ ที่มีโครงสร้างแบบนี้มีนอ้ ยมาก เช่น เบนิโทไอต์
แบบ Si4O12 มี SiO4 เตตระฮีดรอน เชื่อมต่อกัน 4 ตัว เช่น พาพาโกไอต์
แบบ Si6O18 คือ แบบี่มี SiO4 เตตระฮีดรอน 6 ตัวเชื่อมกัน เช่น เบริ ล และ
ทัวร์มาลีน
Cyclosilicates หรือ Ring silicates
แบบที่ 3 : Si6O18
เบริล (Beryl)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนราบ (Hexagonal systems)
รูปผลึกทัว่ ไป : ลักษณะผลึกแสดงรู ปปริ ซึมที่ชดั เจนมาก มักพบร่ องหรื อ
ลายเส้นในแนวดิ่งบนหน้าผลึกได้บ่อย ผลึกเบริ ลที่มีธาตุซีเซียม (Cs) ปน
มักจะมีหน้าราบในแนว {0001}
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักพบผลึกเป็ นรู ปแท่ง(columnar) และอยู่
เกาะกลุ่มกันเป็ นเนื้อแน่น(massive)
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : Be3Al2Si6O18
เบริล (Beryl)
โครงสร้ างของเบริล Beryl structure
เบริล (Beryl)

คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 2.65 - 2.8
สี (colour) : สี ของเบริ ลจัดแบ่งตามวาไรตีดงั นี้
Aquamarine อะความารี น : เบริ ลสี ฟ้า หรื อสี น้ าเงินอมเขียว
Morganite มอร์แกไนต์ หรื อ Rose beryl โรสเบริ ล : เบริ ลสี ชมพูอ่อน
หรื อสี กหุ ลาบ
Emerald มรกต : เบริ ลสี เขียว
Golden beryl โกลเดนเบริ ล : เบริ ลสี เหลืองทอง
Red beryl เรดเบริ ล : เบริ ลสี แดง
Goshenite โกชีไนต์ : เบริ ลใสไม่มีสี
สี ผง(steak) : ขาว (white)
เบริล (Beryl)
Aquamarine
Emerald
Red beryl
เบริล (Beryl)
Heliodor
Morganite
Goshenite
เบริล (Beryl)


ความแข็ง(hardness) : 7 ½ - 8
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว (vitreous)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : แตกในแนว {0001} ไม่สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใส (transparent) ถึงโปร่ งแสง (translucent)
องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย BeO 13.96% Al2O3 18.97% SiO2 67.07%
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
รู ปผลึกที่เกิดเป็ นแท่งprism
เบริล (Beryl)


การเกิด และแหล่งแร่ ทสี่ าคัญ
เบริ ลพบอยูท่ วั่ ไปในหิ นเพกมาไทต์ และหิ นแกรนิต โดยส่ วนใหญ่
ฝังแน่นอยูใ่ นเนื้อหิ น เป็ นเบริ ลคุณภาพต่า ส่ วนเบริ ลคุณภาพดีมกั เกิด
เป็ นรู ปผลึกอยูใ่ นช่องว่างของหิ นเพกมาไทต์ พบemeraldในหิ นmica
schist และหิ นไนส์เช่นกัน emerald คุณภาพดีมาจากเมือง Muzo และ El
Chivor ในประเทศColumbia พบในหิ นปูน โดยเกิดสัมพันธ์กบั สายแร่
น้ าร้อน แหล่งอื่นที่พบได้แก่ Brazil, Pakistan, Zambia, Nigeria,
Afghanistan, China และแหล่งใหม่ที่พบคือ Madagascar
ประโยชน์
ใช้ทาอัญมณี
ทัวร์ มาลีน (Tourmaline)



ระบบผลึก : ระบบสามแกนราบ (Hexagonal systems)
รูปผลึกทัว่ ไป : ประกอบด้วยผลึก 3 หน้า ของ trigonal prism และหน้า
ผลึก 6 หน้าของ second order hexagonal prism เมื่อมองในแนวตัดขวาง
จะเห็นเป็ นรู ปสามเหลี่ยม บางครั้งแสดงขอบโค้งซึ่งเป็ นลักษณะเฉพาะ
ของทัวร์มาลีน มักพบเส้นstriation ขนานไปกับผลึก
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักเกิดเป็ นผลึกเดี่ยวที่มีรูปผลึกสมบูรณ์
บางครั้งอาจรวมกันเป็ นกลุ่ม (massive) หรื อเรี ยงตัวเป็ นรัศมี หรื อเกิด
เป็ นผลึกเล็กยาวเหมือนเป็ นเส้นใยอยูร่ วมกัน
ทัวร์ มาลีน (Tourmaline)

คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : XR3Al6B3Si6O2.7(OH)4 โดยตาแหน่ง X และ R แตกต่างกัน
ตามชนิดแร่ ดังนี้
Elbaite : X = Na
R = Al และ Li
Liddicoatite : X = Ca R = Al และ Li
Dravite : X = Na
R = Mg
Uvite : X = Ca
R = Mg
Schorl : X = Na
R = Fe และ Mg
ทัวร์ มาลีน (Tourmaline)

คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 3.06
สี (colour) : พบทุกสี แต่สีที่พบบ่อยที่สุดคือ สี ดา ชนิดที่เป็ นอัญมณี ส่ วนใหญ่
อยูใ่ นประเภท elbaite และ liddicoatite และประเภท dravite
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 7 - 7 ½
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว (vitreous)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : ไม่เด่นชัด
รอยแตก(fracture) : ไม่เรี ยบ (uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใส (transparent) ถึงโปร่ งแสง (translucent)
ทัวร์ มาลีน (Tourmaline)
ทัวร์ มาลีน (Tourmaline)


องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ทัวร์มาลีน เป็ นแร่ ซิลิเกตที่มีโครงสร้างซับซ้อนของธาตุ B และ Al
ซึ่งมีการแทนที่ของธาตุเหล่านี้คือ Ca เข้าแทนที่ Na บริ เวณจุดศูนย์กลาง
ของช่องว่างที่เป็ นวงแหวน Mg และ Al แทนที่ Li ในระหว่างการจับตัว
กัน ของเตตระฮีดรอนแต่ละอัน ของวงแหวน Si6O18 และกลุ่ม BO3Fe3+
และ Mn3+ เข้าแทนที่ Al ในรู ปเหลี่ยมหลายหน้าที่จบั กับวงแหวน Si6O18
ลักษณะที่ใช้ จาแนก (Diagnostic features)
ภาพสามเหลี่ยมโค้งในแนวหน้าตัดตามขวางของแท่งผลึก
ทัวร์ มาลีน (Tourmaline)

การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
ทัวร์มาลีนมักเกิดในหิ นเพกมาไทต์ ที่มีองค์ประกอบเป็ นแกรนิต
(Granite pegmatite) และในหิ นข้างเคียงที่อยูโ่ ดยรอบ นอกจากนี้ยงั พบป็ น
แร่ รองในหิ นอัคนีและหิ นแปร ทัวร์มาลีนส่ วนใหญ่ที่เกิดในเพกมาไทต์จะ
มีสีดา และเกิดร่ วมกับแร่ ไมโครไคลน์ แอลไบต์ ควอรตซ์ และมัสโคไวต์
เพกมาไทต์ยงั เป็ นแหล่งของทัวร์มาลีนซึ่งมีLi เป็ นองค์ประกอบ จะมีสีจาง
และเกิดร่ วมกับแร่ เลพิโดไลต์ เบริ ล อะพาไทต์ ฟลูออไรต์ และแร่ หายาก
อื่นๆ ส่ วนทัวร์มาลีนสี น้ าตาล พบในหิ นปูนที่ตกผลึกใหม่
ทัวร์ มาลีน (Tourmaline)

แหล่งทัวร์มาลีนที่มีชื่อเสี ยง ได้แก่ อิตาลี บราซิล รัสเซีย
สหรัฐอเมริ กา ส่ วนในประเทศไทยพบทัวร์มาลีนสี ดาในหิ นเพกมาไทต์
ทัว่ ๆไป สี เขียวพบที่ จ.เชียงใหม่ และจันทบุรี สี ชมพูพบที่ จ.ชุมพร
ประโยชน์
ใช้ทาอัญมณี ใช้ทามาตรวัดความดัน เพื่อวัดความกดดันที่เกิดจาก
แรงระเบิด
Inosilicates หรือ Chain silicates
อิโนซิลิเกตมีลกั ษณะเด่น คือ ในโครงสร้างประกอบด้วย SiO4
เตตระฮีดรอน เชื่อมต่อกันเป็ นลูกโซ่ยาว โดยไม่ขาดตอนตลอดผลึก โดย
แต่ละเตตระฮีดรอนจะใช้ออกซิเจนไอออนร่ วมกับเตตระฮีดรอนอื่นๆ
จานวน 2 ไอออน หรื อ 2 ½ ไอออน จากลักษณะโครงสร้างดังกล่าว ทาให้
รู ปผลึกของแร่ กลุ่มนี้มกั ยาวตามทิศทางของลูกโซ่ หรื อยาวไปตาม
แนวแกน C เสมอ แร่ ในหมู่อิโนซิลิเกตแบ่งเป็ น 3 กลุ่มใหญ่ ตามลักษณะ
โซ่ ได้แก่
Inosilicates หรือ Chain silicates

กลุ่มไพรอกซีน (Pyroxene group : Single chain) เป็ นกลุ่มแร่ ที่ SiO4
เตตระฮีดรอนเชื่อมต่อกันเป็ นโซ่เดี่ยวๆ ตามแกน c โดยใช้ออกซิเจน
ร่ วมกัน 2 ไอออน (SiO3 chain) แต่ละแนวลูกโซ่จะเชื่อมต่อกันทาง
ด้านข้างด้วยไอออนบวกและในแนวลูกโซ่จะมีการซ้ ากันของโครงสร้าง
ทุกๆ 2 เตตระฮีดรอน เป็ นระยะทางประมาณ 5.2 อังสตรอม
Inosilicates หรือ Chain silicates

กลุ่มไพรอกซีนอย (Pyroxenoid group) มีลกั ษณะการเรี ยงตัวของ SiO4
เตตระฮีดรอนเช่นเดียวกับไพรอกซีน ต่างกันที่ลูกโซ่เตตระฮีดรอนจะมี
การบิดเบี้ยว หรื อหมุนเป็ นระยะๆ ทาให้การซ้ ากันของโครงสร้างเกิดขึ้น
ทุกๆ 3, 5, 7 เตตระฮีดรอน ซึ่งต่างจากไพรอกซีน
Inosilicates หรือ Chain silicates

กลุ่มแอมฟิ โบล (Amphibole group : Double chain) แร่ ในกลุ่มนี้มี
โครงสร้างเป็ นโซ่คู่ เกิดจากโซ่เดี่ยวๆ ดังเช่นไพรอกซีนมาจับเป็ นคู่ โดย
มีการใช้ออกซิเจนไอออน ร่ วมกัน 2 และ 3 ไอออนสลับกันไปในแต่ละ
เตตระฮีดรอน ซึ่งต่างกับในไพรอกซีนที่จะมีการซ้ ากันทุกๆ 2 เตตระฮี
ดรอน
Inosilicates หรือ Chain silicates



กลุ่มแร่ ไพรอกซีนทีส่ าคัญ คือ
Enstatite – Ferrosilite series
Sodium pyroxene group
Enstatite
MgSiO3
Jadeite NaAlSi2O6
Ferrosilite
FeSiO3
Aegirine NaFe3+Si2O6
Pigeonite
Ca0.25(Mg, Fe)1.75Si2O6 Spodumene
Diopside – Hedenbergite series
LiAlSi2O6
Diopside
CaMgSi2O6
Hedenbergite
CaFeSi2O6
Augite
XY(Z2O6)
เอนสตาไตต์ (Enstatite)
และเฟอร์ โรซิไลต์ (Ferrosilite)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนต่าง (Orthorhombic systems)
รูปผลึกทัว่ ไป : มีลกั ษณะเป็ นแท่ง แต่พบได้นอ้ ยมาก
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักเกาะกันเป็ นกลุ่มก้อน คล้ายเส้นใย หรื อ
เป็ นแผ่นซ้อนกัน
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : Enstatite
MgSiO3
Ferrosilite
FeSiO3
เอนสตาไตต์ (Enstatite)
และเฟอร์ โรซิไลต์ (Ferrosilite)

คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 3.2 - 3.6 สาหรับเอนสตาไตต์ที่บริ สุทธิ์ ถ.พ.จะ
เพิ่มขึ้นตามปริ มาณ Fe
สี (colour) : เทา เขียว เหลืองเข้ม เหลืองน้ าตาล น้ าตาลอมเขียว น้ าตาล และดา
(Gray, green, dark yellow, yellow-brown, greenish-brown, brown, black)
สี ผง(steak) : น้ าตาลอ่อน ถึง ขาวอมเทา (light brown to grayish white)
ความแข็ง(hardness) : 5 ½ - 6
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว, ไหม, กึ่งโลหะ และด้าน (Vitreous, silky,
submetallic, dull)
เอนสตาไตต์ (Enstatite)
และเฟอร์ โรซิไลต์ (Ferrosilite)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : มีแนวแตกเรี ยบ {210} ดี
รอยแตก(fracture) : ไม่เรี ยบ (uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงทึบแสง (transparent to opaque)
Enstatite
Ferrosilite
เอนสตาไตต์ (Enstatite)
และเฟอร์ โรซิไลต์ (Ferrosilite)

องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
องค์ประกอบของ Fe2+ อาจเข้าแทนที่ Mg ได้เกือบหมดจนถึง 90%
เป็ น FeSiO3 เอนสตาไตต์ที่บริ สุทธิ์จะประกอบด้วย MgO 40 % SiO2 60%
และมี CaO ไม่เกิน 1.5% โดยน้ าหนัก ส่ วนเฟอร์โรซิไลต์พบน้อยมากใน
ธรรมชาติ
ในการจัดแบ่งระหว่างแร่ เอนสตาไตต์และแร่ เฟอร์โรซิไลต์น้ นั แร่ ที่มี
ปริ มาณของ Mg และ Fe อยูด่ ว้ ย ในบางตาราใช้เรี ยก
ว่า Hyperstene บางตาราใช้คาว่า Orthopyroxene
เอนสตาไตต์ (Enstatite)
และเฟอร์ โรซิไลต์ (Ferrosilite)

Enstatite is magnesium silicate. However, it is usually contains some
iron replacing some magnesium. When a significant amount of iron
present, the mineral is called Hypersthene (magnesium iron silicate).
[Most authorities agree that Hypersthene contains a ratio of magnesium
to iron about 1:1. If only a small amount of iron is present, the mineral
is still Enstatite.] In many reference guides, Hypersthene is categorized
as a variety of Enstatite, and not as a separate mineral.
Enstatite forms a series with Ferrosillite (FeSi2O6), in which the
intermediary member is Hypersthene. Specimens of pure Enstatite
(without any iron) are not common, and specimens of pure Ferrosillite
(without any magnesium) are virtually unknown.
เอนสตาไตต์ (Enstatite)
และเฟอร์ โรซิไลต์ (Ferrosilite)
เอนสตาไตต์ (Enstatite)
และเฟอร์ โรซิไลต์ (Ferrosilite)



ลักษณะที่ใช้ จาแนก (Diagnostic features)
สี แนวแตกเรี ยบ และความวาว (colour, cleavage and luster ) วาไรตีที่มี
ปริ มาณ Fe สูง จะมีสีดา และแยกจากแร่ Augite ได้ยาก หากไม่ใช่วิธีตวรจ
คุณสมบัติทางแสง
การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
ออโทไพรอกซีนที่มี Mg มาก มักพบเป็ นแร่ ประกอบหิ น Perridotite
Gabbro Basalt และเกิดร่ วมกับClinopyroxene ที่มี Ca มาก (Augite) แหล่งที่
สาคัญคือ USA
ประโยชน์ ใช้ทาอัญมณี
ไดออปไซต์ (Diopside) ฮีเดนเบอร์ ไจต์ (Hedenbergite)
และออไจต์ (Augite)

Diopside และ Hedenbergite เกิดเป็ นอนุกรมผลึกผสมเนื้อเดียวอย่าง
สมบูรณ์ โดยมีคุณสมบัติทางกายภาพ และทางแสงแปรเปลี่ยนไปตาม
ส่ วนประกอบ ส่ วนAugite เป็ น Clinopyroxene ที่มี Na เข้าแทนที่ Ca
บางไอออน ส่ วน Al เข้าแทนที่ท้ งั Mg และ Si ถึงแม้ผลึกจะแตกต่างกัน
เล็กน้อย แต่กพ็ อที่จะบรรยายลักษณะต่างๆไปร่ วมกันได้
ไดออปไซต์ (Diopside) ฮีเดนเบอร์ ไจต์ (Hedenbergite)
และออไจต์ (Augite)




ระบบผลึก : ระบบหนึ่งแกนเอียง (Monoclinic systems)
รูปผลึกทัว่ ไป : ในผลึกมีลกั ษณะเป็ นแท่งprism แสดงหน้าตัดเป็ นรู ป
สี่ เหลี่ยมจตุรัส หรื อรู ป 8 เหลี่ยม
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักเกาะกันเป็ นกลุ่มก้อน เป็ นรู ปเสา
(columnar) และเป็ นแผ่นซ้อนกัน (lamellar) อาจพบผลึกแฝดซ้อนขนาน
บนแนว {001} หรื อบนแนว {100}
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : Diopside
CaMgSi2O6
Hedenbergite
(Ca,Fe) Si2O6
Augite
(Ca,Na)(Mg,Fe,Al)(Si,Al)2O6
ไดออปไซต์ (Diopside) ฮีเดนเบอร์ ไจต์ (Hedenbergite)
และออไจต์ (Augite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 3.2 – 3.3
สี (colour) : Diopside มีสีขาวถึงเขียว สี จะเข้มขึ้นตามปริ มาณ Fe (white to dark green,
up to the amount of Fe ) Augite มีสีดา (black) Hedenbergite มีสีเขียวถึงเขียวเข้ม
น้ าตาลอมเขียว น้ าตาล เทา ดา (Green to dark green, brownish-green, brown, gray,
black)
สี ผง(steak) : เขียวอ่อน จนถึง ขาว (light green to white)
ความแข็ง(hardness) : 5 - 6
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว (vitreous)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกในแนว {110} ไม่สมบูรณ์ (imperfect)
รอยแตก(fracture) : ไม่เรี ยบ (uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงโปร่ งแสง (transparent to translucent)
ไดออปไซต์ (Diopside) ฮีเดนเบอร์ ไจต์ (Hedenbergite)
และออไจต์ (Augite)
Diopside
Hedenbergite
Augite
ไดออปไซต์ (Diopside) ฮีเดนเบอร์ ไจต์ (Hedenbergite)
และออไจต์ (Augite)


องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ในอนุกรมไดออปไซด์และฮีเดนเบอร์ไจต์ Mg และ Fe2+ จะแทนที่
กันได้ทุกสัดส่ วน สาหรับ Augite จะมี Mg และ Fe2+ ไม่คงที่ Al สามารถ
เข้าแทนที่ได้ท้ งั Mg และ Si อาจพบ Mn Fe3+ Ti และ Na ปรากฏอยูบ่ า้ ง
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
ลักษณะรู ปร่ างผลึก และแนวแตกเรี ยบที่ทามุม 87o และ 93o ที่ไม่สมบูรณ์
ไดออปไซต์ (Diopside) ฮีเดนเบอร์ ไจต์ (Hedenbergite)
และออไจต์ (Augite)

การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
Diopside และ Hedenbergite เกิดในหิ นแปร Diopside มักเกิด
ร่ วมกับ Forsterite และ Calcite ซึ่งการเกิดแร่ เหล่านี้ เป็ นผลมาจากการ
แปรสภาพโดยได้รับอิทธิพลของความร้อนของหิ นปูน หรื อโดโลไมต์ที่
มีซิลิกาและแมกนีเซียมสูง ดังสมการต่อไปนี้
CaMg(CO3)2 + 2SiO2 -----------------> CaMgSi2O6 + 2CO2
Dolomite
Quartz
Diopside
ไดออปไซต์ (Diopside) ฮีเดนเบอร์ ไจต์ (Hedenbergite)
และออไจต์ (Augite)
ส่ วน Hedenbergite เกิดในหิ นแปรที่มี Fe สูง Diopsideและ
Hedenbergite เกิดจากการตกผลึกของหิ นอัคนี โดยในช่วงแรกนั้น แร่
Clinopyroxene ที่มี Ca สูงจะตกผลึกก่อน และในช่วงสุ ดท้ายอาจมีแร่
Hedenbergite ตกผลึกออกมา ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ปริ มาณของ Fe ที่หลงเหลือ
อยูใ่ นหิ นหนืดด้วย แหล่งที่สาคัญได้แก่ East Greenland, Russia, Austria,
Swisserland, Italy, Sweden, USA
ไดออปไซต์ (Diopside) ฮีเดนเบอร์ ไจต์ (Hedenbergite)
และออไจต์ (Augite)

ส่ วน Augite เป็ นแร่ ไพรอกซีนที่สามัญที่สุด และเป็ นแร่ ประกอบหิ น
ที่สาคัญ พบในหิ นอัคนีสีเข้ม เช่น Gabbro, Perridotite แหล่งที่สาคัญเช่น
East Greenland, Italy สาหรับในประเทศไทยพบแร่ ออไจต์เป็ นแร่ ประกอบ
หิ นอัคนี เช่นหิ น Andesite
ประโยชน์
วาไรตีที่โปร่ งใสของไดออปไซต์ใช้ทาอัญมณี
เจไดต์ (Jadeite)




ระบบผลึก : ระบบหนึ่งแกนเอียง (Monoclinic systems)
รูปผลึกทัว่ ไป : ลักษณะผลึกทัว่ ไปพบได้ยากมาก
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักพบเป็ นกลุ่มก้อน (massive)
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : NaAlSi2O6
เจไดต์ (Jadeite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 3.3 – 3.5
สี (colour) : มีหลายสี ต้ งั แต่ ขาว เขียว เหลือง ส้มอมแดง น้ าตาล เทา ดา และม่วงอ่อน
(white, green, yellow, reddish orange, brown, gray, black, lavender)
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 6 ½ - 7
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว ถึงคล้ายน้ ามัน (vitreous and greasy)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกในแนว {110} แต่ในก้อนหยกจะเหนียวมาก แตกหักยาก
รอยแตก(fracture) : แบบเม็ด ถึง แบบเสี้ ยน (granular to splintery)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : กึ่งโปร่ งแสงถึงทึบแสง (subtranslucent to opaque)
เจไดต์ (Jadeite)
เจไดต์ (Jadeite)


องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย Na2O 15.4% Al2O3 25.2% SiO2 59.4% Jadeite มี
องค์ประกอบอยูร่ ะหว่างNepheline (NaAlSiO4) และ Albite (NaAlSi3O8)
แต่ไม่ได้เกิดในสภาวะการตกผลึกเหมือนแร่ ท้ งั สอง แต่จะเกิดในสภาวะ
ความดันสูง (10 – 25 กิโลบาร์) และในอุณหภูมิสูง 600 – 1000 o C
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
ลักษณะเด่นที่สีเขียว และเป็ รการเกาะกลุ่มผลึกที่เหนียวมาก ผลึกมี
ลักษณะคล้ายเส้นใยอัดตัวกันแน่น ผิวที่ขดั มันแล้วจะมีความวาวคล้ายแก้ว
เจไดต์ (Jadeite)


การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
Jadeite พบในหิ นแปรเท่านั้น เกิดร่ วมกับแร่ Glaucophane, Aragonite,
Muscovite, Lawsonite, Quartz แหล่งที่สาคัญเช่น เทือกเขา Alpes, USA,
Mynmar, Thailand พบที่เชียงใหม่
ประโยชน์
ใช้ทาเครื่ องประดับตกแต่ง ภาชนะ
เครื่ องประดับ
สปอดูมนี (Spodumene)




ระบบผลึก : ระบบหนึ่งแกนเอียง (Monoclinic systems)
รูปผลึกทัว่ ไป : เป็ นแท่ง Prism มักเป็ นแผ่นแบตามแนว {100} มีร่องลึก
ตามแนวตั้งของผลึก ผลึกมักหยาบและหน้าผลึกขรุ ขระ
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักพบเป็ นกลุ่มก้อน (massive)
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : LiAlSi2O6
สปอดูมนี (Spodumene)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 3.15 – 3.20
สี (colour) : สี ขาว ไม่มีสี เทา ชมพู ม่วง เขียว เหลือง และน้ าตาล (White, colorless, gray,
pink, violet, green, yellow, brown) วาไรตีที่มีสีม่วงคล้ายดอกไลแลก โปร่ งใส เรี ยกว่า
คุนไซต์ (Kunzite) ส่ วนสี เขียวมรกต โปร่ งใส เรี ยก ฮิดเดนไนต์ Hiddenite
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 6 ½ - 7
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว (vitreous)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกในแนว {100}
รอยแตก(fracture) : แบบไม่เรี ยบ และแบบสี้ ยน (uneven and splintery)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงทึบแสง (transparent to opaque)
สปอดูมนี (Spodumene)
สปอดูมนี (Spodumene)



องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย Li2O 8.0 % Al2O3 27.4% SiO2 64.6% อาจพบ Na
เข้าแทนที่ Al ได้
ลักษณะที่ใช้ จาแนก (Diagnostic features)
แนวแตกเรี ยบตามแนว prism (cleavage)
การเกิด และแหล่งแร่ ทสี่ าคัญ
สปอดูมีนส่ วนใหญ่พบเฉพาะในหิ นเพกมาไทต์ที่มี Li มาก แม้วา่
เป็ นแร่ ที่ค่อนข้างหายาก แต่อาจพบก้อนแร่ ขนาดใหญ่ เช่นที่ เหมืองเอท
ตา (Etta Mine) ที่รัฐเซาท์ดาโกตา (South Dakota) ซึ่งแต่เดิมเป็ นเหมือง
ถลุงแร่ Li
สปอดูมนี (Spodumene)

แหล่งที่สาคัญ ได้แก่ Brazil และ Afganistan ส่ วนประเทศไทยมี
รายงานว่าพบที่ อ.สิ ชล จ.นครศรี ธรรมราช
ประโยชน์
ใช้ทาอัญมณี และเป็ นแหล่งสิ นแร่ ลิเทียม (Lithium Ore) ซึ่งนาไปใช้
ในการผสมกับจารบี เอรักษาสภาพการหล่อลื่น นอกจากนี้ยงั ใช้ในเซรา
มิกส์ แบตเตอร์รี่ เครื่ องปรับอากาศ และเป็ นน้ าประสานในการเชื่อม
กลุ่มไพรอกซีนอยด์ (Pyroxenoid group)

แร่ ในกลุ่มนี้มีสมมาตรต่ากว่ากลุ่มไพรอกซีน คือ อยูใ่ นระบบสามแกน
เอียง (Triclinic systems) โครงสร้างมีลกั ษณะเป็ นลูกโซ่ ทาให้คุณสมบัติ
บางประการมีลกษณะเด่น เช่น มีรอยแตกแบบเสี้ ยน และบางครั้งผลึกจะ
มีลกั ษณะคล้ายเส้นใย แร่ ในกลุ่มนี้ได้แก่
Wollastonite CaSiO3
Rhodonite
MnSiO3
Pectolite
Ca2NaH(SiO3)3
โรโดไนต์ (Rhodonite)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนเอียง (Triclinic systems)
รูปผลึกทัว่ ไป : โดยปกติผลึกมีรูปแบน (tabular) ที่ขานตามแนว {001}
มักมีผวิ ผลึกขรุ ขระและขอบผลึกกลมมน
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักเกาะกลุ่มกันเป็ นก้อนแน่น(massive) หรื อ
ลอกออกเป็ นแผ่น(lamellar) บางครั้งพบเป็ นผลึกฝังตัวในหิ น
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : MnSiO3
โรโดไนต์ (Rhodonite)

คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 3.4 – 3.7
สี (colour) : สี แดงกุหลาบ ชมพู น้ าตาล เพราะเกิด
การออกซิเดชันที่ผวิ (rose red, pink, brown cause
of oxidation)
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 5 ½ - 6 ½
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว และคล้ายมุก (vitreous and pearly)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกในแนว {110} สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : แบบไม่เรี ยบ และแบบฝาหอย (uneven and conchoidal)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงโปร่ งแสง (transparent to translucent)
โรโดไนต์ (Rhodonite)


องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
Rhodonite เป็ นแร่ ไม่บริ สุทธิ์ มักประกอบด้วย Ca ปะปนอยูบ่ า้ ง
โดยมี CaSiO3 ปริ มาณสูงสุ ดคือ 20 % Fe2+ อาจเข้าแทนที่ Mn ได้มากถึง
14% โดยน้ าหนัก
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
สี ชมพู แนวแตกเรี ยบเกือบ 90o แยกจาก
โรโดโครไซต์โดยที่โรโดไนต์ความแข็งสูงกว่า
โรโดไนต์ (Rhodonite)


การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
โรโดไนต์เกิดในแหล่งแร่ แมงกานีส และแหล่งแร่ เหล็กที่มีปริ มาณ
สูงปนอยูม่ าก ซึ่งแหล่งดังกล่าวนี้ ด้รับอิทธิพลจากกระบวการแปรสภาพ
ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการแปรสภาพโดยการแทนที่
แหล่งที่สาคัญ เช่น Sweden, Russia, Ural Mountain, Australia,
USA ประเทศไทยพบที่ เลย พิจิตร แพร่ และนราธิวาส
ประโยชน์
ใช้ทาเครื่ องประดับ
กลุ่มแอมฟิ โบล (Amphibole group)


แร่ ในกลุ่มนี้สามารถเปลี่ยนจากแร่ หนึ่งไปยังอีกแร่ หนึ่งได้ โดยการ
แทนที่ของไอออนต่างๆ ถึงแม้วา่ จะมีส่วนประกอบทางเคมีต่างกันเพียง
เล็กน้อยก็เรี ยกเป็ นแร่ ชนิดใหม่ ดังนั้นจึงได้ต้ งั ชื่อแร่ ในกลุ่มนี้วา่ แอมฟิ
โบล(Amphibole) มาจากคาว่า Ambibolos (Ambiguous) แปลว่า
คลุมเครื อ ไม่ชดั เจน (not clear)
แร่ ในกลุ่มนี้ที่พบมากได้แก่
Anthophyllite
(Mg,Fe)7Si8O22(OH)2
Cummingtonite series
Cummingtonite
Fe2Mg5Si8O22(OH)2
Grunerite
Fe7 Si8O22(OH)2
กลุ่มแอมฟิ โบล (Amphibole group)
Tremolite series
Tremolite
Actinolite
Hornblende
Sodium Amphibole group
Galucophane
Riebeckite
Ca2Mg5 Si8O22(OH)2
Ca2(Mg,Fe)5 Si8O22(OH)2
X2-3Y5Z8O22(OH)2
Na2Mg3Al2 Si8O22(OH)2
Na2Fe32+Fe23+ Si8O22(OH)2
ทรีโมไลต์ (Tremolite) และ แอคติโนไลต์ (Actinolite)




ระบบผลึก : ระบบหนึ่งแกนเอียง (Monoclinic systems)
รู ปผลึกทัว่ ไป : มักเป็ นรู ปแท่งprism ด้านปลายผลึกมีฟอร์มprismทามุมต่า ปิ ดอยู่
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักจับตัวกันเป็ นกลุ่มแบบใบมีด (bladed) หรื อเป็ นรู ปเสา
กระจายตามแนวรัศมี (columnar) บางครั้งมีลกั ษณะคล้ายเส้นใย(fibrous) หรื อเป็ นเม็ด
หยาบ เม็ดละเอียดเกาะกัน นอกจากนี้ยงั พบเป็ นเม็ดอัดตัวกันแน่น (massive)
ผลึกที่เป็ นเส้นใย(fibrous)เกาะกลุ่มกันคล้ายสักหลาด เรี ยกว่า Mountain leather
หรื อ Mountain cork ส่ วนวาไรตีที่เหนียวเรี ยกว่า Nephrite
คุณสมบัตทิ างเคมี
สูตรเคมี : Tremolite
Ca2Mg5 Si8O22(OH)2
Actinolite
Ca2(Mg,Fe)5 Si8O22(OH)2
ทรีโมไลต์ (Tremolite) และ แอคติโนไลต์ (Actinolite)
Nephrite
ทรีโมไลต์ (Tremolite) และ แอคติโนไลต์ (Actinolite)

คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 3.0 – 3.3
สี (colour) : ขาว ถึง เขียว (whte to green)
สี ผง(steak) : ไม่มีสี (colourless)
ความแข็ง(hardness) : 5 - 6
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้วหรื อคล้ายไหม (vitreous or silky)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกในแนว {110} สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : แบบไม่เรี ยบ และแบบเสี้ ยน (uneven and splintery)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงโปร่ งแสง (transparent to
translucent)
ทรีโมไลต์ (Tremolite) และ แอคติโนไลต์ (Actinolite)
Tremolite
Actinolite
ทรีโมไลต์ (Tremolite) และ แอคติโนไลต์ (Actinolite)


องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
Tremolite ประกอบด้วย CaO 13.81% MgO 24.81% SiO2 59.17%
H2O 2.22% ส่ วน Actinolite ประกอบด้วย CaO 12.81% MgO 13.81%
FeO 16.41% SiO2 54.91% H2O 2.06%
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
ผลึกเป็ นแท่งprism มีแนวแตกเรี ยบตามแนวprismที่ดี
ทรีโมไลต์ (Tremolite) และ แอคติโนไลต์ (Actinolite)


การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
Tremolite ส่ วนใหญ่พบในหิ นปูนที่มีแร่ Dolomite ซึ่งถูกแปรสภาพ
ส่ วนActinolite เป็ นแร่ ที่พบในลักษณะปรากฎของGreenschist facies
ของกระบวนการแปรสภาพ และยังเกิดในหิ น Galucophane schist
ร่ วมกับแร่ quartz, epidote, glaucophane, lawsonite
แหล่งที่สาคัญของแร่ ได้แก่ Swisserland, Italy, USA, ส่ วน
Nephrite พบที่ China, New Zealand, Mexico, USA
ประโยชน์
Nephrite ใช้ทาอัญมณี และเป็ นแร่ ประดับ
Phyllosilicates หรือ Sheet silicates


คาว่า ฟิ ลโลซิลเกต (Phyllosilicate) มาจากภาษากรี กว่า ฟิ ลลอน (Phyllon)
หมายถึง ใบไม้(leaf) เนื่องจากแร่ ในกลุ่มนี้ส่วนใหญ่มีลกั ษณะเป็ นแผ่น หรื อ
เป็ นเกล็ด มีแนวแตกเรี ยบที่เด่นชัดมาก 1 ทิศทาง โดยทัว่ ไปเป็ นแร่ ที่มีความ
แข็ง และถ.พ.ต่า อาจมีคุณสมบัติโค้งงอได้(flexibility) หรื อดีดกลับได้
(elasticity) ของแผ่นที่ลอกออกตามแนวเรี ยบ
การที่แร่ กลุ่มนี้มีลกั ษณะเป็ นแผ่นลอกออกจากกันได้ง่ายนั้น เนื่องจาก
โครงสร้างประกอบด้วยชั้นของซิลิกอนเตตระฮีดรอน (SiO4) จับตัว
ต่อเนื่องกันเป็ นแผ่น แผ่นเหล่านี้วางตัวซ้อนกัน และเชื่อมต่อกันด้วยแรง
แวนเดอร์วาลส์ หรื อพันธะไฮโดรเจน ซึ่งทาให้เกิดแนวแตกเรี ยบชัดเจนเพียง
ทิศทางเดียว นอกจากนี้ยงั ทาให้แร่ มีความแข็งในแนวต่างๆ แตกต่างกัน โดย
ความแข็งในแนวแตกเรี ยบมีค่าน้อยกว่าในแนวอื่น
Phyllosilicates หรือ Sheet silicates




ตัวอย่างแร่ ในหมู่ฟิลโลซิลิเกตได้แก่
Serpentine group
Antiglorite
Mg3Si2O5(OH)4
Chrysotile
Mg3Si2O5(OH)4
Clay mineral group
Kaolinite
Al2Si2O5(OH)4
Talc
Mg3Si4O10(OH)2
Pyrophyllite
Al2Si4O10(OH)2
Phyllosilicates หรือ Sheet silicates


Micagroup
Muscovite
Phlogopite
Biotite
Lepidolite
Margarite
Chlorite group
Chlorite
KAl2(AlSi3O10)(OH)2
KMg3(AlSi3O10)(OH)2
K(Mg,Fe)3(AlSi3O10)(OH)2
K(Li,Al)2-3(AlSi3O10)(OH)2
CaAl2(AlSi3O10)(OH)2
(Mg, Fe)3(Si, Al)4O10(OH)2 – (Mg,Fe)3(OH)6
Phyllosilicates หรือ Sheet silicates



นอกจากนี้ยงั มีแร่ ที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กบั ฟิ ลโลซิลิเกตอย่าง
น้อย 3 ชนิด คือ
Apophyllite
KCa2(Si4O10)2F.8H2O
Prehnite
Ca2Al(AlSi3O10)(OH)2
Chrysocolla
Cu4H4Si4O10(OH)8
ไบโอไทต์ (Biotite)




ระบบผลึก : ระบบหนึ่งแกนเอียง (Monoclinic systems)
รูปผลึกทัว่ ไป : มักเป็ นรู ปแท่งprism แบนๆ(tabular)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักอยูร่ วมกันเป็ นแผ่นซ้อนๆกัน
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : K(Mg,Fe)3(AlSi3O10)(OH)2
ไบโอไทต์ (Biotite)

คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 2.7 – 3.1
สี (colour) : น้ าตาลเข้ม น้ าตาลอมเขียว น้ าตาลอมดา เหลือง และขาว (dark
brown, greenish brown, blackish brown, yellow, white)
สี ผง(steak) : เทา (gray)
ความแข็ง(hardness) : 2 ½ - 3
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้วหรื อคล้ายมุก (vitreous or pearly)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกในแนว {001} สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : แบบแผ่น (micaceous)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงโปร่ งแสง (transparent to translucent)
ไบโอไทต์ (Biotite)


องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย K2O 10.86% MgO 23.24% Al2O3 11.76% FeO
8.29% SiO2 41.58% H2O 3.64% และ F 1.10%
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
สามารถลอกออกเป็ นแผ่นได้ โค้งงอได้ (flexible) และดีดกลับได้
(elasticity)
ไบโอไทต์ (Biotite)


การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
มักพบในหิ นแกรนิต และหิ นอัคนีชนิดอื่นๆ แร่ ไบโอไทต์มกั พบ
เป็ นผลึกขนาดใหญ่อยูใ่ นสายแร่ เพกมาไทต์ (pegmatite veins) สามารถ
กิดได้ในอุณหภูมิและความดันในช่วงกว้าง เกิดร่ วมกับแร่ Quartz,
feldspar, apatite, calcite, hornblende, garnet, schorl แหล่งที่สาคัญได้แก่
Canada, USA, Scotland
ประโยชน์
ใช้เป็ นฉนวนกันความร้อน (good heat insulator)
มัสโคไวต์ (Muscovite)




ระบบผลึก : ระบบหนึ่งแกนเอียง (Monoclinic systems)
รูปผลึกทัว่ ไป : มักเป็ นรู ปแท่ง prism แบนๆ(tabular)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักอยูร่ วมกันเป็ นแผ่นซ้อนๆกัน มีเค้าโครง
คล้ายกับฟอร์มของ hexagonal (psedohexagonal)
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : KAl2(AlSi3O10)(OH)2
มัสโคไวต์ (Muscovite)

คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 2.77 – 2.88
สี (colour) : ขาว เทา เงิน ขาวอมน้ าตาล ขาวอมเขียว (white, gray, silver white,
brownish white, greenish white)
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 2 – 2 ½
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว (vitreous)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกในแนว {001} สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : แบบแผ่น (micaceous)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงโปร่ งแสง (transparent to translucent)
มัสโคไวต์ (Muscovite)
มัสโคไวต์ (Muscovite)



องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย K2O 11.81% Al2O3 38.36 % SiO2 45.21% H2O 4.07% และ
F 0.95%
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
สามารถลอกออกเป็ นแผ่นได้ โค้งงอได้ (flexible) และดีดกลับได้
(elasticity)
การเกิด และแหล่ งแร่ ทสี่ าคัญ
แร่ มสั โคไวต์เป็ นแร่ สามัญและแร่ ปฐมภูมิ(primary minerals) พบได้ท้ งั ใน
หิ นอัคนี หิ นตะกอน และหิ นแปร เกิดร่ วมกับแร่ tourmaline, topaz, beryl,
almandine และอื่นๆ แหล่งที่สาคัญได้แก่ India, Pakistan, Brazil, USA
คาโอลิไนต์ (Kaolinite)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนเอียง (Triclinic systems)
รูปผลึกทัว่ ไป : ผลึกมีขนาดเล็ก ไม่สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มีลกั ษณะเป็ นเม็ดเล็กคล้ายดินอัดแน่น หาย
ใช้กาลังขยายจะพบรวมกันเป็ นแผ่นซ้อนๆ
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : Al2Si2O5(OH)4
คาโอลิไนต์ (Kaolinite)

คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 2.16 – 2.68
สี (colour) : ขาว อาจพบสี แดง น้ าเงิน และสี น้ าตาลเจืออยู่
เป็ นผลมาจากมลทิน (white sometimes red, blue or brown
tints from impurities)
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 2 – 2 ½
ประกาย(Luster) : คล้ายดิน หรื อ ด้าน (earthy or dull)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกในแนว {001} สมบูรณ์
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงโปร่ งแสง (transparent to translucent)
คาโอลิไนต์ (Kaolinite)



องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย Al2O3 39.5% SiO2 46.55% และ H2O 13.96%
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
มีลกั ษณะเบา สี ขาว
การเกิด และแหล่งแร่ ทสี่ าคัญ
แร่ คาโอลิไนต์เป็ นผลิตผลมาจากการผุพงั ของของแร่ mica,
plagioclase และ alkali feldspar ภายใต้อิทธิพลของน้ า
คาร์บอนไดออกไซด์ และกรดอินทรี ย ์ มักเกิดร่ วมกับแร่ ดินเหนียว quartz,
mica, sillimanite, tourmaline และ rutile
คาโอลิไนต์ (Kaolinite)

แหล่งแร่ ที่สาคัญ ได้แก่ China, USA, Bulgaria ส่ วนในประเทศไทย
พบหลายแห่ง เช่น ลาปาง อุตรดิตถ์ ปราจีนบุรี ระนอง สุ ราษฎร์ธานี
นครศรี ธรรมราช เป็ นต้น
ประโยชน์
ประโยชน์ของแร่ ดินขาวมีมากมายหลายประการ เช่น ในด้าน
การเกษตร เป็ นส่ วนผสมในการทาช็อคโกแลต เป็ นส่ วนประกอบสาคัญ
ในอุตสาหกรรมเครื่ องปั้นดินเผา เซรามิกส์ การแพทย์ เคลือบกระดาษ
หรื อแม้กระทัง่ ยาสี ฟัน และเครื่ องสาอางค์ แร่ คาโอลิไนต์มชี ื่อทางการค้า
ว่า เกาลิน (Kaolin) มาจากชื่อเหมืองในประเทศจีน
ทัลก์ (Talc)




ระบบผลึก : ระบบหนึ่งแกนเอียง (Monoclinic systems)
รูปผลึกทัว่ ไป : ที่พบเป็ นรู ปผลึกหายากมาก ปกติพบเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยม
ขนมเปี ยกปูน หรื อเฮกซะโกนอล
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักมีการเรี ยงตัวของเม็ดแร่ และตามแนวรัศมี
ถ้าเป็ นกลุ่มที่เป็ นก้อนเนื้อแน่น เรี ยกว่าหิ นสบู่ (Soap stone)
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : Mg3Si4O10(OH)2
ทัลก์ (Talc)

คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 2.7 – 2.8
สี (colour) : เขียว ขาว เทา หรื อขาวเงิน (green, white, gray or silver gray)
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 1
ประกาย(Luster) : คล้ายมุก หรื อ คล้ายไข (pearly or waxy)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกในแนว {001}
รอยแตก(fracture) : แบบไม่เรี ยบ (uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งแสง (translucent)
ทัลก์ (Talc)


องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
แร่ ทลั ก์บริ สุทธิ์ ประกอบด้วย MgO 31.7% SiO2 63.5% H2O
4.8% Al หรื อ Ti อาจเข้าไปแทนที่ Si ได้บา้ งเล็กน้อย ส่ วน Fe อาจเข้า
แทนที่ Mg ได้บา้ ง
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
ลักษณะรู ปร่ างทัว่ ไปของผลึก แนวแตกเรี ยบ ความแข็งต่า และ
สัมผัสลื่นเหมือนไข
ทัลก์ (Talc)


การเกิด และแหล่งแร่ ทสี่ าคัญ
ทัลก์เป็ นแร่ ทุติยภูมิ(secondary mineral) เกิดขึ้นโดยการแปรเปลี่ยนสภาพ
ของสารแมกนีเซี ยมซิ ลิเกต เช่น Olivine, pyroxene และ amphibole ทัลก์ที่เป็ นวาไร
ตีหินสบู่ เกิดในหิ นแปรเกรดต่า ในลักษณะเป็ นก้อนเนื้อแน่น ซึ่งอาจพบเป็ น
องค์ประกอบอยูเ่ กือบทั้งหมดของมวลหิ น นอกจากนี้ยงั พบเป็ นองค์ประกอบของ
หิ นชีสต์ เรี ยกว่า หิ นทัลก์ชีสต์ (Talc schist) แหล่งที่สาคัญ เช่น USA สาหรับ
ประเทศไทยพบที่ อุตรดิตถ์
ประโยชน์
ทัลก์และหิ นสบู่ส่วนใหญ่ใช้ทาแป้ งผัดหน้า และแป้ งโรยตัว ลักษณะที่เป็ น
ผงใช้ผสมสี เซรามิกส์ ยาง และยาฆ่าแมลง เครื่ องมุงหลังคา กระดาษ และการฉาบ
เบ้าหล่อ สามารถใช้เป็ นวัตถุตกแต่งได้ เช่น ใช้แกะสลักเป็ นของชิ้นเล็กๆ
Tectosilicates หรือ Framework silicates

แร่ ในหมู่เทคโทซิลิเกต ประกอบด้วยแร่ ที่มีองค์ประกอบเป็ น SiO4 เต
ตระฮีดรอนเป็ นพื้นฐาน มีไอออนของออกซิเจนทุกตัวในเตตระฮีดรอน
ใช้ร่วมกันกับเตตระฮีดรอนที่อยูต่ ิดกัน เป็ นผลให้โครงสร้างมีสภาพ
เสถียรมาก โครงสร้างที่จบั ตัวกันแข็งแรงในสัดส่ วน Si :O คือ 1 : 2
ตัวอย่างแร่ ในหมู่น้ ีได้แก่
Tectosilicates หรือ Framework silicates


SiO2 Group
Quartz
Tridymite
Cristobalite
Opal
Feldspar group
•
SiO2
SiO2
SiO2
SiO2.nH2O
K – feldspar
Microcline
Orthoclase
Sanidine
KAlSi3O8
Tectosilicates หรือ Framework silicates



Feldsparthoid group
Leucite
Nepheline
Sodalite
Lazurite
Plagioclase feldspar
Albite
Anorthite
Analcime
KAlSi2O6
(Na,K)AlSiO4
Na8(AlSiO4)6Cl2
(Na,Ca)8(AlSiO4)6 (SO4, S,Cl)2
NaAlSi3O8
CaAl2Si2O8
NaAlSi2O6.H2O
ควอรตซ์ (Quartz)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนราบ (Hexagonal systems)
รูปผลึกทัว่ ไป : ลักษณะของผลึกทัว่ ไปเป็ นรู ปแท่ง (prism) หรื อหน้าผลึกที่
มีแนวเส้นวางตัวในแนวราบ ปลายผลึกมักประกอบด้วยฟอร์มผลึก
rhombohedral ขวาและซ้ายผสมกันอยู่ ซึ่งมีลกั ษณะของหน้าผลึกเท่าๆกัน
ในบางผลึกอาจมีรอมโบฮีดรอนเด่นเพียงชุดเดียว
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : ผลึกอาจเรี ยงเป็ นแถว (drusy) นอกจากนี้ยงั พบ
เกิดเป็ นกลุ่มก้อนจากผลึกขนาดหยาบไปจนถึงละเอียด รวมทั้งเป็ นหิ นแข็ง
หรื อผลึกซ่อนรู ป ทาให้เกิดเป็ นวาไรตีต่างๆมากมาย
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : SiO2
ควอรตซ์ (Quartz)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 2.67
สี (colour) : เมื่อบริ สุทธิ์ จะใสไม่มีสี ดังจะกล่าวไว้ในหัวข้อวาไรตี ต่อไป
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 7
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว (vitreous)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : ไม่มี (none)
รอยแตก(fracture) : แบบฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงโปร่ งแสง (transparent to translucent)
ควอรตซ์ (Quartz)


องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
เมื่อเทียบกับแร่ ทุกชนิดแล้ว ควอรตซ์เป็ นแร่ ที่มีองค์ประกอบที่
ใกล้เคียงกับความบริ สุทธิ์ทางเคมีมากที่สุด และมีคุณสมบัติทางกายภาพ
ที่คงที่มากที่สุด ประกอบด้วย Si 46.7% และ O 53.3% โครงสร้างของ
ควอรตซ์อุณหภูมิต่า (Low quartz) จะเปลี่ยนเป็ นควอรตซ์อุณหภูมิสูงได้
ที่อุณภูมิ 573o C โดยเปลี่ยนเพียงโครงสร้างภายในเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
และไม่มีการแตกของพันธะ Si-O เลย
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
ความวาวคล้ายแก้ว รอยแตกเหมือนฝาหอย และฟอร์มผลึก
ควอรตซ์ (Quartz)


วาไรตี (Varieties) ควอรตซ์จดั แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มคือ กลุ่มผลึกหยาบ
(Coarsely crystalline varieties) และกลุ่มผลึกละเอียด
(cryptocrystalline varieties) ดังนี้
กลุ่มผลึกหยาบ (Coarsely crystalline varieties)
Rock crystal ร็อคคริสตัล : แร่ ควอรตซ์สไม่มีสี ปกติพบเป็ นผลึกที่
แยกออกชัดเจน
Amethyst อะเมทิสต์ : ควอรตซ์สีม่วง ม่วงอมน้ าเงิน และม่วงอมแดง
โปร่ งแสงถึงโปร่ งใส สี เกิดจาก Fe และศูนย์กลางสี
Citrine ซิทริน : สี เหลือง ส้ม ถึงส้มอมน้ าตาล ใสสะอาด อาจสับสน
กับโทแพซได้
ควอรตซ์ (Quartz)
Rose quartz โรสควอรตซ์ : สี ชมพูอ่อน โดยปกติไม่เห็นฟอร์ มของผลึก สี เกิดจาก Ti4+
Smoky quartz สโมกกีค้ วอรตซ์ : สี น้ าตาลอ่อนจนถึงน้ าตาลเข้ม สี เกิดจากAl3+
Milky quartz มิลกีค้ วอรตซ์ : สี ขาวขุ่น เกิดจากมลทินก๊าซและของเหลวจานวนมาก
Quartz with inclusions ควอรตซ์ ทมี่ ีแร่ มลทิน :
Tiger’s eye ตาเสื อ หรือคตไม้ สัก : แถบเหลืองแสงสี เหลืองน้ าตาล เกิดจากเส้นใย
ของแร่ ใยหิ น(chrosidolite)
Cat’s eye quartz : มีมลทินแร่ ใยหิ นอัดตัวกันแน่นขนานกัน เกิดเป็ นปรากฎการณ์
ตาแมว ถ้าเรี ยงตัวกัน 3 ทิศทาง จะเกิดสตาร์ เรี ยกว่า star quartz
Rutilated quartz : แร่ ควอรตซ์ประกอบด้วยมลทินแร่ รูไทล์ เหมือนเส้นเข็มสี แดง
สี ทอง ภาษาไทยเรี ยกว่าแก้วโป่ งข่าม
ควอรตซ์ (Quartz)
ควอรตซ์ (Quartz)


กลุ่มผลึกละเอียด (cryptocrystalline varieties) วาไรตีน้ ีแบ่งออกเป็ น 2
ประเภทตามโครงสร้างของเนื้อผลึกแร่ ที่มาเกาะกลุ่มกัน คือ เป็ นเม็ด
(granular) และเป็ นเส้นใย(fibrous) ซึ่งต้องใช้กล้องกาลังขยายสู งจึงจะ
มองเห็นได้ ในทางปฏิบตั ิจึงเรี ยกรวมๆว่า คาลซีโดนี (Chalcedony)
Fibrous varieties คาว่าคาลซีโดนี หมายถึง ควอรตซ์เนื้อละเอียด มีสี
เหลืองหรื อสี น้ าผึ้งอ่อนๆ ถึงสี เทา โปร่ งแสง และประกายเหมือนไข มัก
เกิดเป็ นก้อนแบบ botryoidal สี และแถบสี ของแร่ ชนิดนี้ถูกแบ่งออกเป็ น
วาไรตี้ดงั นี้
ควอรตซ์ (Quartz)
Carnelian คาร์ นีเลียน : สี ส้มอมเหลือง ถึงแดงอมส้ม หรื อแดงอม
น้ าตาล กึ่งโปร่ งแสงหากมีสีน้ าตาลเข้มเรี ยกว่า ซาร์ด (Sard)
Chrysoprase ไครโซเพรส : สี เขียวอมเหลือง โปร่ งแสง เป็ นคาลซีโดนีที่
ราคาดีที่สุด
Agate อะเกต : ประกอบด้วยหลายแถบสี มีความหนาและความพรุ น
แตกต่างกัน สลับกันเป็ นชั้นๆ
Onyx โอนิกซ์ : คล้ายอะเกตแต่จะมีสีสลับกันเป็ นสี ขาว ดา ถ้ามีสีแดง
สลับอยูด่ ว้ ยเรี ยกว่า ซาร์โดนิกซ์ (sardonyx)
ควอรตซ์ (Quartz)

Granular varieties ประกอบด้วยเม็ดควอรตซ์ขนาดละเอียดเท่าๆกัน
ดังนี้
Jasper แจสเปอร์ : สี แดงถึงน้ าตาลอมแดง ทึบแสง
Prase เพรส : คล้ายแจสเปอร์ สี เขียว มักเกิดร่ วมกัน
ควอรตซ์ (Quartz)
ควอรตซ์ (Quartz)

การเกิด และแหล่งแร่ ทสี่ าคัญ
ควอรตซ์เป็ นแร่ สามัญที่เกิดอยูม่ ากมายในสภาพแวดล้อมทาง
ธรณี วิทยาได้อย่างกว้างขวาง มีอยูใ่ นหิ นอัคนีและหิ นแปรหลายชนิด
และเป็ นองค์ประกอบหลักของหิ นเพกมาไทต์ที่เป็ นแกรนิต เกิดในสาย
แร่ แบบน้ าร้อน สายแร่ โลหะ และสายแร่ อื่นๆหลายชนิด
ร็ อคคริ สตัลพบหลายแห่งที่มีชื่อเสี ยง เช่น เทือกเขาAlpes, Brazil, Japan
อะเมทิสต์พบที่ เทือกเขาUral, เชกโกสโลวเกีย, อุรุกวัย, แซมเบีย และ
บราซิล
สโมกกี้ควอรตซ์ พบที่สวิสเซอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริ กา
ควอรตซ์ (Quartz)
แหล่งที่สาคัญของอะเกตอยูท่ างตอนใต้ของประเทศบราซิล และทาง
ตอนเหนือของประเทศอุรุกวัย เยอรมนี ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริ กา เดนมาร์ก
สาหรับประเทศไทย พบคาลซีโดนีมากที่เขาโป่ งหัวแหวน บ้านห้วยดี
เลิศ อ.พนัสนิคม จ.ลพบุรี ส่ วนผลึกใสพบที่อ.เถิน จ.ลาปาง น่าน อุตรดิตถ์
นครสวรรค์ ระนอง พังงา ภูเก็ต อะเมทิสต์พบที่ลาปาง ตาก นครนายก โรสค
วอรตซ์พบที่ จันทบุรี ราชบุรี ระนอง พังงา และภูเก็ต
ควอรตซ์ (Quartz)

ประโยชน์
ควอรตซ์มีประโยชน์หลายประการ เช่น ใช้เป็ นอัญมณี
เครื่ องประดับตกแต่ง ควอรตซ์ในรู ปของเม็ดทราย ใช้ทาครก ผสม
คอนกรี ต ฟลักซ์ และผงขัด รวมทั้งในอุตสาหกรรมทาแก้ว และอิฐที่เป็ น
ซิลิกา ผงควอรตซ์ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่ องปั้นดินเผา สี กระดาษทราย
สบู่ถูตวั สารอัดเนื้อไม้ก่อนลงสี เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั นามาทาอุปกรณ์
วิทยาศาสตร์ เพราะมีคุณสมบัติยอมให้รังสี อินฟราเรดและ
อัลตราไวโอเลตผ่านได้
โอปอ (Opal)



ระบบผลึก : เป็ นผลึกอสัณฐาน (mineraloid)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : เป็ นก้อนเนื้อแน่น มักพบเป็ นรู ปพวงองุ่น
หิ นย้อย
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : SiO2.nH2O
โอปอ (Opal)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 2.0 – 2.25
สี (colour) : ไม่มีสี ขาว เทา และน้ าเงิน ชนิดPrecious opal แสดงการเล่นสี (play of
colour) หากไม่เล่นสี เรี ยกว่า Common opal
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 5 - 6
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้วหรื อคล้ายางสน (vitreous or resinous)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : ไม่มี (none)
รอยแตก(fracture) : แบบฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงโปร่ งแสง (transparent to translucent)
โอปอ (Opal)

องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
โครงสร้างของโอปอประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็ก เรี ยกว่า ซิลิกา
เจล (Silica gel) ขนาดต่างๆ(150 -300 nm) เรี ยงตัวอัดชิดแบบ hexagonal
packing ทาให้เกิดระนาบของช่องว่างที่มีระยะห่างของแต่ละระนาบ
เท่าๆกัน ในช่องว่างอาจมีน้ า อากาศ หรื อ ซิลิกา ที่มีค่าดัชนีหกั เหต่างกัน
เล็กน้อยเมื่อแสงตกมากระทบช่องว่างเหล่านี้ จึงเกิดการสะท้อนของแสง
ในช่วงคลื่นที่แน่นอนออกจากโอปอ ขนาดของทรงกลมมีส่วนสาคัญต่อ
สี ที่เห็น ถ้ามีขนาดเล็ก ช่วงคลื่นแสงสะท้อนออกมาจะมีสีน้ าเงิน แต่ถา้ มี
ขนาดใหญ่แสงที่สะท้อนออกมาจะมีสีแดง
โอปอ (Opal)
โอปอ (Opal)



ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
แยกจากควอรตซ์ โดยโอปอมีความแข็งและถ.พ.ต่ากว่า และมีน้ าเป็ นองค์ประกอบ
การเกิด และแหล่งแร่ ทสี่ าคัญ
โอปอเกิดอยูใ่ กล้ผวิ โลก เป็ นสายแร่ หรื อป็ นก้อนแทรกอยูใ่ นหิ นอื่น บางครั้งอาจเกิดจาก
การหมุนเวียนของน้ าบาดาล หรื อสารละลายน้ าแร่ ร้อนที่แทรกดันขึ้นมาจนถึงใกล้ผวิ โลก
เมื่อเจอสภาวะที่เหมาะสมเช่น ซิ ลิกา ออกซิ เจน และน้ า ซึ่ งเป็ นส่ วนประกอบสาคัญของ
โอปอ เกิดการแข็งตัวเป็ นโอปอแทรกตัวอยูใ่ นหิ นอัคนีหรื อหิ นตะกอน แหล่งโอปอที่
สาคัญของโลกอยูท่ ี่ออสเตรเลีย นอกจากนี้ยงั พบที่ เมกซิ โก สหรัฐอเมริ กา อินโดนีเซี ย
ฮังการี เป็ นต้น
สาหรับประเทศไทย พบไดอะตอมไมต์ ซึ่ งเป็ นวาไรตีหนึ่งของโอปอ พบที่ จ.ลาปาง โอ
ปอธรรมดาพบที่ลพบุรี นอกจากนี้พบที่ นครราชสี มา น่าน ลาพูน
ประโยชน์
ใช้ทาอัญมณี
ไมโครไคลน์ (Microcline)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนเอียง (Triclinic system)
รูปผลึกทัว่ ไป : รู ปผลึกทัว่ ไปคล้ายกับฟอร์มของออร์โทเคลส เกิดเป็ น
ผลึกแฝดเช่นเดียวกับออร์โทเคลส
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักเกิดเป็ นแถบที่ไม่ต่อเนื่อง มีรูปร่ างไม่
แน่นอน อันเกิดจากผลึกผสมเนื้อแยก จากแร่ แอลไบต์
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : KAlSi3O8
ไมโครไคลน์ (Microcline)

คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 2.54 – 2.57
สี (colour) : ขาวถึงเหลืองอ่อน สี แดง เขียว เรี ยกว่า อะเมโซไนต์ (Amazonite)
(white to light yellow, red, green called Amazonite)
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 6
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว (vitreous)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกในแนว {001} สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : แบบฝาหอยถึงไม่เรี ยบ (conchoidal to uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงโปร่ งแสง (transparent to translucent)
ไมโครไคลน์ (Microcline)
ไมโครไคลน์ (Microcline)



องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย K2O 16.9% Al2O3 18.4% SiO2 64.7% Na เข้า
แทนที่ K ได้บา้ ง
ลักษณะที่ใช้ จาแนก (Diagnostic features)
ส่ วนใหญ่มกั ใช้การส่ งกล้องจุลทรรศน์ในการจาแนก
การเกิด และแหล่งแร่ ทสี่ าคัญ
ไมโครไคลน์เป็ นองค์ประกอบหลักของหิ นอัคนี เช่น แกรนิต และ
ไซอีไนต์ ซึ่งเป็ นหิ นที่เย็นตัวอย่างช้าๆในบริ เวณลึก ส่วนในหิ นตะกอน
มักพบในหิ นอาร์โคส(Arkose) และหิ นกรวดมน(conglomerate) ในหิ น
แปร จะพบแร่ น้ ีได้ในหิ นไนส์
ไมโครไคลน์ (Microcline)

แหล่งที่พบได้แก่ สหรัฐอเมริ กา ส่ วนอะเมโซไนต์พบทัส่ เซีย
นอร์เวย์ และสหรัฐอเมริ กา เช่นกัน ส่ วนประเทศไทยพบที่ จ.ราชบุรี แล
ในแหล่งเพกมาไทต์ทวั่ ไป
ประโยชน์
เฟลด์สปาร์ใช้มากในอุตสาหกรรมเครื่ องปั้นดินเผา โดยนาไปบด
ให้ละเอียดผสมกับดินขาวหรื อดินเหนียวและควอรตซ์ เมื่อถูกความร้อน
เฟลด์สปาร์จะทาหน้าที่เป็ นตัวเชื่อมประสานสารต่างๆเข้าด้วยกัน
โซดาไลต์ (Sodalite)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนเท่า (Isometric system)
รูปผลึกทัว่ ไป : เป็ นฟอร์มโดเดคคะฮีดรอน แต่หายาก
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักพบเป็ นกลุ่มก้อน เกิดฝังตัวอยูใ่ นหิ น
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : Na8(AlSiO4)6Cl2
โซดาไลต์ (Sodalite)

คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 2.15 - 2.3
สี (colour) : น้ าเงิน ขาว เทา เขียว (blue, white, gray, green)
สี ผง(steak) : ขาว (white)
ความแข็ง(hardness) : 5 ½ - 6
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว (vitreous)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกในแนว {011} ไม่สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : แบบฝาหอยถึงไม่เรี ยบ (conchoidal to uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงโปร่ งแสง (transparent to translucent)
โซดาไลต์ (Sodalite)


องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย Na2O 25.6% Al2O3 31.6% SiO2 37.2% Cl 7.3% K
เข้าแทนที่ Na ได้เล็กน้อย
ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
ปกติมกั สับสนกับแร่ ลาซูไรต์ แตกต่างกันตรงที่โซดาไลต์ไม่มีไพ
ไรต์เกิดร่ วมด้วย
โซดาไลต์ (Sodalite)


การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
โซดาไลต์เป็ นแร่ ที่ค่อนข้างหายาก เป็ นแร่ ประกอบหิ นที่เกิด
ร่ วมกับแร่ เนฟิ ลีน และเฟลด์สปาร์ทอยด์อื่นๆ แหล่งที่พบ ได้แก่ ในหิ น
ลาวาของภูเขาไฟวิสซูเวียส อิตาลี แคนาดา และนามิเบีย
ประโยชน์
ใช้แกะสลักทาเครื่ องตกแต่ง
ลาซูไรต์ (Lazurite)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนเท่า (Isometric system)
รูปผลึกทัว่ ไป : เป็ นฟอร์มโดเดคคะฮีดรอน แต่หายาก
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักพบเป็ นกลุ่มก้อน เนื้อแน่น
คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : (Na,Ca)8(AlSiO4)6(SO4,S,Cl)2
ลาซูไรต์ (Lazurite)

คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 2.40 - 2.45
สี (colour) : น้ าเงินสด และน้ าเงินอมเขียว (blue, grennish blue)
สี ผง(steak) : น้ าเงินอ่อน (light blue)
ความแข็ง(hardness) : 5 – 5 ½
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว (vitreous)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกในแนว {011} ไม่สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : แบบฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งแสง (translucent)
ลาซูไรต์ (Lazurite)


องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
Rb, Sr, Cs,Ba อาจเข้าแทนที่ Na ได้ในปริ มาณเล็กน้อย มีการ
แปรเปลี่ยนปริ มาณของ SO4, S และ Cl ได้ในช่วงกว้าง
ลักษณะที่ใช้ จาแนก (Diagnostic features)
สี น้ าเงิน และมีแร่ ไพไรต์เกิดร่ วมด้วย
ลาซูไรต์ (Lazurite)


การเกิด และแหล่งแร่ ที่สาคัญ
ลาซูไรต์เป็ นแร่ หายาก มักเกิดในหิ นปูนที่ผา่ นการตกผลึกใหม่
บริ เวณแปรสภาพแบบสัมผัส สาหรับลาพิส ลาซูรี (Lapis lazuri) เป็ น
หิ นที่ประกอบด้วยแร่ ลาซูไรต์เป็ นส่ วนใหญ่ นอกจากนั้นเป็ นแร่ แคล
ไซต์ ไพรอกซีน และซิลิเกตอื่นๆ และมีแร่ ไพไรต์เกิดเป็ นจุดประเล็กๆ
ลาพิสที่ดีที่สุดมาจากทางตอนเหนือ ประเทศอัฟกานิสถาน นอกจากนี้ยงั
พบที่รัสเซีย และชิลี
ประโยชน์
ใช้เป็ นเครื่ องประดับตกแต่ง และอัญมณี