เอกสาร

Download Report

Transcript เอกสาร

ซัลไฟด์
Sulfides
แร่ที่จดั อยูใ่ นหมูซ่ ลั ไฟด์นี ้ส่วนใหญ่มีลกั ษณะทึบแสงและมีสีและสีผงที่
เด่นชัด แร่บางชนิดที่ไม่ทบึ แสงก็จะมีคา่ ดัชนีหกั เหสูง แสงผ่านได้ เฉพาะขอบแร่
บางๆเท่านัน้
สูตรเคมีทวั่ ไปของแร่หมูซ่ ลั ไฟด์ คือ XmZn เมื่อ X แทนธาตุโลหะ และ Z แทน
ธาตุอโลหะ ได้ แก่ S, As, Te, Sb, Bi, Se ซึง่ มีขนาดอะตอมใหญ่กว่าอะตอมของ
โลหะ
โครงสร้ างอะตอมของแร่ซลั ไฟด์เกือบทุกชนิด มีแรงยึดเกาะระหว่างอะตอม
ในโครงสร้ างเป็ นพันธะไอออนิก ในโครงสร้ างง่ายๆ เช่น สฟาเลอร์ ไรต์ (ZnS) แร่
บางชนิดมีลกั ษณะของแร่โลหะอย่างเด่นชัด เช่น กาลีนา (PbS) ความแข็งของแร่
ในหมูนี ้ส่วนใหญ่มีคา่ ประมาณ 2-3 อาจมี 1 บ้ าง เช่นแร่โมลิบดีไนต์ (MoS2)
จนถึงความแข็ง 6 ในไพไรต์ (FeS2) หรื อ 7 ในสเพอร์ ริไรต์ (PtAs2) ดังนันแร่
้ ในหมู่
นี ้จึงสามารถแบ่งออกเป็ นกลุม่ เล็กๆ ที่มีโครงสร้ างคล้ ายคลึงกันได้ หลายแบบ จน
ไม่สามารถกล่าวถึงแบบทัว่ ไปได้ ง่ายนัก จึงได้ ยกตัวอย่างเฉพาะแร่ทสี่ าคัญบาง
ชนิดเท่านัน้
อาร์ เคนไทต์ (Acanthite)
ระบบผลึก : สามแกนเอียง (Triclinic)
 รู ปผลึกทั่วไป : เป็ นผลึกแฝดของฟอร์ มที่เสถียรในอุณหภูมิสงู ซึง่ ปกติ
พบเป็ นรูปลูกบาศก์ ออกตะฮีดรอล และโดเดคะฮีดรอล
 การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักพบผลึกในรู ปกิ่งไม้ หรื อรู ปตาข่าย
ส่วนที่พบบ่อยสุดคือ เป็ นก้ อนเนื ้อแน่น(massive)
 คุณสมบัตท
ิ างเคมี
สูตรเคมี : Ag2S

อาร์ เคนไทต์ (Acanthite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 7.3
สี(colour) : ดา
สีผง(steak) : ดา
ความแข็ง(hardness) : 2 – 2 ½
ประกาย(Luster) : โลหะ (Metallic)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : ไม่มี
รอยแตก(fracture) : ไม่เรี ยบ (uneven)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง (opaque)
อาร์ เคนไทต์ (Acanthite)




องค์ ประกอบและโครงสร้ าง
ประกอบด้ วย Ag 87.1%, S 12.9% เมื่อ Ag2S เย็นตัวลง ณ อุณหภูมิที่
สูงกว่า 173o C จะมีโครงสร้ างเป็ นผลึกแฝดที่กระจายออกเป็ นผลึกรู ป
ลูกบาศก์ของแร่อาร์ เคนไทต์ ซึง่ นักแร่วิทยาจะรู้จกั กันในนามของแร่ อาร์ เจน
ไทต์ แต่อย่างไรก็ตาม จะเรี ยกว่าเป็ นแร่อาร์ เคนไทต์ ก็ตอ่ เมื่ออยูใ่ นรูปที่
เสถียรที่อณ
ุ หภูมิปกติเท่านัน้
ลักษณะที่ใช้ จาแนก อาร์ เคนไทต์แยกจากแร่อื่นด้ วยสี และตัดได้ มีถ.พ.สูง
การเกิด
อาร์ เคนไทต์เป็ นสินแร่เงินที่เป็ นพื ้นฐานสาคัญซึง่ พบได้ ในสายแร่ที่เกิด
ร่วมกับเงินธรรมชาติ รูบี ้ซิลเวอร์ (แร่ในหมู่ซลั โฟซอลต์) โพลีบาไซต์ สเตฟา
ไนต์ กาลีนา และสฟาเลอร์ ไรต์
แหล่ งแร่ ท่ สี าคัญ เม็กซิโก เยอรมนี เชกโกสโลวเกีย และนอร์ เวย์
คาลโคไซต์ (Chalcocite)
ระบบผลึก : หนึง่ แกนเอียง (Monoclinic system)
 รู ปผลึกทั่วไป : มักพบเป็ นผลึกเล็ก และรู ปแบน ที่มีรูปร่ างเป็ น 6 เหลี่ยม
 การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักพบผลึกในรู ปกิ่งไม้ (dendritic) หรื อรู ป
ตาข่าย ส่วนที่พบบ่อยสุดคือ เป็ นก้ อนเนื ้อแน่น(massive) โดยมีร่องหรื อ
แนวเส้ นตรงตามแนวแกน a ปกติพบการเกาะกลุม่ เป็ นก้ อนผลึกเนื ้อ
ละเอียด
 คุณสมบัตท
ิ างเคมี
สูตรเคมี : Cu2S

คาลโคไซต์ (Chalcocite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 5.5 – 5.8
สี(colour) : เทาคล้ ายตะกัว่
ความหมอง(tarnish) : สีดาด้ านเหมือนดิน
สีผง(steak) : ดาปนเทา บางก้ อนให้ สีอ่อนเหมือนเขม่า
ความแข็ง(hardness) : 2 ½ - 3
ประกาย(Luster) : โลหะ (Metallic)
ความแกร่ง(tenacity) : ตัดได้ แต่ไม่สมบูรณ์
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกแนว {110} แต่ไม่ดี
รอยแตก(fracture) : คล้ ายฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง (opaque)
คาลโคไซต์ (Chalcocite)
องค์ ประกอบและโครงสร้ าง
ประกอบด้ วย Cu 79.8%, S 20.2% อาจพบ Ag และ Fe ปนเพียง
เล็กน้ อย ที่อณ
ุ หภูมิต่ากว่า 105o C โครงสร้ างแบบอัดชิดรูปหกเหลี่ยมของ
อะตอมซัลเฟอร์ เป็ นระบบหนึง่ แกนเอียง ส่วนที่อณ
ุ หภูมิสงู กว่า 105o C แร่
จะเปลี่ยนเป็ นคาลโคไซต์อณ
ุ หภูมิสงู ที่อยูใ่ นหมูผ่ ลึก P6/mmc
 ลักษณะที่ใช้ จาแนก คาลโคไซต์แยกจากแร่ อื่นโดยสีเทาตะกัว่ และ
สามารถตัดได้

คาลโคไซต์ (Chalcocite)

การเกิด และแหล่ งแร่ ท่ ีสาคัญ
คาลโคไซต์เป็ นสินแร่ทองแดงที่สาคัญที่สดุ ชนิดหนึง่ พบเป็ นสินแร่ในแหล่งปฐม
ภูมิ พบในสายแร่ร่วมกับแร่ทองแดงซัลไฟด์อื่นๆ คือ บอร์ ไนต์ คาลโคไพไรต์ อีนาร์ ไจต์
และไพไรต์ แต่ที่สาคัญคือพบในเขตแร่ซลั ไฟด์ทตุ ิยภูมิ (secondary sulfide
enrichment) หรื อในโซนของแร่ตกตะกอนใหม่ เชื่อกันว่าแร่ทองแดงปฐมภูมิที่อยูใ่ กล้ ๆ
ผิวโลก ทองแดงซัลไฟด์จะถูกออกซิไดส์ กลายเป็ นซัลเฟตที่ละลายน ้าได้ และไหลลงสู่
เบื ้องล่าง ไปทาปฏิกิริยากับทองแดงปฐมภูมิกลายเป็ นคาลโคไซต์ และสินแร่ทองแดงที่
มีความสมบูรณ์สงู ขึ ้น ปกติระดับน ้าบาดาลหรื อน ้าใต้ ดิน จัดเป็ นระดับต่าสุดของโซนที่มี
การออกซิไดซ์ และหลายแห่งบริเวณนี ้จึงเกิดเป็ นพืดหรื อชันหนาๆของแร่
้
นีไ้ ด้ แหล่งแร่
ที่สาคัญคือ เสปน และสหรัฐอเมริกา
คาลโคไซต์ (Chalcocite)
แร่คาลโคไซต์ที่พบในประเทศไทยก็พบเพียงเล็กน้ อยเช่นกันที่ จ.เพชรบูรณ์ สุโขทัย
และเชียงราย พบเป็ นแหล่งเล็กๆ เกิดร่วมกับแร่ทองแดงทุติยภูมิ เช่น มาลาไคต์ อะซูไรต์
และคิวไพรต์ ในหินทรายที่อ.งาว จ.ลาปาง
กาลีนา (Galena)




ระบบผลึก : สามแกนเท่า (Isometric)
รู ปผลึกทั่วไป : รูปลูกบาศก์ ซึง่ บางทีพบรอยตัดเป็ นฟอร์ มออกตะฮีดรอนบนผลึก
ดังกล่าวด้ วย ส่วนรูปผลึกโดเดคะฮีดรอนและทริสออกตะฮีดรอนพบได้ น้อย
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบรูปผลึกแบบแบน(tabular) เนื ้อแน่น(massive)
คุณสมบัตทิ างเคมี
สูตรเคมี : PbS
กาลีนา (Galena)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 7.4 - 7.6
สี(colour) : เทาตะกัว่
สีผง(steak) : เทาตะกัว่
ความแข็ง(hardness) : 2 ½
ประกาย(Luster) : โลหะ (Metallic)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกแนว {001} สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : คล้ ายฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง (opaque)
กาลีนา (Galena)

องค์ ประกอบและโครงสร้ าง
ประกอบด้ วย Pb 86.6%, S 13.4% โลหะเงินมักจะเกิดปนอยูใ่ นรูปของแร่
อาร์ เคนไทต์ หรื อเตรตะฮีไดรต์ซงึ่ ผลึกทังสมองสามารถเกิ
้
ดเป็ นผลึกผสมเนื ้อ
เดียวกับกาลีนาได้ อินคลูชนั ที่อาจพบได้ แก่ Zn, Cd, Sb, As และ Bi ซีเลเนียม
อาจเข้ าแทนที่ซลั เฟอร์ ได้ และสามารถเกิดอนุกรมผลึกผสมเนื ้อเดียวระหว่างPbSPbSe กาลีนามีโครงสร้ างแบบเดียวกับ Nacl โดย Pb แทน Na ส่วน S แทน Cl

ลักษณะที่ใช้ จาแนก
กาลีนาส่วนใหญ่มีแนวแตกเรี ยบเป็ นเหลี่ยมลูกบาศก์ที่สมบูรณ์ ถ.พ.สูง สี
และสีผงเป็ นสีเทาตะกัว่
กาลีนา (Galena)

การเกิด และแหล่ งแร่ ท่ ีสาคัญ
กาลีนาเป็ นแร่ที่พบมากในสายแร่โลหะซัลไฟด์ โดยเกิดร่วมกับแร่สฟาเลอร์ ไรต์
ไพไรต์ มาคาไซต์ คาลโคไพไรต์ ซีรัสไซต์ แองกลีไซต์ โดโลไมต์ ควอรตว์ แบไรต์ และ
ฟลูออไรต์ เมื่อพบในสายแร่แบบน ้าร้ อนมักเกิดร่วมกับแร่เงิน ดังนันแหล่
้
งกาลีนาจึง
เป็ นแหล่งสินแร่เงินที่สาคัญอีกด้ วย ซึง่ การทาเหมองกาลีนาเพื่อเอาโลหะตะกัว่ จึงเป็ น
วัตถุประสงค์รองจากการถลุงเอาโลหะเงิน แหล่งแร่ตะกัว่ แบบที่สองเกิดร่วมกับแร่
สังกะสีที่เรี ยกว่า แหล่งสินแร่ตะกัว่ -สังกะสี แห่งหุบเขามิสซิสซิปปี (Lead - Zinc ores
of Mississippi Valley) แร่กาลีนา และสฟาเลอร์ ไรต์ ให้ แหล่งแบบนี ้มีทงสายเกิ
ั้
ดใน
โพรง หรื อพบแทนที่ในหินปูน สันนิษฐานว่าแร่เกิด ณ อุณหภูมิต่า และอยูใ่ นระดับไม่
ลึกจากผิวโลกมากนัก
กาลีนา (Galena)
แหล่งแร่ตะกัว่ ที่อ.ทองผาภูมิ อ.ศรี สวัสดิ์ จ.กาญจนบุรีก็เชื่อว่าเกิดแบบ
นี ้ นอกจากนี ้กาลีนายังพบอยูใ่ นแหล่งแร่แบบแปรสัมผัส กระจายอยูใ่ นสาย
เพกมาไทต์ หรื อในหินตะกอนต่างๆ
แหล่งที่สาคัญของโลกเช่น ประเทศเยอรมัน เชคโกสโลวเกีย อังกฤษ
และออสเตรเลีย ส่วนประเทศไทยพบที่กาญจนบุรี เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน
ลาปาง แพร่ ตาก สุโขทัย เพชรบูรณ์ เลย สกลนคร นครพนม อุบลราชธานี
เพชรบุรี นครศรี ธรรมราช และยะลา
กาลีนา (Galena)

ประโยชน์
แร่กาลีนาเป็ นสินแร่ตะกัว่ และเป็ นแหล่งแร่เงินที่สาคัญด้ วย ตะกัว่ ถูกนาไปใช้ มาก
ในขัวแบตเตอร์
้
รี่ รองลงมาคือนาไปทาท่อน ้า แผ่นตะกัว่ และกระสุนปื น ตะกัว่ ถ้ าอยูใ่ นรูป
ตะกัว่ ออกไซด์ เช่น ลิทาร์ ท (Litharge, PbO) และมิเนียม(Minium, Pb3O4) จะถูก
นาไปใช้ ในการผลิตแก้ วและเครื่ องเคลือบภาชนะเครื่ องปั น้ ดินเผา และทาให้ เป็ นตะกัว่
ขาว (white lead) ซึง่ ใช้ เป็ นส่วนผสมหลักในสีหลายชนิด อย่างไรก็ดีการใช้ ประโยชน์จาก
ตะกัว่ ในระยะหลังนี ้ลดน้ อยลง เนื่องจากตะกัว่ มีอนั ตรายต่อสุขภาพ ตะกั่วยังเป็ นโลหะ
สาคัญในการใช้ ทาโลหะผสมกับโลหะชนิดอื่น เช่น ตะกัว่ บัดกรี (ตะกัว่ ผสมดีบกุ ) โลหะ
ตัวพิมพ์ (ตะกัว่ ผสมพลวง) และโลหะผสมที่มีจดุ หลอมเหลวต่า คือ โลหะผสมของตะกัว่
บิสมัท และดีบกุ ตะกัว่ ใช้ เป็ นเกราะป้องกันการรั่วไหลของสารกัมมันตรังสี
สฟาเลอร์ ไรต์ (Sphalerite)




ระบบผลึก : สามแกนเท่า (Isometric)
รู ปผลึกทั่วไป : เตรตะฮีดรอล (tetrahedral) โดเดคะฮีดรอล (dodecahedral)
และลูกบาศก์(cubic) แต่บอ่ ยครัง้ ที่พบรูปผลึกผสมกันหลายฟอร์ มซับซ้ อนมาก ซึง่
ปกติเป็ นการเกาะกลุม่ ของผลึกที่มีรูปบิดเบี ้ยวหรื อรูปกลม มักเกิดการแฝดแบบ
ซ ้าซ้ อน บนระนาบ {111}
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : ปกติพบกลุม่ ก้ อนที่กะเทาะให้ แตกออกได้
(cleavable mass) เป็ นเม็ดหยาบถึงละเอียด อัดตัวกันแน่นจนไม่เห็นรูปผลึก
คล้ ายรูปพวงองุ่น หรื อเป็ นผลึกซ่อนรูป
คุณสมบัตทิ างเคมี
สูตรเคมี : ZnS
สฟาเลอร์ ไรต์ (Sphalerite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 3.9 – 4.1
สี(colour) : ไม่มีสี(colourless)เมื่อบริ สทุ ธิ์ และมีสีเขียวเมื่อบริ สทุ ธิ์ ปกติพบสีเหลือง
น ้าตาล ถึง ดา สีจะเข้ มขึ ้นตามปริมาณของธาตุเหล็ก หากมีสีแดงเรี ยก Ruby Zinc
สีผง(steak) : สีขาวถึงเหลือง และน ้าตาล
ความแข็ง(hardness) : 3 ½ - 4
ประกาย(Luster) : คล้ ายยางสน ถึงกึง่ โลหะ บางครัง้ อาจพบวาวเหมือนเพชรด้ วย
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกแนว {001} สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : คล้ ายฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : โปร่งใสถึงโปร่งแสง (transparent to translucent)
Green sphalerite
Red Sphalerite
สฟาเลอร์ ไรต์ (Sphalerite)

องค์ ประกอบและโครงสร้ าง
ประกอบด้ วย Zn 67%, S 33% เมื่อบริสทุ ธิ์ Fe จะปนอยูเ่ สมอ
โดยที่ปริมาณที่ปนอยูข่ ึ ้นอยูก่ บั อุณหภูมิและลักษณะทางเคมีของ
สภาพแวดล้ อม ถ้ า Fe มีมากเกินพอจะเกิดร่วมกับแร่พิโรห์ไทต์ ปริมาณ
ของ FeS ในสฟาเลอร์ ไรต์จะสูงถึง 50 โมลเปอร์ เซ็นต์ ถ้ าสฟาเลอร์ ไรต์
และพิโรห์ไทต์ตกผลึกด้ วยกัน ปริมาณของเหล็กจะเป็ นตัวชี ้ถึงอุณหภูมิ
ของการเกิด และสฟาเลอร์ ไรต์สามารถถูกใช้ เป็ นเสมือนเทอร์ โมมิเตอร์
ทางธรณีวิทยาได้ Mn และ Cd พบบ้ างในอนุกรมผลึกผสมเนื ้อเดียว
สฟาเลอร์ ไรต์ (Sphalerite)
ในโครงสร้ างสม่าเสมอของสฟาเลอร์ ไรต์เหมือนกับโครงสร้ างของเพชร
โดยที่ครึ่งหนึง่ ของอะตอมของคาร์ บอนเทียบได้ กบั อะตอมของสังกะสี ส่วนอีก
ครึ่งหนึง่ เทียบได้ กบั อะตอมของซัลเฟอร์ สฟาเลอร์ ไรต์เป็ นพหุสณ
ั ฐานที่ผลึก
เป็ นรูปลูกบาศก์ เกิดที่อณ
ุ หภูมิต่าของ ZnS ส่วนพหุสณ
ั ฐานที่เกิดในอุณหภูมิ
สูง หรื อเสถียรที่ 1,020oC คือ แร่เวิร์ทไซต์ (Wurtzite, ZnS) มีโครงสร้ างอัดชิด
แบบรูปหกเหลี่ยม มีรูปผลึกในระบบเฮกซะโกนอล
สฟาเลอร์ ไรต์ (Sphalerite)

ลักษณะที่ใช้ จาแนก
สฟาเลอร์ ไรต์มีประกายแบบยางสน ซึง่ เด่นมาก และแนวแตกเรี ยบที่
สมบูรณ์ วาไรตี ้ที่มีสีดาเรี ยกว่า แบล็กแจ็ค (black jack) มีสีผงสีน ้าตาลปนแดง ซึง่
เบากว่าแร่ชนิดอื่นๆ ที่ผลึกเกาะกลุม่ กันเป็ นก้ อนเนื ้อแน่น
Black Jack
สฟาเลอร์ ไรต์ (Sphalerite)

การเกิด และแหล่ งแร่ ท่ ีสาคัญ
สฟาเลอร์ ไรต์เป็ นสินแร่สงั กะสีที่สาคัญที่สดุ และพบมากที่สดุ ในบรรดาแร่
สังกะสีชนิดอื่น พบในสภาพธรณีวิทยาเช่นเดียวกับแร่กาลีนา ดังนันแร่
้ ทงสองจึ
ั้
ง
เป็ นเพื่อนแร่ที่ใกล้ ชิดกันมาก พบแร่ชนิดหนึง่ ที่ใด ก็จะพบอีกแร่เสมอ สฟาเลอร์ ไรต์
ที่มีแร่กาลีนาเกิดร่วมในปริมาณที่รองลงไปจะพบอยูใ่ นแหล่งสายน ้าแร่ร้อน และ
แหล่งแร่ที่เกิดโดยการแทนที่ โดยเกิดร่วมกับแร่พิโรห์ไทต์ ไพไรต์ และแมกนีไทต์
นอกจากนี ้ยังเกิดในสายแร่หินอัคนี และในแหล่งแร่ที่มีการแปรสภาพแบบสัมผัส
(contact metamorphism)
แหล่งแร่ที่สาคัญคือ แคนนาดา รัสเซีย สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย โปแลนด์
เม็กซิโก และญี่ปนุ่ สาหรับประเทศไทยพบที่ กาญจนบุรี แพร่ ลาพูน และสงขลา
สฟาเลอร์ ไรต์ (Sphalerite)
ประโยชน์
แร่สฟาเลอร์ ไรต์เป็ นสินแร่ที่ให้ โลหะสังกะสีที่สาคัญที่สดุ โลหะสังกะสี หรื อที่
เรี ยกว่า spelter ใช้ ชบุ แผ่นเหล็กทาทองเหลือง ทาแบตเตอร์ รี่ไฟฟ้า ทาแผ่นสังกะสี
หรื อสังกะสีออกไซด์ หรื อซิงค์ไวท์ (Zinc white) ใช้ ทาสังกะสีคลอไรด์ ใช้ ทายา
รักษาเนื ้อไม้ สังกะสีซลั เฟตใช้ ในการย้ อม และการทายา สฟาเลอร์ ไรต์ยงั เป็ น
แหล่งของธาตุ Cd, In, Ga และGe อีกด้ วย
ไพไรต์ (Pyrite)




ระบบผลึก : สามแกนเท่า (Isometric)
รู ปผลึกทั่วไป : ฟอร์ มที่พบบ่อยคือ รูปลูกบาศก์(cubic) ที่อาจมีหน้ าผลึกเป็ นลาย
ริว้ ขนาน(striation) รูปไพริโตฮีดรอล และออกตะฮีดรอล อาจพบเป็ นผลึกแฝด
แทรก ซึง่ เรี ยกว่าไอรอนครอส (Iron cross) ที่มีแกนแฝดในแนว {001}
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบแบบกลุม่ ก้ อน แบบเม็ด(Granular) รูปไต
(Reniform) รูปทรงกลม(sphere) และหินย้ อยด้ วย(stalactic)
คุณสมบัตทิ างเคมี
สูตรเคมี : FeS2
ไพไรต์ (Pyrite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 3.9 – 4.1
สี(colour) : เหลือง – ทองเหลือง เมื่อหมองจะมีสีเข้ มขึ ้น
สีผง(steak) : สีดาปนน ้าตาล
ความแข็ง(hardness) : 6 – 6 ½ (สูงผิดปกติสาหรับแร่ในหมูซ่ ลั ไฟด์)
ประกาย(Luster) : คล้ ายโลหะ (Metallic)
ความแกร่ง(tenacity) : เปราะ (Brittle)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : ไม่ดี
รอยแตก(fracture) : คล้ ายฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง (Opaque)
ไพไรต์ (Pyrite)

องค์ ประกอบและโครงสร้ าง
ประกอบด้ วย Fe 46.6%, S 53.4% อาจประกอบด้ วย Ni และ Co
เล็กน้ อย ผลการวิเคราะห์บางตัวอย่างพบว่ามี Ni สูง และเกิดเป็ นอนุกรมผลึก
ผสมเนื ้อเดียวอย่างสมบูรณ์ระหว่างไพไรต์กบั บราโวไอต์ (Bravoite, (Fe,Ni)S2)
บ่อยครัง้ ที่มี Au และ Cu เป็ นมลทินปนบ้ างเล็กน้ อย โครงสร้ างของไพไรต์คล้ ายกับ
โครงสร้ างของ NaCl ที่ต้องปรับแต่งโดยที่ Fe เทียบตาแหน่ง Na และ S2 เทียบ
ตาแหน่ง Cl FeS2 มีพหุสณ
ั ฐาน 2 ชนิดด้ วยกัน คือ ไพไรต์ และมาร์ คาไซต์
(Marcasite)
ไพไรต์ (Pyrite)

ลักษณะที่ใช้ จาแนก
แร่ไพไรต์แยกจากคาลโคไพไรต์ หรื อ พิโรห์ไทต์ โดยไพไรต์แข็งกว่า และ
เปราะ แยกจากมาคาร์ ไซต์โดยรูปผลึกและ ไพไรต์มีสีเข้ มกว่า
ไพไรต์เปลี่ยนสภาพเป็ นเหล็กออกไซด์ตา่ งๆได้ ง่าย เช่น ไลมอไนต์ หรื อ
ฮีมาไทต์ หรื อที่บ้านเราเรี ยกว่า ข้ าวตอกพระร่วง อัญมณีที่มีชื่อของสุโขทัย คือ แร่
ฮีมาไทต์ที่แปรสภาพมาจากไพไรต์ ซึง่ ยังคงรูปลูกบาศก์ไว้ นอกจากนี ้ไพไรต์ยงั เป็ น
แร่ที่สาคัญที่สลายตัวกลายเป็ นเหล็กออกไซด์ ในตอนบนของสายแร่โลหะต่างๆ ที่
เรี ยกว่า แหล่งแร่เหล็กแลง (Gossan) หรื อ หมวกเหล็ก (Iron hat)
ไพไรต์ (Pyrite)

การเกิด และแหล่ งแร่ ท่ ีสาคัญ
ไพไรต์เป็ นแร่สามัญที่สดุ และพบมากที่สดุ พบทังแหล่
้ งที่เกิดในอุณหภูมิสงู และ
ต่า แต่ที่เป็ นแหล่งใหญ่ๆ มักเกิดในแหล่งอุณหภูมิสงู และต่า แต่ที่เป็ นแหล่งใหญ่ๆมัก
เกิดในอุณหภูมิสงู สามารถเกิดในแหล่งของหินอัคนี หินที่เกิดจากการแปรสภาพแบบ
สัมผัส และแหล่งแบบแร่น ้าร้ อน เป็ นแร่สามัญในหินตะกอนซึง่ เกิดขึ ้นแบบปฐภูมิและ
ทุติยภูมิ เพื่อนแร่มีมากมายนับไม่ถ้วน เช่น คาลโคไพไรต์ สฟาเลอร์ ไรต์ กาลีนา เป็ นต้ น
แหล่งที่สาคัญของโลกเช่น สเปน โปรตุเกส และสหรัฐอเมริกา ในประเทศไทย
เช่น สงขลา ฉะเชิงเทรา นครราชสีมา เพชรบูรณ์ แพร่ นครศรี ธรรมราช และยะลา
Pyrite with magnetite
Pyrite with quartz
Pyrite with calcite
Pyrite with dolomite
and quartz
ไพไรต์ (Pyrite)

ประโยชน์
แร่ไพไรต์มกั ถูกทาเหมืองเพื่อเอาทองคาและทองแดงที่เกิดร่วมกัน
ออกมา ในสงครามโลกครัง้ ที่สอง ประเทศที่ขาดแคลนกามะถัน จะทา
เหมืองกามะถันจากเหมืองแร่ไพไรต์ เหมืองเหล็กก็เช่นกันไพไรต์มกั ใช้
ทาเป็ นอัญมณี และมักหลอกขายในชื่อของมาคาร์ ไซต์
บอร์ นไนต์ (Bornite)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนต่าง (orthorhombic system)
รู ปผลึกทั่วไป : ฟอร์ มที่พบส่วนใหญ่พบdodecahedral octahedral และ
psedocubic
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบผลึกเกาะกลุม่ กันแบบเม็ด และเนื ้อแน่น
(Granular and massive)
คุณสมบัตทิ างเคมี
สูตรเคมี : Cu5FeS4
บอร์ นไนต์ (Bornite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 5.1
สี(colour) :สีทองแดง(copper red) เวลาหมอง(tarnish)
สีจะเหลือบแสง(iridescent) เป็ นสีม่วง แดง
น ้าเงิน คล้ ายปี กนกยูง(peacock)
สีผง(steak) : สีเทาดา
Tarnish bornite
ความแข็ง(hardness) : 3 – 3 ½
ประกาย(Luster) : คล้ ายโลหะ (Metallic)
ความแกร่ง(tenacity) : เปราะ (Brittle)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : แตกในแนว {111} แต่ไม่สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : ไม่เรี ยบ(uneven) และคล้ ายฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง (Opaque)
บอร์ นไนต์ (Bornite)



คุณสมบัตทิ างแม่ เหล็ก สามารถดูดติดแม่เหล็กได้ เมื่อได้ รับความร้ อน
(Magnetic after heating)
ลักษณะที่ใช้ จาแนก
แร่บอร์ นไนต์แยกได้ โดยดูจากบริเวณสีที่หมอง จะมีสีเหลือบคล้ ายปี กนกยูง
หรื อที่เรี ยกแร่ชนิดนี ้ว่า peacock ore
การเกิด และแหล่ งแร่ ท่ ีสาคัญ
เกิดในแบบเป็ นสายแร่ร่วมกับคาลโคไซต์ คาลโคไพไรต์ และไพไรต์ หรื อเกิด
มากับหินหนืดและตกผลึกกระจัดกระจาย อยูใ่ นหินอัคนีจากหินหนืด (Porphyry
copper deposit) มักเกิดร่วมกับแร่แมกนีไทต์ (magnetite), คาลโคไซต์
(Chalcocite), คาลโคไพไรต์ (Chalcopyrite), โคเวลไลต์(Covellite), พิโรห์ไทต์
(Pyrrhotite), ไพไรต์(Pyrite) และแร่ตระกูลซัลไฟด์อื่นๆ
บอร์ นไนต์ (Bornite)

แหล่งที่พบแร่บอร์ นไนต์คณ
ุ ภาพดี พบที่คอร์ นวอล ประเทศอังกฤษ แหล่ง
porphyry copper ที่รัฐอริโซนา (Arizona porphyry copper)สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก
คาซัคสถาน สเปน เยอรมนี และสวีเดน ในประเทศไทย พบในแหล่งดีบกุ ที่อาเภอบันนัง
สตาร์ จังหวัดยะลา ที่ จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดเลยพบเกิดอยูก่ บั แร่ทองแดง
ชนิดอะซูไรต์
ประโยชน์
เป็ นสินแร่ทองแดง โดยการนาเอาแร่บอร์ นไนต์มาถลุง จะได้ ทองแดงมากเป็ น
อันดับสองรองจากแร่คาลโคไซต์
เพนต์ แลนไดต์ (Penlandite)




ระบบผลึก : สามแกนเท่า (Isometric)
รู ปผลึกทั่วไป : ฟอร์ มที่พบบ่อยคือรูปลูกบาศก์ (cubic)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบผลึกเกาะกันเป็ นเนื ้อแน่น (massive) บางครัง้
พบแบบเม็ด(granular)
คุณสมบัตทิ างเคมี
สูตรเคมี : (Fe,Ni)9S8
เพนต์ แลนไดต์ (Penlandite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 5.0
สี(colour) : สีบรอนซ์ จนถึงสีเหลืองอมน ้าตาล
สีผง(steak) : สีบรอนซ์ออ่ นๆ
ความแข็ง(hardness) : 3
ประกาย(Luster) : คล้ ายโลหะ (Metallic)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : ไม่มี
รอยแตก(fracture) : คล้ ายฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง (Opaque)
เพนต์ แลนไดต์ (Penlandite)

การเกิด และแหล่ งแร่ ท่ ีสาคัญ
แร่เพนต์แลนไดต์เกิดในหินอัคนีที่มีแร่ซิลิกาน้ อย (silica poor) ส่วนใหญ่มกั พบ
ในหินเมททีโอไรต์(meteorites) และเกิดร่วมกับแร่พิโรห์ไทต์ คาลโคไพไรต์ และไพไรต์
แหล่งที่พบแร่เพนต์แลนไดต์ เช่น รัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดา นอร์ เวย์ รัสเซีย
แอฟริกาใต้ และสหรัฐอเมริกา
เวิร์ทไซต์ (Wurtzite)




ระบบผลึก : สามแกนราบ (Hexagonal system)
รู ปผลึกทั่วไป : ฟอร์ มที่พบบ่อยคือ พิรามิด (pyramidal)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : แบบแท่งผลึก(prismatic) แบบแบน(tabular) อาจ
พบเป็ นแบบรัศมี
คุณสมบัตทิ างเคมี
สูตรเคมี : ZnS
เวิร์ทไซต์ (Wurtzite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 4.1
สี(colour) : แดงเข้ ม จนถึงสีน ้าตาล
สีผง(steak) : น ้าตาล
ความแข็ง(hardness) : 3 ½ - 4
ความแกร่ง(tenacity) :
ประกาย(Luster) : คล้ ายยางสน(resinous) จนถึงกึง่ โลหะ (Submetallic)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : ดี
ความโปร่งใส(Diaphenity) : โปร่งแสง(translucent) ถึงทึบแสง (Opaque)
เวิร์ทไซต์ (Wurtzite)

การเกิด และแหล่ งแร่ ท่ ีสาคัญ
แร่เวิร์ทไซต์พบในสายน ้าแร่ร้อน ร่วมกับสฟาเลอร์ ไรต์ มาคาร์ ไซต์ ไพไรต์
อาจพบในแหล่งปฐมภูมิตามรอยแยกของดินเหนียว แร่เวิร์ทไซต์คณ
ุ ภาพดีที่สดุ พบ
ที่ประเทศโบลิเวีย
อินาร์ ไจต์ (Enargite)



ระบบผลึก : ระบบสามแกนต่าง (orthorhombic system)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบผลึกแบบแท่ง(prismatic)และแบบแบน
(tabular) ผลึกเกาะกันเนื ้อแน่น (massive)
คุณสมบัตทิ างเคมี
สูตรเคมี : Cu3AsS4
อินาร์ ไจต์ (Enargite)


คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 4.4
สี(colour) : เทาเข้ ม จนถึงดา
สีผง(steak) : สีเทาดา
ความแข็ง(hardness) : 3
ประกาย(Luster) : คล้ ายโลหะ (Metallic)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : ไม่เรี ยบ(uneven)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง (Opaque)
การเกิด และแหล่ งแร่ ท่ ีสาคัญ
เกิดในสายแร่น ้าร้ อนที่อณ
ุ หภูมิปานกลาง บางครัง้ เกิดในอุณหภูมิต่า พบร่วมกับ
ควอรตซ์ ไพไรต์ สฟาเลอร์ ไรต์ กาลีนา บอร์ นไนต์ แหล่งที่พบแร่ เช่น ในประเทศเปรู
สหรัฐอเมริกา ฟิ ลิปปิ นส์
พิโรห์ ไทต์ (Pyrrhotite)




ระบบผลึก : ระบบหนึง่ แกนเอียง (Monoclinic system)
รู ปผลึกทั่วไป : พบผลึกรูปพิรามิด
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบผลึกรูปแบน(tabular) แท่งผลึก(prismativ) และ
เกาะกันเป็ นเนื ้อแน่น(massive)
คุณสมบัตทิ างเคมี
สูตรเคมี : Fe1-xS (x = 0-0.17)
พิโรห์ ไทต์ (Pyrrhotite)


คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 4.7
สี(colour) : บรอนซ์ จนถึงเหลือง
สีผง(steak) : เทาเข้ ม ถึง ดา
ความแข็ง(hardness) : 3 ½ – 4 ½
ประกาย(Luster) : คล้ ายโลหะ (Metallic)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : ไม่มี
รอยแตก(fracture) : ไม่เรี ยบ(uneven) และคล้ ายฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง (Opaque)
การเกิด และแหล่ งแร่ ท่สี าคัญ
แร่พิโรห์ไทต์เกิดร่วมกับแร่ไพไรต์และเพนต์แลนไดต์ พบในหินเพกมาไทต์ ในแหล่ง
สายน ้าแร่ร้อน ที่อณ
ุ หภูมิสงู อาจพบในหินตะกอนบ้ าง แหล่งที่พบเช่น รัสเซีย เม็กซิโก
โรมาเนีย โบลิเวีย แคนาดา เป็ นต้ น
ซินนาบาร์ (Cinnabar)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนราบ (Hexagonal system)
รู ปผลึกทั่วไป : ฟอร์ มที่พบคือ rhombohedral
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบผลึก tabular แบบหนา (thick tabular) แบบ
แท่งผลึก และเนื ้อแน่น
คุณสมบัตทิ างเคมี
สูตรเคมี : HgS
massive
ซินนาบาร์ (Cinnabar)


คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 8.2
สี(colour) : แดง ถึงแดงอมน ้าตาล
สีผง(steak) : แดงเลือดนก
ความแข็ง(hardness) : 2 – 2 ½
ประกาย(Luster) : คล้ ายเพชร(adamantine) ถึงคล้ ายโลหะ(metallic)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : คล้ ายฝาหอย (conchoidal) ถึงไม่เรี ยบ(uneven)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง (Opaque)
ลักษณะที่ใช้ จาแนก แร่ซินนาบาร์ มีสีแดงที่โดดเด่น ประกายคล้ ายเพชร
ซินนาบาร์ (Cinnabar)


การเกิด และแหล่ งแร่ ท่ ีสาคัญ
เกิดในสภาวะที่อณ
ุ หภูมิต่า ในสายแร่น ้าร้ อน เกิดร่วมกับเรี ยลกา(realgar)
ปรอท (mercury) ไพไรต์ มาคาร์ ไซต์ การทาเหมืองแร่ซินนาบาร์ ทาขึ ้นครัง้ แรกเมื่อ
ประมาณ2,000 ปี ก่อน ในประเทศสเปน และพบซินนาบาร์ ที่อื่นบ้ างเช่น ประเทศ
เปรู อิตาลี สหรัฐอเมริกา
ประโยชน์
ในอดีตชาวเปรูใช้ แร่ซินนาบาร์ ในการลงยา ปั จจุบนั ได้ มีการใช้ ใน
อุตสาหกรรมมากขึ ้น โดยการนาแร่มาถลุงให้ ได้ แร่ปรอท ทาโลหะผสมทีเ่ รี ยกว่า
อะมัลกัม และนามาใช้ ในวงการแพทย์
สติบไนต์ (Stibnite)



ระบบผลึก : ระบบสามแกนต่าง (orthorhombic system)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบผลึกรูปแท่งทังแบบหนาและแบบบาง
้
นอกจากนี ้ยังพบเป็ นรูปเข็ม(needle) และเนื ้อแน่น(massive)
คุณสมบัตทิ างเคมี
สูตรเคมี : Sb2S3
Stibnite on barite
สติบไนต์ (Stibnite)


คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 4.6
สี(colour) : เทาเหล็ก(steel gray) เมื่อหมองจะเหลือบแสง
สีผง(steak) : เทาตะกัว่ (lead gray)
ความแข็ง(hardness) : 2
ประกาย(Luster) : คล้ ายโลหะ (Metallic)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : ไม่เรี ยบ(uneven) และคล้ ายฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง (Opaque)
การเกิด และแหล่ งแร่ ท่สี าคัญ
เกิดในสายน ้าแร่ร้อนที่อณ
ุ หภูมิจนถึงอุณหภูมิปานกลาง พบร่วมกับควอรตซ์และ
ทองคา แหล่งที่พบเช่น ประเทศญี่ปนุ่ จีน สหรัฐอเมริ กา โรมาเนีย เป็ นต้ น
มาคาร์ ไซต์ (Marcasite)



ระบบผลึก : ระบบสามแกนต่าง (orthorhombic system)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบผลึกรูปแบน (tabular) พิระมิด(pyramidal) และ
แบบแท่งผลึก บางครัง้ พบการแฝดของผลึกในรูปคล้ ายหงอนไก่(cockscomb) รูป
หินย้ อย(stalactic) พวงองุ่น(botryoidal) และเนื ้อแน่น(massive)
คุณสมบัตทิ างเคมี
สูตรเคมี : FeS2
มาคาร์ ไซต์ (Marcasite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 4.9
สี(colour) : ขาว, บรอนซ์ทอง-เหลือง เวลาหมองจะเหลือบแสง
สีผง(steak) : สีดาอมเทา หรื ออมน ้าตาล
ความแข็ง(hardness) : 6 – 6 ½
ประกาย(Luster) : คล้ ายโลหะ (Metallic)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : ดี
รอยแตก(fracture) : ไม่เรี ยบ(uneven)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง (Opaque)
มาคาร์ ไซต์ (Marcasite)


การเกิด และแหล่ งแร่ ท่ ีสาคัญ
เกิดในอุณหภูมิต่า ซึง่ มีสภาวะความเป็ นกรดสูง และยังเกิดในหินตะกอน
และแหล่งสายน ้าแร่ร้อนด้ วย โดยเกิดร่วมกับไพไรต์ พิโรห์ไทต์ กาลีนา สฟาเลอร์
ไรต์ ฟลูออไรต์ แหล่งที่พบ เช่น เยอรมนี โบลิเวีย โรมาเนีย สเปน สหรัฐอเมริกา
ประโยชน์
แร่มาคาร์ ไซต์นามาทาเครื่ องประดับมาตังแต่
้ ศตวรรษที่ 19 จนถึงปั จจุบนั
เรียลการ์ (Realgar)




ระบบผลึก : ระบบหนึง่ แกนเอียง (Monoclinic system)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบผลึกรูปแท่ง(prismatic) แบบเม็ด(granular)
และเนื ้อแน่น(massive)
คุณสมบัตทิ างเคมี
สูตรเคมี : AsS
คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 3.6
สี(colour) : แดง หรื อ แดงอมส้ ม
สีผง(steak) : ส้ มแดง ถึง แดง
ความแข็ง(hardness) : 1 ½ - 2
เรียลการ์ (Realgar)
ประกาย(Luster) : คล้ ายยางสน(resinous) คล้ ายน ้ามัน(greasy)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : ดี
รอยแตก(fracture) : คล้ ายฝาหอย (conchoidal)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : โปร่งใส(transparent) ถึงโปร่งแสง(translucent)
การเกิด และแหล่ งแร่ ท่ ีสาคัญ
เกิดในสายน ้าแร่ร้อนอุณหภูมิต่า และเกิดร่วม
กับแร่สารประกอบของ As-Sb แหล่งที่พบเช่น
ประเทศจีน สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก เยอรมนี เป็ นต้ น

ออร์ พเิ มนต์ (Orpiment)




ระบบผลึก : ระบบหนึง่ แกนเอียง (Monoclinic system)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบผลึกรูปแท่ง(prismatic) แบบเส้ นใย(fibrous)
คุณสมบัตทิ างเคมี
สูตรเคมี : As2S3
คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 3.5
สี(colour) : เหลืองมะนาว จนถึงเหลืองบรอนซ์
และสีเหลือง
สีผง(steak) : สีเหลืองมะนาวอ่อนๆ
ความแข็ง(hardness) : 1 ½ - 2
ความแกร่ง(tenacity) : ตัดได้ (sectile)
ออร์ พเิ มนต์ (Orpiment)
ประกาย(Luster) : คล้ ายยางสน(resinous) คล้ ายมุก(Pearly)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : ไม่เรี ยบ (uneven)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : โปร่งใส(transparent) ถึงโปร่งแสง(translucent)

การเกิด และแหล่ งแร่ ท่ ีสาคัญ
เกิดในสายน ้าแร่ร้อนอุณหภูมิต่า ร่วมกับแร่เรี ยลการ์ สติบไนต์ แคลไซต์
แหล่งที่พบเช่น ประเทศจีน รัสเซีย เปรู สหรัฐอเมริกา เป็ นต้ น
Orpiment and Realgar