เอกสาร

Download Report

Transcript เอกสาร

ออกไซด์ และ เฮไลด์
Oxides and Halides
Oxides
 ออกไซด์เป็ นหมู่แร่ ที่ค่อนข้างแข็ง เนื้ อแน่น ทนไฟ มักเกิดเป็ นแร่ รอง
(Accessory minerals) ในหิ นอัคนีหรื อหิ นแปร และเป็ นเม็ดแร่ ที่มีความ
คงทนต่อการกัดกร่ อน
ั เชิงเคมี แต่
 ประกอบด้วยแร่ ประมาณ 80 ชนิ ด ที่มีความสัมพันธ์กน
โครงสร้างและการกาเนิดทางธรณี วิทยาแตกต่างกัน
โครงสร้ างของแร่ ออกไซด์
 หมู่แร่ ออกไซด์ประกอบด้วยโลหะตั้งแต่หนึ่ งชนิ ดขึ้นไปรวมกับออกซิ เจน
แบ่งเป็ นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ ออกไซด์เดี่ยว (Simple oxides) และ
ออกไซด์ควบ (Multiple oxides)
 ออกไซด์เดี่ยว เป็ นสารประกอบของโลหะชนิ ดหนึ่ งกับออกซิ เจน ซึ่ ง
สามารถยึดเกาะกันในแบบต่างๆ ขึ้นอยูก่ บั อัตราส่ วนของโลหะ (X) กับ
ออกซิเจน (O) ที่สาคัญคือ X2O, XO และ X2O3
 ออกไซด์ควบ ได้แก่ ออกไซด์ของโลหะที่มีประจุ หรื อตาแหน่งโลหะ
ต่างกันในโครงสร้าง 2 ตาแหน่ง (A และ B) เช่นในสูตรเป็ น XY2O4
โครงสร้ างของแร่ ออกไซด์
 น้ าแข็งซึ่ งเกิดขึ้นในธรรมชาติ (H2O) จัดเป็ นแร่ ออกไซด์ ชนิ ดออกไซด์เดี่ยว
ได้ โดยมีไฮโดรเจนอยูใ่ นตาแหน่งของโลหะ
 ส่ วนควอรตซ์ (SiO2) ซึ่ งเป็ นแร่ ที่สามัญที่สุดในสารประกอบออกไซด์ แต่ไม่
จัดอยูใ่ นแร่ หมู่ออกไซด์ เนื่องจากพบว่าโครงสร้างอะตอมของแร่ ควอรตซ์มี
ความสัมพันธ์กบั แร่ ที่เป็ น Si-O อื่นๆ จึงจัดไว้ในหมู่แร่ ซิลิเกต
 แร่ ในหมู่ออกไซด์ มีดงั นี้
1. ชนิด X2O และ XO
Cuprite Cu2O
Zincite ZnO
2. ชนิด X2O3
Hematite group
Corumdum Al2O3
Hematite Fe2O3
Ilmenite FeTiO3
3. ชนิด XO2
Rutile group
Rutile TiO2
Pyrolusite MnO2
Cassiterite SnO2
Uraninite UO2
4. ชนิด XY2O4
Spinel group
Spinel MgAl2O4
Gahnite ZnAl2O4
Magnetite Fe3O4
Franklinite (Zn, Fe, Mn)-(Fe, Mn)2O4
Chromite FeCr2O4
Chrysoberyl Be Al2O4
Columbite (Fe, Mn)-(Nb, Ta)2O6
คิวไพรต์ (Cuprite)
 ระบบผลึก : ระบบสามแกนเท่า
 รู ปผลึกทัว่ ไป : cubic, octahedral, dodecahedral และมีฟอร์ มเหล่านี้ ผสม
กัน
 การเกาะกลุ่มกันของผลึก : แสดงลักษณะของผลึกลูกบาศก์ผสมรวมกัน,
ผลึกคล้ายเส้นผสมรวมกันเป็ นกลุ่ม (hair like aggregate), พบแบบเม็ด
(granular) และเกาะกับเป็ นเนื้อแน่น(massive)
 คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : Cu2O
คิวไพรต์ (Cuprite)
คิวไพรต์ (Cuprite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 5.8 – 6.2
สี (colour) : มีสีแดงทับทิม ในผลึกที่ยอมให้ แสงผ่าน ซึ่งเรียกว่ า Ruby copper
สี ผง(steak) : แดงอมนา้ ตาล
ความแข็ง(hardness) : 3 ½ - 4
ประกาย(Luster) : โลหะ (metallic) บางครั้งคล้ ายเพชร (adamantine)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : ไม่ สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย(conchoidal) ถึง ไม่ เรียบ (uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงโปร่ งแสง (transparent to translucent)
คิวไพรต์ (Cuprite)
 องค์ ประกอบและโครงสร้ าง(crystal structure)
ประกอบด้วย Cu 88.8% และ O 11.2% โดยปกติจะบริ สุทธิ์ แต่อาจมี
FeO ปนอยูบ่ า้ ง โครงสร้างเป็ นการจับตัวกันของออกซิเจน แบบเตตระฮี
ดรอล โดยมีออกซิเจนอยูต่ รงปลายยอด และตรงกลางเตตระฮีดรอล ส่ วน
ทองแดงอยูค่ รึ่ งทางระหว่างออกซิเจนตัวกลางกับออกซิเจนตัวที่อยูต่ รงยอด
ของเตตระฮีดรัล
 ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic feature)
แยกจากแร่ ชนิดอื่นๆ โดยดูได้จากรู ปผลึก ประกายสูง และสี ผง
คิวไพรต์ (Cuprite)
 การเกิด และแหล่ งแร่ ทส
ี่ าคัญ
คิวไพรต์พบในแหล่งแร่ ทองแดงทุติยภูมิ ซึ่งถือเป็ นสิ นแร่ สาคัญชนิด
หนึ่งและพบทางตอนบนของเขตออกซิไดซ์(oxidized zone) ของสายแร่
ทองแดงร่ วมกับแร่ ไลมอไนต์(limonite) และแร่ ทองแดงทุติยภูมิอื่นๆ เช่น
ทองแดงธรรมชาติ มาลาไคต์ อะซูไรต์ และคริ โซคอลลา
ประเทศที่มีแร่ ชนิดนี้มากได้แก่ ชิลี โบลิเวีย ออสเตรเลีย ซาอีร์ อังกฤษ
ฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริ กา ในประเทศไทยพบที่จงั หวัดน่าน
 ประโยชน์
ใช้เป็ นสิ นแร่ ทองแดงอันดับรอง และใช้ทาเครื่ องประดับบ้าง
คอรันดัม (Corundum)
ระบบผลึก : ระบบสามแกนราบ (Hexagonal system) อยู่ในrhombohedral
division
 รู ปผลึกทัว่ ไป : มักพบผลึกทีอ่ ยู่ในฟอร์ ม hexagonal
 การเกาะกลุ่มกันของผลึก : โดยปกติพบเป็ นผลึกรู ปแบน (tabular) บนฟอร์ ม
{0001} หรือเป็ นแบบแท่ งPrismatic ตามฟอร์ ม {1120} มักพบเป็ นรู ปเฮกซะโกนัล
ไดพิระมิดแบบเรียวแหลม หรือรู ปกลมของถังเบียร์ ทมี่ ลี ายเส้ น (striation) เป็ นร่ อง
ลึกในแนวราบ อาจแสดงหน้ าผลึกของฟอร์ มรอมโบฮีดรัล
ตามปกติพบผลึกขนาดหยาบหรือเป็ นกลุ่ม ผลึกแบบกลุ่มก้ อน (massive)
หรือกลุ่มผลึกแบบเม็ด(granular) ทีห่ ยาบหรือ
ละเอียด ผลึกแฝดทีพ่ บมักเป็ นแบบแฝดซ้ อน
ขนาน ตามระนาบ {0001} และ {1011}

คอรันดัม (Corundum)
 คุณสมบัติทางเคมี
สู ตรเคมี : Al2O3
 คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 4.00
สี (colour) : การเรียกสี ของคอรันดัมแบ่ งออกเป็ น 2 variety
Ruby คือ คอรันดัมสี แดง หรือที่เรียกกันว่ า ทับทิม
Sapphire คือ คอรันดัมสี อนื่ ๆทีไ่ ม่ ใช่ สีแดง โดยทัว่ ไปแล้ว sapphire จะ
ใช้ เรียกคอรันดัมสี นา้ เงิน หรือ ไพลิน
คอรันดัม (Corundum)
นอกจากนีก้ ย็ งั มีsapphire สี อนื่ ๆอีก ได้ แก่
Green sapphire แซปไฟร์ สีเขียว หรือเขียวส่ อง
Yellow sapphire แซปไฟร์ สีเหลือง หรือบุษราคัม
Yellow-green sapphire แซปไฟร์ สีเหลือง-เขียว หรือแซปไฟร์ สีเขียวบางกะจะ
Purple sapphire แซปไฟร์ สีม่วง
Orange sapphire แซปไฟร์ สีส้ม
Pink sapphire แซปไฟร์ สีชมพู
Padparadcha แซปไฟร์ สีชมพูอมส้ ม หรือ แพดพารัดชา
Colourless sapphire แซปไฟร์ ไม่ มีสี
Star sapphire สตาร์ แซปไฟร์ มีท้งั star ruby, star sapphire และ black star sapphire
Colour - change sapphire แซปไฟร์ ทแี่ สดงการเปลีย่ นสี
บางครั้งพบคอรันดัมที่มสี ี นา้ ตาลเทา และพบลักษณะแถบสี (colour zoning)
คอรันดัม (Corundum)
Ruby
Blue sapphire
Yellow sapphire
คอรันดัม (Corundum)
Pink sapphire
Green sapphire
คอรันดัม (Corundum)
Padparadcha
Star sapphire
คอรันดัม (Corundum)
Colour zoning
คอรันดัม (Corundum)
สี ผง(steak) : ขาว
ความแข็ง(hardness) : 9
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว(vitreous) บางครั้งคล้ายเพชร (adamantine)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : ไม่มี (none)
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย(conchoidal) ถึง ไม่เรี ยบ (uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงทึบแสง (transparent to opaque)
คอรันดัม (Corundum)
 องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย Al 52.9%, O 47.1% ทับทิมมีธาตุ Cr ปนเล็กน้อย (ประมาณ
1% แต่อาจสู งถึง 4%) ซึ่ งเป็ นสาเหตุที่ทาให้เกิดสี แดงในทับทิม ถ้ามีFe ปน
เล็กน้อยจะทาให้คอรั นดัมมีสีแดงอมน้ าตาลถึงสี ม่วง ส่ วนแซปไฟร์ สีน้ าเงิ น
หรื อไพลินนั้น จะมีธาตุ Fe และ Ti ปนอยู่ ถ้ามี Fe เข้าแทนที่เพียงอย่างเดียวจะ
ให้สีเขียว ส่ วนสี เหลืองของบุษราคัมเกิดจากcolour center โครงสร้างของคอ
รันดัม ประกอบด้วยออกซิ เจนอะตอม(O) เชื่ อมต่อกับอะตอมของอะลูมิเนี ยม
(Al) โดยมีอตั ราส่ วนของอะตอมของ Al : O เป็ น 2 : 3 ออกซิ เจนอะตอม
เชื่อมต่อกันแน่ นแบบหกเหลี่ยม (hexagonal closed packing) โดยมีอะตอม
อะลูมิเนียมอยูใ่ นตาแหน่งที่ลอ้ มรอบด้วยออกซิเจน 6 อะตอม จะเห็นว่าอะตอม
ของAl เข้าไปอยูใ่ นตาแหน่งนี้เพียง 2 ใน 3 ของช่องว่างที่มีอยู่
คอรันดัม (Corundum)
 ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic feature)
แยกจากแร่ ชนิดอื่นๆ โดยดูจากความแข็งที่สูงมาก ความวาวสูง
ถ.พ.สูง และไม่หลอมละลายในกรด คอรันดัมมีลกั ษณะคล้ายกับอัญมณี
อื่นอีกหลายชนิด เช่น garnet, chrysoberyl, spinel, tourmaline เป็ นต้น
ส่ วนใหญ่มกั ใช้คุณสมบัติทางกายภาพแยกได้
คอรันดัม (Corundum)
 การเกิด และแหล่ งแร่ ทส
ี่ าคัญ(Occurences)
คอรันดัมพบเป็ นแร่ รอง (accessory mineral) อยูใ่ นหิ นอัคนีบาง
ชนิด เช่น syenite, หิ นnepheline syenite, หิ นบะซอลต์ และหิ นpegmatite
นอกจากนี้ยงั พบในหิ นแปรบางชนิด เช่น หิ นschist แต่การทาเหมือง
ส่ วนใหญ่มกั เป็ นแบบalluvial deposit โดยจะกล่าวในรายละเอียดเพียง 4
แหล่ง คือ
คอรันดัม (Corundum)
1. แหล่งโมกก(Mogok stone tract) ประเทศพม่ า : เป็ นแหล่งทับทิมที่มี
คุณภาพดีที่สุด ตั้งอยูท่ างตอนเหนือของประเทศพม่า ทับทิมแหล่งนี้มีสี
แดงสดที่เรี ยกว่า แดงเลือดนก (pigeon’s blood) ซึ่งเป็ นทับทิมที่สีสวยที่สุด
เกิดในหิ นอ่อน ซึ่งเกิดอยูต่ ิดกันหรื อแทรกสลับกับชุดหิ นไนส์ และมีสาย
แร่ ของหิ นแกรนิตแทรกเข้ามา บางครั้งพบทับทิมอยูใ่ นหิ นสี ขาวที่มี
เฟลด์สปาร์มาก ส่ วนแซปไฟร์พบในหิ นเพกมาไทต์ สาหรับการทาเหมือง
นั้นมักพบ spinel ร่ วมกับทับทิม ซึ่งบางครั้งจึงทาให้เข้าใจผิดว่าพบทับทิม
มาก
คอรันดัม (Corundum)
Pigeon blood Ruby
คอรันดัม (Corundum)
2. แหล่งจันทบุรี-ตราด ประเทศไทย : พบคอรันดัมทั้งในeluvial และ alluvial
gravel ที่มาจากหิ นบะซอลต์ยคุ Tertiary ถึงPleistocene ซึ่งแทรกเข้ามาในหิ น
ตะกอนหรื อหิ นแปร คล้ายกับหิ นบะซอลต์ที่ให้คอรันดัมในประเทศกัมพูชา
และออสเตรเลีย ส่ วนคอรันดัมที่พบในประเทศไทยและกัมพูชา เกิดเป็ น
ผลึกขนาดใหญ่(xenocryst) อยูร่ ่ วมกับxenocryst อื่น เช่น ไคลโนไพรอกซีน
การ์เนต สปิ เนล แร่ เหล่านี้เกิดที่ความลึกมาก โดยการแปรสภาพ และ/หรื อ
การแปรสภาพโดยการแทนที่ (metasomatism) ซึ่งถูกแมกมาอายุอ่อนกว่า
แทรกเข้ามาอย่างรวดเร็ ว คอรันดัมที่พบส่ วนใหญ่เป็ น ruby อาจพบไพลิน,
เขียวส่ อง, บุษราคัม และสตาร์สีดา แร่ อื่นที่พบร่ วมด้วยได้แก่ การ์เนต, เซอร์
คอน, ควอรตซ์ และนิล(black spinel)
คอรันดัม (Corundum)
3. แหล่ง Yogo Gluch, Montana, USA : แซปไฟร์แหล่งนี้เกิดอยูใ่ นพนังของหิ น
แลมโพรไฟร์ (lamprophyre dike) แหล่งYogo Gluch เป็ นแหล่งแซปไฟร์ชนิด
ที่อยูใ่ นแหล่งกาเนิดที่ใหญ่ที่สุด เชื่อกันว่าพนังmagmaในแหล่งนี้ เกิดใน
บริ เวณที่ลึกมาก แล้วเย็นตัวลงอย่างช้าๆ ในระหว่างที่แทรกตัวเข้าไปใน
ตะกอนที่ปิดทับอยู่ การทาเหมืองทาทั้งในพนังและalluvial gavel แต่ปัจจุบนั
เหมืองนี้ได้ปิดไปแล้ว เนื่องจากประสบปัญหาขาดทุน
คอรันดัม (Corundum)
4. แหล่งNew South Wales, Australia : แหล่งทับทิมและแซปไฟร์น้ ีพบอยู่
ร่ วมกับหิ นบะซอลต์ เช่นเดียวกับแหล่งจันทบุรี-ตราด และแหล่ง
ไพลินของกัมพูชา

แหล่งอื่นที่พบ เช่น Afghanistan Brazil Canada China Columbia
India Kenya Laos Madagascar Pakistan Russia Sri Lanka Tanzania
Cambodia และ Vietnam สาหรับในประเทศไทยพบที่กาญจนบุรี แพร่
เพชรบูรณ์ ตราด อุบลราชธานี และสุ โขทัย
คอรันดัม (Corundum)
 ประโยชน์
ใช้เป็ นอัญมณี และวัสดุขดั สี ทับทิมสี แดงสดมีค่ามากที่สุด รองจาก
มรกต แซปไฟร์สีน้ าเงินมีราคาแพง ส่ วนสี อื่นๆมีราคาดีเช่นกัน คอรันดัม
ที่มีคุณภาพใช้เป็ นอัญมณี และใช้ทานาฬิกา และลูกปื นในเครื่ องมือ
วิทยาศาสตร์
ฮีมาไทต์ (Hematite)
 ระบบผลึก : ระบบสามแกนราบ (Hexagonal system)
 การเกาะกลุ่มกันของผลึก : ผลึกที่พบโดยปกติมีรูปแบนหนา หรื อบาง
ตามระนาบ หน้าคู่ฐานมักแสดงลายเส้นสามเหลี่ยม (triangular marking)
และขอบแผ่นอาจจะหักมุม โดยมีหน้าผลึกของฟอร์มรอมโบฮีดรัล แผ่น
ของรู ปผลึกอาจรวมกลุ่มกันเป็ นผลึกรู ปดอกกุหลาบ (Rosette) ซึ่งเรี ยกว่า
กุหลาบเหล็ก (Iron roses) อาจพบเป็ นผลึกรู ป
กลีบ (micaceous) และการเรี ยงตัวเป็ นแผ่น
(foliated) ซึ่งเรี ยกว่าสเปกคิวลา (specular)
หากพบลักษณะด้านเหมือนดิน เรี ยกว่า
มาร์ไทต์ (martite)
ฮีมาไทต์ (Hematite)
คุณสมบัตทิ างเคมี
สู ตรเคมี : Fe2O3
 คุณสมบัตท
ิ างกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 5.26
สี (colour) : นา้ ตาลอมแดง ถึงดา
สี ผง(steak) : แดง
ความแข็ง(hardness) : 6 – 6 ½
ประกาย(Luster) : คล้ายโลหะ(metallic) และด้ าน(dull)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : ไม่ มี
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย(conchoidal) ถึง ไม่ เรียบ (uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : ทึบแสง(opaque)

ฮีมาไทต์ (Hematite)
 องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ฮีมาไทต์ที่บริ สุทธิ์มี Fe 70%, O 30% บางครั้งพบ Mn และ Ti ปน
บ้างเล็กน้อย โครงสร้างผลึกมีลกั ษณะคล้ายคอรันดัม
 ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic feature)
สี ผงสี แดง
ฮีมาไทต์ (Hematite)

การเกิด และแหล่ งแร่ ทสี่ าคัญ
เป็ นแร่ สามัญทีเ่ กิดได้ ในหินแทบทุกยุค และเป็ นสิ นแร่ เหล็กทีส่ าคัญทีส่ ุ ด และ
มีมากทีส่ ุ ด สามารถเกิดได้ ต้งั แต่ หินภูเขาไฟ หินอัคนีเนือ้ หยาบ จนถึงแหล่งแปร
สภาพแบบสั มผัส และไพศาล
แหล่ งแร่ ทสี่ าคัญของโลกอยู่ในประเทศ Germany, USA, Brazil, Canada,
Australia, Switserland, UK, Russia, Venesuela, China, Sweden เป็ นต้ น
สาหรับประเทศไทยพบหลายแห่ ง เช่ น ลพบุรี นครสวรรค์ เชียงใหม่ เลย
ฉะเชิงเทรา นครศรีธรรมราช สุ ราษฎร์ ธานี กาญจนบุรี เป็ นต้ น
 ประโยชน์
เป็ นสิ นแร่ เหล็กทีส่ าคัญทีส่ ุ ดสาหรับการผลิตเหล็กกล้ า ใช้ เป็ นเม็ดสี และเป็ น
ผงขัด ผลึกสี ดาอาจใช้ เป็ นอัญมณี
อิลเมไนต์ (Ilmenite)
 ระบบผลึก : ระบบสามแกนเท่า (Hexagonal system)
 การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบผลึกแบนแบบหนา (thick tabular) แบบ
เม็ด (granular) และเนื้อแน่น (massive)
 คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : FeTiO3
อิลเมไนต์ (Ilmenite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 4.5 - 5
สี (colour) : ดา
สี ผง(steak) : ดา
ความแข็ง(hardness) : 5 - 6
ประกาย(Luster) : คล้ายโลหะ(metallic) และด้ าน(dull)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : ไม่ มี
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย(conchoidal) ถึง ไม่ เรียบ (uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : ทึบแสง(opaque)
อิลเมไนต์ (Ilmenite)
 องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย Fe 36.8% Ti 31.6% และ O 31.6% อัตราส่ วนของ Ti
และ Fe เปลี่ยนแปลงได้มาก
 ลักษณะที่ใช้ จาแนก (Diagnostic feature)
มักพบเป็ นผลึกแบน และบางครั้งอาจพบเป็ นทรงหกเหลี่ยม
เนื่องจากอยูใ่ นระบบผลึกเฮกซะโกนอล และมีคุณสมบัติทางแม่เหล็ก
แต่อ่อนกว่าแร่ แมกนีไทต์
อิลเมไนต์ (Ilmenite)
 การเกิด และแหล่ งแร่ ทส
ี่ าคัญ
แร่ อิลเมไนต์เกิดในหิ นแปร และพบได้ในสายแร่ ที่เกิดการแยกตัว
จากหิ นหนืด มักเกิดร่ วมกับแร่ แมกนีไทต์ ส่ วนในหิ นอัคนีมกั พบปนอยู่
ในทราย ร่ วมกับแร่ แมกนีไทต์ รู ไทล์ เซอร์คอน และโมนาไซท์ มักพบ
แร่ อิลเมไนต์ในแหล่งแร่ ดีบุกเสมอ
แหล่งที่พบ เช่น ประเทศนอร์เวย์ ฟิ นแลนด์ รัสเซีย อินเดีย และ
บราซิล และมีการทาเหมืองบริ เวณชายฝั่งเป็ นส่ วนมาก สาหรับใน
ประเทศไทยพบที่ จ.กาญจนบุรี มีขนาดเล็กเท่าเม็ดทราย ลักษณะคล้าย
ดีบุก จนอาจทาให้เข้าใจผิดกันได้ ชาวเหมืองมักเรี ยกว่า ขี้แร่ ส่ วนชนิดที่
เป็ นแผ่นบางๆซ้อนๆกัน พบในจ.จันทบุรี และตราด
อิลเมไนต์ (Ilmenite)
 ประโยชน์
เป็ นต้ นกาเนิดของไททาเนียม ซึ่งนามาใช้ เป็ นแม่ สีจานวนมาก
นามาทดแทนแม่ สีเก่าซึ่งเป็ นสารประกอบตะกัว่ เนื่องจากไททาเนียมมี
คุณสมบัติพเิ ศษ คือ สามารถนามาทาเป็ นวัตถุสร้ างเครื่องบิน ทั้งส่ วนที่
เป็ นโครงสร้ าง และเครื่องยนต์
รูไทล์ (Rutile)
 ระบบผลึก : ระบบสองแกนราบ (Tetragonal system)
 รู ปผลึกทัว่ ไป : ปกติพบรู ปผลึกเป็ นรู ปปริ ซึม โดยที่ปลายทั้งสองปิ ดด้วย
ฟอร์มไดพิระมิด และหน้าผลึกมีริ้วขนานพบได้บ่อย
 การเกาะกลุ่มกันของผลึก : ผลึกมักเป็ นรู ปเข็มเรี ยวเล็ก นอกจากนี้ ยงั พบ
เป็ นก้อนเนื้อแน่นด้วย (massive)
 คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : TiO2
รูไทล์ (Rutile)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 4.18 - 4.25
สี (colour) : แดง นา้ ตาลอมแดง ดา
สี ผง(steak) : นา้ ตาลอ่อน
ความแข็ง(hardness) : 6 – 6 ½
ประกาย(Luster) : คล้ายโลหะ(metallic)จนถึงคล้ ายเพชร(adamantine)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : แตกเรียบตามแนว {110} ชัดเจน
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย(conchoidal) ถึง ไม่ เรียบ (uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงโปร่ งแสง(transparent to translucent)
รูไทล์ (Rutile)
 องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย Ti 60% O 40% แม้วา่ รู ไทล์จะมีองค์ประกอบลักเป็ น
TiO2 แต่มีรายงานผลการวิเคราะห์พบว่ามี Fe2+ Fe3+ Nb
และ Ta ปนอยูด่ ว้ ย
 ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic feature)
รู ไทล์มีลกั ษณะเด่นคือ ความวาวเหมือนเพชร และ
สี แดง แยกจากแร่ แคสิ เทอร์ไรต์โดยรู ไทล์มีถ.พ.ที่ต่ากว่า
รูไทล์ (Rutile)

การเกิด และแหล่งแร่ ทสี่ าคัญ
รู ไทล์ พบในหินแกรนิต หินเพกมาไทต์ ทมี่ อี งค์ ประกอบเป็ นแกรนิต หินไนส์
หินไมกาชีสต์ หินปูนแปรสภาพ และหินโดโลไมต์ อาจพบเป็ นแร่ รอง(accessory
mineral) ในหิน หรือในสายแร่ ควอรตซ์ ทตี่ ัดผ่ านหินนั้น มักพบเป็ นผลึกเรียวเล็ก
อยู่ภายใน แร่ ควอรตซ์ แร่ ไมกาชนิดต่ างๆ แร่ คอรันดัม เป็ นต้ น นอกจากนั้นยังพบ
เป็ นปริมาณมากในรู ปของเม็ดทรายสี ดา อันประกอบไปด้ วยแร่ รูไทล์ อิลเมไนต์
แมกนีไทต์ เซอร์ คอน โมนาไซต์ เป็ นต้ น
แหล่งแร่ ทสี่ าคัญ เช่ น นอร์ เวย์ ฝรั่งเศส และสวิสเซอร์ แลนด์ แหล่ งรู ไทล์ ทไี่ ด้
จากหาดทรายของทะเล อยู่ทรี่ ัฐนิวเซาท์ เวลส์ และทางใต้ ของรัฐควีนส์ แลนด์
ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งมีปริมาณมากจนทาให้ ออสเตรเลียเป็ นผู้ผลิตแร่ รูไทล์ ราย
ใหญ่ ทสี่ ุ ดในโลก
รูไทล์ (Rutile)
 ประโยชน์
แร่ รูไทล์ที่ได้จากแหล่งส่ วนใหญ่ นามาใช้ลวดเชื่อม ธาตุไทเทเนียม
บางส่ วนที่ได้จากแร่ รูไทล์นาไปทาโลหะผสม ทาขั้วอิเล็กโทรดในเครื่ อง
ทาไฟอาร์ก และทาให้เกิดสี เหลืองในเครื่ องเคลือบดินเผา และฟันปลอม
นอกจากนี้ยงั มีประโยชน์ต่อภาคอุตสาหกรรมการผลิตไททาเนียมออกไซด์
เพื่อนาไปทาเม็ดสี แทนวัตถุดิบเดิมซึ่งก็คือ ธาตุตะกัว่ เป็ นส่ วนประกอบ
รูไทล์ (Rutile)
Rutile in Quartz
แคสซิเทอร์ ไรต์ (Cassiterite)
 ระบบผลึก : ระบบสองแกนราบ (Tetragonal system)
 รู ปผลึกทัว่ ไป : ปกติพบรู ปผลึกเป็ นรู ปปริ ซึม {110} และ {010} และ
ฟอร์มไดพิระมิด {111} และ {011} ที่มีลกั ษณะเป็ นรอยบาก (Notch)
ชาวเหมืองเรี ยกว่า ไวเซอร์ทิน (Visor tin)
 การเกาะกลุ่มกันของผลึก : โดยปกติมกั จับตัวกันเป็ นก้อน ส่ วนรู ปไตก็
พบได้บ่อยเช่นกัน
 คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : SnO2
แคสซิเทอร์ ไรต์ (Cassiterite)
 คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 6.8 – 7.1
สี (colour) : นา้ ตาล หรือ ดา
สี ผง(steak) : ขาว
ความแข็ง(hardness) : 6 - 7
ประกาย(Luster) : คล้ายโลหะ(metallic)จนถึงคล้ายเพชร(adamantine)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : ไม่ สมบูรณ์ (imperfect)
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย(conchoidal) ถึง ไม่ เรียบ (uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงทึบแสง(transparent to
opaque)
แคสซิเทอร์ ไรต์ (Cassiterite)
 องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย Sn 78.6% O 21.4% มีไอออนของเหล็ก Fe3+ ปนบ้าง
เล็กน้อย มีธาตุไนโอเบียมและแทนทาลัม ปนอยูใ่ นปริ มาณน้อยกว่า โดย
เข้าแทนที่ดีบุก แร่ แคสซิเทอร์ไรต์มีโครงสร้างเหมือนแร่ รูไทล์ คือ แคต
ไอออนตรงกลาง มีแอนไอออนล้อมรอบ 6 ตัว (ออกซิเจน) หรื อรู ปทรง
แปดด้าน โดยมีขอบของทรงแปดด้านต่อกันเป็ นลูกโซ่ขนานกับแกน c
ทาให้ผลึกเป็ นรู ปปริ ซึม
แคสซิเทอร์ ไรต์ (Cassiterite)
 ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic feature)
มี ถ.พ.สูงมาก ความวาวคล้ายเพชรและสี ผงจางการตรวจแร่ หากดูไม่
ออกจริ งๆ อาจใช้วิธีที่ชาวเหมืองแร่ คุน้ เคยคือ ตรวจบนถาดสังกะสี โดย
ใส่ เม็ดแร่ ลงไปในถาดแล้วเทกรดเจือจางลงไป 5 - 10 นาที และริ นน้ าล้าง
กรดออก ถ้าเป็ นแร่ ดีบุกจริ ง ผิวของเม็ดแร่
จะเปลี่ยนเป็ นโลหะผิวสี เทาขาวด้านๆ หุ ม้
อยูร่ อบเม็ดแร่ ถ้าขัดถูจะทาให้เป็ นมันวาว
ชัดขึ้น
แคสซิเทอร์ ไรต์ (Cassiterite)

การเกิด และแหล่งแร่ ทสี่ าคัญ
แร่ ดบี ุกเกิดขึน้ ทัว่ ไปอย่ างกว้ างขวาง แต่ เกิดในปริมาณทีไ่ ม่ มาก ซึ่งทาให้ บริเวณ
ทีท่ าเหมืองได้ ในเชิงพาณิชย์ มอี ยู่ไม่ กแี่ ห่ ง แหล่ งปฐมภูมขิ องแร่ นีม้ ักเกิดในหินอัคนี
และเพกมาไทต์ แต่ ทพี่ บมากทีส่ ุ ดคือในสายนา้ แร่ ร้อนอุณหภูมสิ ู ง ทีเ่ กิดอยู่ใกล้ กบั
หินแกรนิต สายแร่ ดบี ุกโดยปกติจะพบแร่ ทมี่ ีธาตุฟลูออรีน และโบรอน เช่ น แร่ ทวั ร์
มาลีน โทแพซ ฟลูออไรต์ อะพาไทต์ แร่ ดบี ุกยังพบในแหล่ งลานแร่ ในรู ปของเม็ดกรวด
ทีถ่ ูกพัดพากลิง้ มาสะสมตัวกัน
แหล่ งแร่ ดบี ุกทีม่ ชี ื่อเสี ยงของโลกมาจากแหล่ งลานแร่ ได้ แก่ มาเลเซีย รัสเซีย
อินโดนีเซีย และประเทศไทย ส่ วนในโบลิเวียได้ จากแหล่ งแร่ ทุติยภูมิ ประเทศไทยนั้น
ภาคใต้ พบทุกจังหวัด นอกจากนีพ้ บทีก่ าญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี อุทยั ธานี
กาแพงเพชร ตาก เชียงใหม่ ลาปาง เชียงราย แม่ ฮ่องสอน เป็ นต้ น
แคสซิเทอร์ ไรต์ (Cassiterite)
 ประโยชน์
ใช้สกัดเอาโลหะดีบุก โดยนาโลหะดีบุกไปใช้เคลือบเหล็ก เรี ยกว่า
แผ่นเหล็กวิลาศ ซึ่งใช้ทาภาชนะบรรจุอาหาร แต่ปัจจุบนั เริ่ มใช้นอ้ ยลง
เพราะมีการใช้อะลูมิเนียม แก้ว กระดาษ และพลาสติก แต่ดีบุกก็ยงั ใช้
ผสมกับตะกัว่ เป็ นตะกัว่ บัดกรี
Cassiterite in quartz
สปิ เนล (Spinel)
 ระบบผลึก : ระบบสามแกนเท่า (Isometric system)
 รู ปผลึกทัว่ ไป : พบเป็ นผลึกออกตะฮีดรัล (octahedral) หรื อผลึกแฝดสปิ
เนล (Spinel twin) หรื ออาจพบเป็ นผลึก dodecahedral ที่มีขนาดเล็ก
 การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบเป็ นผลึกก้อน รู ปร่ างไม่แน่นอน
 คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : MgAl2O4
สปิ เนล (Spinel)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 3.5 - 4.1
สี (colour) : มีหลายสี ทีพ่ บบ่ อยคือ แดง ชมพู ส้ ม นา้ เงิน และม่ วง นอกจากนีย้ งั พบ
สี เหลือง เขียว นา้ ตาล ดา และชนิดทีไ่ ม่ มีสีด้วย
สี ผง(steak) : ขาว
ความแข็ง(hardness) : 8
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว(vitreous)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : ไม่ มี
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย(conchoidal)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสจนเกือบทึบแสง (transparent to opaque)
สปิ เนล (Spinel)
 องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย MgO 28.2%, Al2O3 71.8% อาจมี Fe2+ Zn และ Mn2+
เข้าแทนที่ Mg บ้างแต่ไม่เสมอไป แร่ กลุ่มspinel แบ่งได้เป็ น
ส่ วนประกอบสุ ดท้ายหลายชนิด แต่สปิ เนลที่มีคุณสมบัติเป็ นอัญมณี มี
ส่ วนประกอบใกล้กบั MgAl2O4 มีอะตอมของออกซิเจนจับตัวกันแน่น
แบบลูกบาศก์ (cubic closed packing)
 ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
ความแข็ง ลักษณะรู ปผลึกออกตะฮีดรัล ความวาวเหมือนแก้ว สี ผง
เป็ นสี ขาว
สปิ เนล (Spinel)
การเกิด และแหล่งแร่ ทสี่ าคัญ
สปิ เนลเป็ นแร่ ทเี่ กิด ณ อุณหภูมสิ ู ง ในหินปูนทีถ่ ูกแปรสภาพแบบสั มผัส และ
หินเนือ้ ดินทีแ่ ปรสภาพ ซึ่งหินเหล่านีม้ ี SiO2 ตา่ ในหินทีเ่ กิดจากกระบวนการแปร
สภาพแบบสั มผัส สปิ เนลจะเกิดร่ วมกับแร่ โพลโกไพต์ พิโรห์ ไทต์ คอนโดรไดต์ และ
แกรไฟต์ มักพบบ่ อยในลักษณะทีเ่ ป็ นเม็ดกรวดทีผ่ ่ านการพัดพาและทับถมอยู่ใน
ทรายท้ องนา้ และทีค่ งทนอยู่ได้ เพราะมีคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีที่คงทน
แหล่งที่พบได้ แก่ ประเทศศรีลงั กา ไทย พม่ าตอนเหนือ สหรัฐอเมริกา ใน
ประเทศไทยนั้นพบเป็ น black spinel หรือที่เรียกกันว่ า “นิล” นั่นเอง พบที่ จ.
กาญจนบุรี จันทบุรี และตราด และสี แดงพบที่ จ.เชียงราย
 ประโยชน์
ใช้ ทาอัญมณี โดยเฉพาะสปิ เนลสี แดง

การ์ ไนต์ (Gahnite)
 ระบบผลึก : ระบบสามแกนเท่า (Isometric system)
 รู ปผลึกทัว่ ไป : มักพบเป็ นรู ปออกตะฮีดรอล ที่มีหน้าผลึกแสดงแนวเส้น
ขนานกับขอบผลึก ที่เกิดขึ้นระหว่างฟอร์มผลึกโดเดคะฮีดรัล และออก
ตะฮีดรัลตัดกัน มีนอ้ ยมากที่แสดงฟอร์มผลึกโดเดคะฮีดรัลและลูกบาศก์
ที่สมบูรณ์แบบ
 การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบเป็ นแบบเม็ด
(granular)
 คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : ZnAl2O4
การ์ ไนต์ (Gahnite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 4.55
สี (colour) : สี เขียวแก่
สี ผง(steak) : เทา
ความแข็ง(hardness) : 7 ½ - 8
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว(vitreous)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : ไม่ สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย(conchoidal) ถึงไม่ เรียบ(uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งแสง(translucent)
การ์ ไนต์ (Gahnite)
องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
อาจพบธาตุ Fe2+ และ Mn2+ เข้ าแทนที่ Zn ในโครงสร้ างได้ และพบ Fe3+ เข้ า
แทนที่ Al
 ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
ลักษณะฟอร์ มผลึกออกตะฮีดรัลที่มีลายเส้ น และความแข็ง
 การเกิด และแหล่ งแร่ ทส
ี่ าคัญ
กาห์ ไนต์ เป็ นแร่ หายาก มักเกิดในหินเพกมาไทต์ ทมี่ ีเนือ้ เป็ นหินแกรนิต เกิด
ในแหล่ งแร่ สังกะสี และเป็ นแร่ ทเี่ กิดจากการแปรสภาพในหินปูนที่ตกผลึก พบใน
ประเทศเยอรมนี สวีเดน และสหรัฐอเมริกา
 ประโยชน์ ใช้ ทาเป็ นอัญมณีได้

คริโซเบริล (Chrysoberyl)
 ระบบผลึก : ระบบสามแกนต่าง (Orthorhombic system)
 รู ปผลึกทัว่ ไป : มักพบเป็ นผลึกแฝดแบบวง (cyclic twin)
 คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : BeAl2O4
Cyclic twin
คริโซเบริล (Chrysoberyl)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ (S.G.) : 3.71 - 3.75
สี (colour) : ส่ วนใหญ่ มีต้งั แต่ สีเหลือง ถึงเขียวอมเหลือง นา้ ตาลอมเหลือง ถึง
นา้ ตาล แต่ อาจมีสีนา้ เงินอ่อนซึ่งพบน้ อยมาก คริโซเบริลทีแ่ สดงการเปลีย่ นสี เมือ่
แหล่งกาเนิดแสงมีความยาวคลืน่ ทีแ่ ตกต่ างกัน เรียกว่ า อเล็กซานไดรต์
(alexandrite) โดยจะมีสีเขียวอมเหลือง อมนา้ ตาล หรืออมนา้ เงินในเวลากลางวัน
และเปลีย่ นเป็ นสี แดงอมส้ ม อมนา้ ตาล หรืออมม่ วง ในแสงทีเ่ กิดจากหลอดไฟ
ทังสเตน
คริโซเบริล (Chrysoberyl)
สี ผง(steak) : ขาว
ความแข็ง(hardness) : 8 ½
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว(vitreous)ถึงกึง่ คล้ ายเพชร (subadamantine)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : มีแนวแตกเรียบ {001}
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย(conchoidal) ถึง ไม่ เรียบ(uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงกึง่ โปร่ งแสง
(transparent to subtranslucent)
คริโซเบริล (Chrysoberyl)
 องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย BeO 19.8% Al2O3 80.2% โครงสร้างคริ โซเบริ ลมี
โครงสร้างเหมือนกับแร่ โอลิวีน ประกอบด้วยอะตอมของเบริ ลเลียม อยู่
ในตาแหน่งที่ลอ้ มรอบด้วยออกซิเจน 4 อะตอม ส่ วนอะตอมอะลูมิเนียม
ล้อมรอบด้วยออกซิเจน 6 อะตอม ในลักษณะของการอัดตัวชิดกันแบบ
หกเหลี่ยม(Hexagonal closed packing) สี ของคริ โซเบริ ลเกิดจากธาตุ
เหล็กที่มีอยูเ่ ล็กน้อยในโครงสร้าง ส่ วนสี ของ alexandrite เกิดจากธาตุ
โครเมียม
 ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
มีความแข็งสูง สี เขียวอมเหลือง แสดงผลึกแฝด
คริโซเบริล (Chrysoberyl)
 การเกิด และแหล่ งแร่ ทส
ี่ าคัญ
คริ โซเบริ ลเป็ นแร่ หายาก เกิดในหิ นแกรนิต เพกมาไทต์ และไมกา
ชีสต์ มักพบในทรายและกรวดตามแม่น้ า แหล่งที่สาคัญคือ บราซิล ศรี
ลังกา และมาดากัสการ์ อเล็กซ์ซานไดรต์พบครั้งแรกที่ Takovaya ใน
เทือกเขา Ural แหล่งอื่นๆได้แก่ พม่า ซิมบับเว และแซมเบีย
 ประโยชน์ ใช้เป็ นอัญมณี
แมกนีไทต์ (Magnetite)
 ระบบผลึก : ระบบสามแกนเท่า (Isometric system)
 รู ปผลึกทัว่ ไป : แสดงผลึกรู ปออกตะฮีดรัล
 การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบเป็ นแบบเม็ด(granular) และเนื้ อแน่น
(massive)
 คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : Fe3O4 (Fe2+ Fe3+ oxide)
แมกนีไทต์ (Magnetite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 5.2
สี (colour) : ดา
สี ผง(steak) : ดา
ความแข็ง(hardness) : 5 ½ - 6 ½
ประกาย(Luster) : คล้ายโลหะ (metallic)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : ไม่ มี
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย (conchoidal) ถึง ไม่ เรียบ(uneven)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : ทึบแสง (opaque)
แมกนีไทต์ (Magnetite)
 องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วย Fe 72.4% และ O 27.6% อาจมีแมกนีเซียม และ
แมงกานีสปนเล็กน้อย
 ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
สามารถดูดแม่เหล็กติด เพื่อตรวจสอบให้แน่ใจ ควรใช้เข็มเย็บผ้า
ใหม่ จ่อเศษผงเล็กๆของแร่ จะทราบได้ทนั ที แร่ มีสีดา ไม่หลอมละลาย
แต่จะละลายช้าๆในกรดเกลือร้อน
แมกนีไทต์ (Magnetite)
 การเกิด และแหล่ งแร่ ที่สาคัญ
เป็ นแร่ ที่เกิดในอุณหภูมิสูง แทรกอยูท่ วั่ ไปในหิ นอัคนี และหิ นอ่อน
โดยเฉพาะตรงแหล่งที่แปรสภาพแบบสัมผัส พบในสายแร่ ซลั ไฟด์ ตาม
ชายฝั่งทะเลที่มีทรายสี ดา มักมีแร่ แมกนีไทต์ปนอยูด่ ว้ ยเสมอ
แหล่งแร่ ที่สาคัญ เช่น แหล่ง Kiluna และ Gellivare ในประเทศ
สวีเดนตอนเหนือ นอกจากนี้ยงั พบที่นอร์เวย์ โรมาเนีย ส่ วนแหล่งที่มี
กาลังแม่เหล็กธรรมขาติสูงที่สุด พบที่ไซบีเรี ย
 ประโยชน์ เป็ นสิ นแร่ เหล็กที่สาคัญ
Halides
 หมู่แร่ เฮไลด์ เกิดจากการรวมตัวกันของธาตุโลหะหมู่ I, II และธาตุ
halogen หรื อธาตุหมู่ 7 รวมกันเป็ นสารประกอบแร่ ข้ ึน ธาตุฮาโลเจน
ได้แก่ ฟลูออรี น คลอรี น โบรมีน หรื อ ไอโอดีน
 แร่ ที่เกิดในหมู่น้ ี เช่น fluorite, halite
ฟลูออไรต์ (Fluorite)
 ระบบผลึก : ระบบสามแกนเท่า (Isometric system)
 รู ปผลึกทัว่ ไป : ปกติพบเป็ นผลึกลูกบาศก์ มักพบเป็ นผลึกแฝดแบบ
Penetration twins ตามแนว {111} ส่ วนฟอร์มอื่นๆพบได้นอ้ ย
 การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักพบเป็ นผลึก หรื อเป็ นกลุ่มก้อนที่ลอก
ออกเป็ นแผ่นได้ และพบเป็ นแบบเม็ด(Granular)ที่ละเอียดหรื อหยาบ
และรู ปแท่ง(columna)
 คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : CaF2
ฟลูออไรต์ (Fluorite)
 คุณสมบัติทางกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 3.18
สี (colour) : สี ที่พบบ่อยคือ สี เขียวอ่อน เหลือง เขียวปนน้ าเงิน ม่วงแดง
นอกจากนี้ยงั พบแบบไม่มีสี สี ขาว สี ดอกกุหลาบ น้ าเงิน น้ าตาล ผลึก
เดี่ยวอาจแสดงแถบสี หลายๆสี ส่ วนผลึกที่เป็ นก้อนเนื้อแน่นก็แสดงแถบ
สี หลายสี ได้เช่นกัน
สี ผง(steak) : ขาว
ฟลูออไรต์ (Fluorite)
ฟลูออไรต์ (Fluorite)
ความแข็ง(hardness) : 4
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว(vitreous)
แนวแตกเรี ยบ(cleavage) : มีแนวแตกเรี ยบ {111}
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย(conchoidal) และคล้ายเสี้ ยน(splintery)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใสถึงกึ่งโปร่ งแสง (transparent to
subtranslucent)บางครั้งพบทึบแสง (opaque)
ฟลูออไรต์ (Fluorite)
 องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วยแคลเซียม(Ca) 51.3% และฟลูออรี น(F) 48.7% อาจ
พบธาตุหายากเช่น อิตเทรี ยม (Y) และซีเซียม (Ce) อาจเข้าแทนที่
แคลเซียมได้
 ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
ลักษณะรู ปผลึกลูกบาศก์ และแนวแตกเรี ยบออกตะฮีดรัล และ
ประกายคล้ายแก้ว มีดพับสามารถขูดขีดได้
ฟลูออไรต์ (Fluorite)

การเกิด และแหล่งแร่ ทสี่ าคัญ
ฟลูออไรต์ เป็ นแร่ สามัญและพบได้ อย่ างกว้ างขวางมาก ปกติพบในสายแร่ นา้
ร้ อน ซึ่งฟลูออไรต์ อาจเป็ นแร่ หลักทีเ่ กิดร่ วมกับสิ นแร่ โลหะต่ างๆ โดยเฉพาะตะกัว่
และเงิน มักพบในช่ องว่ างหรือโพรง ในหินโดโลไมต์ และหินปูน และมักพบว่ าเป็ น
แร่ รองในหินอัคนีหลายชนิด และหินเพกมาไทต์ เกิดร่ วมกับแร่ หลายๆชนิด เช่ น
แคลไซต์ โดโลไมต์ ยิปซัม ซีเลสไทน์ แบไรต์ ควอรตซ์ กาลีนา สฟาเลอร์ ไรต์ แคส
ซิเทอร์ ไรต์ และอะพาไทต์
ประเทศทีม่ แี หล่ งฟลูออไรต์ ทสี่ าคัญเช่ น อังกฤษ เยอรมนี มองโกเลีย รัสเซีย
แอฟริกาใต้ จีน สเปน และประเทศไทย ได้ แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลาพูน แม่ฮ่องสอน
ลาปาง เชียงราย แพร่ อุตรดิตถ์ สุ โขทัย กาแพงเพชร ตาก นครสวรรค์ อุทยั ธานี
สุ พรรณบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี กระบี่ และสุ ราษฎร์ ธานี
ฟลูออไรต์ (Fluorite)
 ประโยชน์
ใช้ในอุตสาหกรรมเคมี มากกว่า 50 % ของผลผลิตที่ได้ โดยเฉพาะ
ใช้เตรี ยมกรดไฮโดรฟลูออริ ก และใช้ทาเป็ นฟลักซ์ในอุตสาหกรรม
เหล็กกล้า และประโยชน์ดา้ นอื่นๆเช่น อุตสาหกรรมแก้ว ไฟเบอร์กลาส
ภาชนะดินเผา และเครื่ องเคลือบ ใช้ทาเครื่ องประดับตกแต่งเช่น ถาด
แจกัน
เฮไลต์ (Halite)
 ระบบผลึก : ระบบสามแกนเท่า (Isometric system)
 รู ปผลึกทัว่ ไป : มักพบผลึกทรงลูกบาศก์(cubic)
 การเกาะกลุ่มกันของผลึก : ส่ วนใหญ่พบผลึกทรงลูกบาศก์ (cubic) แบบ
เม็ด (Granular) และเนื้อแน่น (massive)
 คุณสมบัติทางเคมี
สูตรเคมี : NaCl
เฮไลต์ (Halite)

คุณสมบัตทิ างกายภาพ
ความถ่ วงจาเพาะ(S.G.) : 2.2
สี (colour) : ไม่ มีสี สี เทา ขาว แดง นา้ เงิน
สี ผง(steak) : ขาว
ความแข็ง(hardness) : 2
ประกาย(Luster) : คล้ายแก้ว(vitreous)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : มีแนวแตกเรียบสมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : คล้ายฝาหอย(conchoidal)
ความโปร่ งใส(Diaphenity) : โปร่ งใส ถึง โปร่ งแสง (transparent to transluent)
เฮไลต์ (Halite)
 องค์ ประกอบและโครงสร้ าง (crystal structure)
ประกอบด้วยแร่ Na 39.3% และ Cl 60.7% อาจมีมลทินของแร่ อื่น
เจือปน เช่น แคลเซียมซัลเฟต แมกนีเซียมซัลเฟต แมกนีเซียมคลอไรด์
เป็ นต้น
 ลักษณะทีใ่ ช้ จาแนก (Diagnostic features)
ลักษณะเด่นของแร่ เฮไลต์คือ มีรสเค็ม และละลายในน้ าได้ดี
นอกจากนี้ยงั มีแนวแตกเรี ยบที่สมบูรณ์ บางครั้งอาจพบการเรื องแสง
หากนาไปตรวจสอบ ผิวแร่ มกั เปี ยกชื้นอยูเ่ สมอ
เฮไลต์ (Halite)

การเกิด และแหล่งแร่ ทสี่ าคัญ
เกิดจากการตกตะกอนสะสมตัวของนา้ ทะเล เนื่องจากนา้ ทะเลระเหยออกไป
ทาให้ บางส่ วนทีเ่ หลืออยู่มคี วามเข้ มข้ นมากขึน้ จึงเกิดการตกตะกอนสะสมตัวเป็ น
ชั้นบางๆ มักเกิดแทรกสลับอยู่ในชั้นของหินดินดาน หินปูนโดโลไมต์ หรือพบเกิด
เป็ นชั้นร่ วมกับแร่ ยปิ ซัม แอนไฮไดรต์ ดินเหนียว แคลไซต์ บางครั้งพบเป็ น
สารละลายปะปนอยู่ทวั่ ไปในบริเวณทีม่ พี ุนา้ เกลือ(salt spring) ซึ่งพุ่งขึน้ มาจากใต้
ดิน บริเวณทีม่ ชี ้ันหินเกลืออยู่ หรือในบริเวณทีม่ นี า้ เค็มจัด(salt sea)
แหล่งที่พบ เช่ น ประเทศออสเตรเลีย โปแลนด์ เชคโกสโลวเกีย เยอรมนี
สเปน รัสเซีย อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ส่ วนในประเทศไทยพบบริวเณทีร่ าบสู งโคราช
หรือบริเวณใกล้ เคียง เช่ น จังหวักชัยภูมิ กาฬสิ นธุ์ มหาสารคาม ร้ อยเอ็ด ศรีสะเกษ
หนองคาย อุดรธานี อุบลราชธานี
 ประโยชน์
เฮไลต์ (Halite)
เป็ นประโยชน์อย่างมากในอุตสาหกรรมเคมี เพราะเป็ นตัวที่ให้ท้ งั
ธาตุโซเดียม และคลอรี น นอกจากนี้ยงั ใช้เป็ นส่ วนผสมในการทา
ผงซักฟอก หรื ออุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการซักรี ด การทอผ้า และ
อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการย้อมและฟอกหนัง ใช้เป็ นเครื่ องปรุ งในการ
ประกอบอาหาร หรื อเก็บรักษาอาหารต่างๆ