การจัดการกับไฟล์ข้อมูล  การจัดการกาหนดตัวแปร  การคัดลอกคุณสมบัติของตัวแปร  การจัดการป้ อนข้อมูล  การกาหนดคุณสมบัติของตัวแปรจากข้อมูล จัดทาและเรี ยบเรี ยงโดย นางสาวสมฤทัย ปั้นพานิช การจัดการกาหนดตัวแปร  ส่ วนประกอบสาคัญของการจัดการกาหนดตัวแปร ได้แก่   ข้อคาถามที่ระบุในแบบสอบถาม คู่มือการลงรหัส จะสามารถจัดการตัวแปรได้ง่ายขึ้น ซึ่งจะประกอบไปด้วย    ชื่อตัวแปร ความหมายของตัวแปร จะเป็ นการแทนค่าข้อมูลที่ใช้ในการป้ อน การสู ญหาย หรื อ.

Download Report

Transcript การจัดการกับไฟล์ข้อมูล  การจัดการกาหนดตัวแปร  การคัดลอกคุณสมบัติของตัวแปร  การจัดการป้ อนข้อมูล  การกาหนดคุณสมบัติของตัวแปรจากข้อมูล จัดทาและเรี ยบเรี ยงโดย นางสาวสมฤทัย ปั้นพานิช การจัดการกาหนดตัวแปร  ส่ วนประกอบสาคัญของการจัดการกาหนดตัวแปร ได้แก่   ข้อคาถามที่ระบุในแบบสอบถาม คู่มือการลงรหัส จะสามารถจัดการตัวแปรได้ง่ายขึ้น ซึ่งจะประกอบไปด้วย    ชื่อตัวแปร ความหมายของตัวแปร จะเป็ นการแทนค่าข้อมูลที่ใช้ในการป้ อน การสู ญหาย หรื อ.

การจัดการกับไฟล์ข้อมูล
 การจัดการกาหนดตัวแปร
 การคัดลอกคุณสมบัติของตัวแปร
 การจัดการป้ อนข้อมูล
 การกาหนดคุณสมบัติของตัวแปรจากข้อมูล
จัดทาและเรี ยบเรี ยงโดย นางสาวสมฤทัย ปั้นพานิช
การจัดการกาหนดตัวแปร

ส่ วนประกอบสาคัญของการจัดการกาหนดตัวแปร ได้แก่


ข้อคาถามที่ระบุในแบบสอบถาม
คู่มือการลงรหัส จะสามารถจัดการตัวแปรได้ง่ายขึ้น ซึ่งจะประกอบไปด้วย



ชื่อตัวแปร
ความหมายของตัวแปร จะเป็ นการแทนค่าข้อมูลที่ใช้ในการป้ อน
การสู ญหาย หรื อ Missing
การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)

การกาหนดตัวแปรโดยโปรแกรม SPSS
2
1
การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)

ส่ วนประกอบต่างๆ ของ Variable View










Name
Type
Width
Decimals
Label
Value
Missing
Columns
Align
Measure
ชื่อตัวแปร
ชนิดของตัวแปร
ความกว้างของตัวแปร
ความกว้างของตัวแปร แบบมีทศนิยม
รายละเอียดคาอธิ บายตัวแปร
ค่าของตัวแปร
การสู ญหาย
ความกว้างของ Column
กาหนดตาแหน่งการแสดงค่าของข้อมูล
กาหนดมาตรวัดของข้อมูล
การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)

ตัวอย่างเช่น
ดูที่ Data View จะเปลี่ยนไปตามการกาหนดค่าของตัวแปร ทาให้ป้อน
ข้อมูลได้ง่ายขึ้น
การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)

Type เลือกให้เหมาะสมกับชนิดของตัวแปร
1
3
2
5
4
การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)

ชนิดของ Type ประกอบไปด้วย

Numeric
Comma
Dot
Scientific notation

Date



ตัวเลข
มีเครื่ องหมาย Comma
มีเครื่ องหมาย Dot คัน่ แทน Comma
ไฟล์ที่มีตวั แปรอยูใ่ นรู ปแบบ Function
Exponential
ตัวแปรที่เป็ นชนิดของวันที่ สามารถเลือก
รู ปแบบได้

Dollar
กาหนดรู ปแบบตัวเลข ติดเครื่ องหมาย Dollar
(ค่าเงิน) สามารถกาหนดจานวนเต็มและทศนิยมได้
การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)

ชนิดของ Type ประกอบไปด้วย (ต่อ)


Custom currency
String
ผูใ้ ช้กาหนดเอง
กาหนดรู ปแบบตัวอักษร คานวณไม่ได้
การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)

Value กาหนดค่าที่ต้ งั ไว้ในแบบสอบถาม
1
2
3
4
6
7
5
การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)

Value กาหนดค่าที่ต้ งั ไว้ในแบบสอบถาม (ต่อ)


Value : ค่าที่ตอ้ งการ
Label : ค่าป้ ายชื่อ
เช่น Value : 1
Label : ชาย
และคลิกที่ปุ่ม Add เพื่อเป็ นการเพิ่มค่าให้กบั Value แต่หากต้องการ
เปลี่ยนแปลงข้อมูลที่ได้ Add เข้าไปไว้ใน Value แล้ว ให้คลิกเลือก
ที่ค่าข้อมูล จากนั้นให้ทาการแก้ไข และคลิกที่ปุ่ม Change
การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)
Value กาหนดค่าที่ต้ งั ไว้ในแบบสอบถาม (ต่อ)
หากต้องการลบข้อมูลใน Value ทิ้งให้คลิกเลือกที่ขอ้ มูล จากนั้นคลิกที่
ปุ่ ม Remove เมื่อกาหนดเสร็ จสิ้ นแล้วกดที่ปุ่ม OK

การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)

Missing กาหนดค่าการสู ญหาย ใช้ในกรณี แบบสอบถามที่ผตู ้ อบไม่
1
กรอกค่ามาให้ ทาให้ตวั แปรถูกยกเลิกออกไป
2
3
การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)

Missing ประกอบไปด้วย 3 ตัวเลือก ได้แก่



No Missing Value หมายถึงไม่กาหนดค่า Missing
Discrete Missing Value เป็ นการกาหนดค่าให้ขอ้ มูลที่สูญหาย โดย
สามารถกาหนดได้ 3 ค่า เป็ นค่าตัวเลข เช่น 9, 99, 0 เป็ นต้น
Range Plus One Optional Discrete Missing Value
เป็ นการกาหนดค่าให้กบั ข้อมูลที่สูญหายเป็ นช่วง ซึ่งสามารถระบุค่าต่าสุ ดและสูงสุ ด
ของข้อมูลที่เป็ น Missing แต่ละช่วงได้
การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)


Columns สามารถกาหนดความกว้างของ Column ได้โดยคลิก
เพิ่มหรื อลดตัวเลขบอกระดับความกว้างของ Column ได้ หรื ออาจปรับ
ขยายใน Cell ใน Data View เลยก็ได้
Align กาหนดตาแหน่งแสดงค่าข้อมูล ซึ่งจะมี 3 ตัวให้เลือกคือ Left,
1
Right, Center
การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)

Measure เป็ นการกาหนดมาตรวัดข้อมูล ประกอบด้วย 3 ตัวให้เลือก
1
คือ Scale, Ordinal, Nominal
การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)

Measure (ต่อ)



Scale ใช้กบั ข้อมูลที่วดั ปริ มาณได้ สามารถ บวก ลบ คูณ หาร ได้ โดยตัวแปรจะ
เป็ นตัวเลข
Ordinal ตัวแปรกาหนดวัดระดับความสาคัญ ข้อมูลบ่งบอก ดีมาก ดี พอใช้
อันดับ 1, 2, 3 โดยไม่มีความหมายในการคานวณ
Nominal ใช้กบั ข้อมูลระดับล่างสุ ด จาแนกข้อมูลซ้ าๆ กัน ไม่มีความหมายใน
การคานวณ เช่น บ้านเลขที่, เพศ, เลขประจาตัวประชาชน เป็ นต้น
การจัดการกาหนดตัวแปร (ต่ อ)
คลิกที่ Data View จะถูกปรับเปลี่ยนตามการกาหนดค่าตัวแปร และ
แถวด้านบนจะมีตวั แปรที่กาหนดมาให้ดว้ ย โดยสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไข
ได้ โดยคลิกเลือกปรับเปลี่ยนค่าของข้อมูลใน Variable View
Variable View
Data View
การคัดลอกคุณสมบัตขิ องตัวแปร
นอกจากที่กาหนดคุณสมบัติของตัวแปรจาก Variable View ด้วย
วิธีการพิมพ์ค่า และกาหนดค่าด้วยตัวเอง ยังสามารถที่จะคัดลอกคุณสมบัติ
ของตัวแปรเข้ามาได้ หากว่าไฟล์ตวั อื่นมีการกาหนดค่าตัวแปรเช่นเดียวกัน
โดยใช้วิธีการดังนี้ Data  Copy Data Properties
1
2
การคัดลอกคุณสมบัตขิ องตัวแปร (ต่ อ)
จะปรากฏหน้าจอ Wizard ที่จะให้คดั ลอกเอาเฉพาะ Data
Properties หรื อคุณสมบัติของตัวแปรนัน่ เอง
1
4
การคัดลอกคุณสมบัตขิ องตัวแปร (ต่ อ)

ก่อนอื่นต้องทาการเลือกไฟล์ที่จะคัดลอกก่อนว่าอยูท่ ี่ไหน โดยคลิกเลือกไปที่
ปุ่ ม Brows ซึ่งไฟล์ที่สามารถนามาใช้งานได้จะต้องเป็ นไฟล์ของ
SPSS ที่มีส่วนขยาย .sav หลังจากเลือกไฟล์ได้แล้ว ให้เลือกไปที่
Open และคลิกที่ปุ่ม Next
2
3
การคัดลอกคุณสมบัตขิ องตัวแปร (ต่ อ)
หน้าจอนี้จะเป็ นการกาหนด Data Properties หรื อคุณสมบัติจะมี
ช่องที่ใช้ในการกาหนดอยู่ 2 ช่องคือ


Source File Variable
Matching Working File Variable
เป็ นช่องที่ใช้ในการเลือกไฟล์ที่ใช้ในการคัดลอกคุณสมบัตินนั่ เอง
1
2
การคัดลอกคุณสมบัตขิ องตัวแปร (ต่ อ)


วิธีการเลือก สามารถคลิกเลือกได้ โดยหากเลือกหลายตัวกดปุ่ ม Shift ที่
แป้ น Keyboard แล้วเลือกรายการใน Source File
Variable จะเป็ นการเลือกข้อมูลที่ต่อกัน แต่หากเป็ นการเลือกข้อมูลที่ไม่
อยูต่ ่อกันจะใช้ปุ่ม Control ที่แป้ น Keyboard ร่ วมกับการคลิก โดย
กดปุ่ ม Control ค้างไว้ จากนั้นคลิกเลือกไฟล์ที่เฉพาะที่ตอ้ งการ
ให้สงั เกตว่าจะมีการเลือกไฟล์ โดยบอกจานวนว่าตัวแปรที่เราได้คดั ลอกมีกี่
ตัวแปร ให้ดูที่ Selected Variable และในช่องของ Working
จะมีการแสดงให้ทราบว่าจะมีการสร้างตัวแปรขึ้นมาอีกกี่ตวั โดยดูจาก
Matching Variable และ Variable tobe Create ซึ่ง
ค่าทั้ง 2 ค่าจะเท่ากัน เมื่อเลือกได้แล้วคลิกที่ปุ่ม Next
การคัดลอกคุณสมบัตขิ องตัวแปร (ต่ อ)
1
2
3
การคัดลอกคุณสมบัตขิ องตัวแปร (ต่ อ)

ใน Step ที่ 3 โปรแกรมจะให้เลือกว่าเราต้องการคัดลอกเอาคุณสมบัติ
ใดบ้าง โดยจะมีคุณสมบัติหลายๆ ตัวที่เราสามารถกาหนดได้ ตั้งค่าเอาไว้ ไม่
ว่าจะเป็ น


Value Label
Missing Values
ป้ ายฉลาก
ค่า Missing
Variable Label
หรื อว่าในรู ปแบบต่างๆ การจัดวาง และการกาหนด Column นอกจากนั้นยัง
สามารถเลือกได้วา่ ให้มีการพิมพ์ทบั (Replace) หรื อผสานกัน (merge) ก็
ได้ จากนั้นกดปุ่ ม Next

การคัดลอกคุณสมบัตขิ องตัวแปร (ต่ อ)
1
การคัดลอกคุณสมบัตขิ องตัวแปร (ต่ อ)

ใน Step ที่ 4 ให้ไปคลิกเลือกที่ File Label แล้วเลือกคลิกที่ปุ่ม
Next
1
2
การคัดลอกคุณสมบัตขิ องตัวแปร (ต่ อ)



ขั้นตอนสุ ดท้ายจะมีการแจ้งให้ทราบว่ามีการระบุจานวน Copy ตัวแประ
ทั้งหมด และมีการระบุจานวนของ Copy Dataset
ต้องการให้ Execute เป็ น Command (Execute the
Command) หรื อ Paste (Paste the Command
into a Syntax Windows) เป็ น Syntax หรื อออกมาใน
รู ปแบบของคาสัง่ อื่นๆ ก็สามารถเลือกได้
หลังจากนั้นเลือกคลิกที่ปุ่ม Finish
การคัดลอกคุณสมบัตขิ องตัวแปร (ต่ อ)
1
2
3
การคัดลอกคุณสมบัตขิ องตัวแปร (ต่ อ)

หน้าจอ Variable View จะมีตวั แปรต่างๆ พร้อมกับการกาหนดค่าที่
เราได้คดั ลอกเข้ามาไว้จากไฟล์ตวั อื่น
การจัดการป้อนข้ อมูล
หลังจากที่กาหนดค่าของตัวแปร ขั้นตอนต่อไปคือการกรอกค่าของข้อมูล ซึ่ง
วิธีการกรอกค่าของข้อมูลสามารถทาได้ง่ายๆ ดังนี้



คลิกเลือกที่ Case หรื อแถว ที่เราต้องการจะกรอกค่า ใน Data View
ใส่ ค่าของข้อมูลลงไปตามที่ระบุไว้ในแบบสอบถาม
การตรวจสอบเช็คค่าข้อมูลสามารถทาได้โดย เลือกไปที่ปุ่ม Value Label บน
แถบ Toolbars เพื่อที่จะดูในรายละเอียด หากว่าค่าใดที่มีการใช้ Value
label จะปรากฏปุ่ มสามเหลี่ยมขึ้นมา ให้เราสามารถคลิกเลือกได้
การจัดการป้อนข้ อมูล (ต่ อ)
2
1
การจัดการป้อนข้ อมูล (ต่ อ)
1
การจัดการป้อนข้ อมูล (ต่ อ)

การคัดลอกข้อมูล





คลิกเลือกที่ Case หรื อแถวที่ตอ้ งการคัดลอก คลิกขวาจากนั้นเลือกใช้คาสั่ง Copy
การวาง Paste ให้เลือกไปยัง Case หรื อแถวที่ตอ้ งการจะวางผลการคัดลอก คลิกขวาจากนั้น
เลือกใช้คาสั่ง Paste
หากต้องการ Copy หลายๆ Case ให้คลิกที่แถวหรื อ Case แล้วลากลงมา (ทาแถบดาทั้ง
แถว) จากนั้นคลิกขวาเลือกใช้คาสั่ง Copy
การวาง Case ที่ Copy มาหลาย Case ให้ทาแถบดาคลุมบริ เวณพื้นที่ที่จะวางให้เท่ากับ
จานวน Case ที่ได้ทาการ Copy มา จากนั้นคลิกขวาเลือกใช้คาสั่ง Paste
หากต้องการ Copy แค่บางส่ วนของ Case ทาแถบดาคลุมบริ เวณพื้นที่ที่ตอ้ งการ Copy
จากนั้นคลิกขวาเลือกใช้คาสัง่ Copy ส่ วนการวางให้ทาแถบดาคลุมพื้นที่บริ เวณที่ตอ้ งการจะวาง
ให้เท่ากับพื้นที่ที่ได้ทาการ Copy มา จากนั้นคลิกขวาเลือกใช้คาสั่ง Paste
การจัดการป้อนข้ อมูล (ต่ อ)
1
2
การจัดการป้อนข้ อมูล (ต่ อ)
1
2
การจัดการป้อนข้ อมูล (ต่ อ)


หากต้องการจะ Clear ข้อมูลหรื อลบข้อมูลทิ้ง ให้คลิกที่ Case หรื อ
แถว (โดยการทาแถบดา) จากนั้นคลิกขวาเลือกใช้คาสัง่ Clear
หากต้องการลบข้อมูลให้คลิกเลือกตาแหน่งที่ตอ้ งการลบ และกดทีป่ ุ่ ม
Delete บนแป้ น Keyboard จะพบว่ามี . (จุด) ปรากฏขึ้นมา จุดนี้
จะเป็ นค่าของ Missing ซึ่งหมายถึงไม่ได้กรอกข้อมูล
การจัดการป้อนข้ อมูล (ต่ อ)
1
2
การจัดการป้อนข้ อมูล (ต่ อ)


การแทรก Case หรื อแถว เช่น ต้องการแทรก Case ที่ 1 และ 2 ทา
ได้โดยเลือกที่ Case ที่ 2 จากนั้นคลิกขวาเลือกใช้คาสัง่ Insert
Case จะปรากฏ Case ว่างมา 1 Case ให้สามารถกรอกข้อมูลได้
หากต้องการยกเลิก Case ให้ทาการเลือก Case ที่ตอ้ งการยกเลิก
จากนั้นคลิกขวา เลือกใช้คาสัง่ Clear
การจัดการป้อนข้ อมูล (ต่ อ)
1
2
การจัดการป้อนข้ อมูล (ต่ อ)


การตัดข้อมูล เช่น Case ที่ 2-5 เราไม่ตอ้ งการ ให้คลิกเลือก Case ที่
จะตัดทิ้ง จากนั้นคลิกขวาเลือกใช้คาสัง่ Cut ข้อมูลจะถูกตัดออกไป และจะ
มีการเลื่อน Case ต่างๆ ขึ้นมาแทนที่โดยอัตโนมัติ
หากทาการแก้ไขและกรอกค่าเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว ให้บนั ทึกงานไว้ โดยคลิกที่
ปุ่ ม Save บน Toolbars
การจัดการป้อนข้ อมูล (ต่ อ)
3
1
2
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล



สาหรับ SPSS 4.5 ได้เพิ่มคุณสมบัติในการกาหนดคุณสมบัติของตัว
แปร โดยจะมีการ Scan ค่าของข้อมูล
การกรอกค่าของข้อมูล ให้ดูที่ Variable View จะยังไม่มีการ
กาหนดค่าของตัวแปร ให้มาดูที่ค่าของข้อมูลใน Data View
ข้อมูลที่กรอกค่า ที่มีค่าซ้ ากันของข้อมูล เช่น Gender จะมีค่า m และ f
ซึ่งค่าตัวนี้จะเป็ นการกรอกค่าของเพศ m=male, f=female แต่
สามารถกาหนดค่าของตัวแปรในภายหลังได้ โดยการเลือก
Data  Define Variable Properties
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)
1
2
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)


จะปรากฏหน้าต่างที่ใช้ในการกาหนดค่าของตัวแปร โดยให้เลือกตัวแปรใน
ช่อง Variables โดยให้เลือก Gender จากนั้นคลิกที่ปุ่มสามเหลี่ยม
ตัวแปรจะถูกจัดเก็บในช่อง Variable to Scan และหากต้องการที่จะ
เลือกค่าอื่นก็สามารถเลือกได้ โดยสามารถที่จะเลือกการ Scan ได้หลาย
ครั้งด้วยกัน
ในด้านล่างสามารถกาหนดได้วา่



จากัดจานวนตัวเลขในการ Scan เท่าใด (Limit Number of Case
Scan to)
กาหนดตัวแปรค่าของข้อมูลที่ให้แสดงขึ้นมา (Limit Number of
Variable Displayed to)
จากนั้นให้คลิกที่ปุ่ม Continue
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)
5
1
4
2
3
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)




หน้าจอของการ Define Variable ต่อไปคือการตั้งค่าของการ Scan โดยให้
คลิกเลือกตัวแปรใน Scaned Variable List ที่ตอ้ งการกาหนดการ Scan
จะปรากฏ Grid ขึ้นมาทางด้านขวามือ เป็ นช่องตาราง ซึ่งจะบอกให้ทราบว่าเป็ นการ
นับจานวน (Count) จานวนทั้งหมด เช่น ค่า M มี 258 ตัว และค่า F มี 216 ตัว
เป็ นต้น
ทาให้ทราบว่าตัวแปร Gender มีค่าของข้อมูลคือ m และ f
หากต้องการกาหนดค่าเป็ นอะไรให้ใส่ ค่าของข้อมูลลงไปในช่อง Label เช่น ใส่ เป็ น
Gender จากนั้นมากาหนด Type เป็ นการกาหนดชนิดของตัวแปร ซึ่งในที่น้ ีจะ
กาหนดเป็ นเป็ นแบบ String จากนั้นจึงกาหนดค่า Width และ Decimal ที่
เป็ นค่าความกว้างของข้อมูล เช่น Width = 1, Decimal = 0 หลังจากนั้นจึง
กาหนดค่าค่า Label ใน Grid
เมื่อกาหนดเสร็ จสิ้ นแล้วให้คลิกที่ปุ่ม OK
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)
2
1
4
3
5
6
7
8
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)


ดูจาก Data View พบว่าตัวแปร Gender จะถูกเปลี่ยนค่า คือจาก
ค่าที่แสดงเป็ น m จะถูกเปลี่ยนเป็ น male และค่าที่แสดงเป็ น f จะถูก
เปลี่ยนเป็ น female
ดูที่ Variable View พบว่าตัวแปร Gender มีการกาหนดค่าให้
โดยอัตโนมัติ โดยการ Scan เมื่อสักครู่ น้ ี
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)
1
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)
1
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)

ในส่ วนของ Copy Properties


From Another Variable
To Other Variable
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)

ที่ Data  Define Variable Properties
5
1
4
2
3
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)

ให้ทาการเลือกตัวแปรมา 2 ตัว คือ


1
Gender โดยที่มีการกาหนดค่าคุณสมบัติให้ตวั แปรแล้ว
Gen1 โดยที่ยงั ไม่มีการกาหนดค่าคุณสมบัติให้ตวั แปร
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)


2
ตัวแปร Gender ที่มีการกาหนดคุณสมบัติของตัวแปรแล้วจะไม่มี
เครื่ องหมายใน Check Box
ตัวแปร Gen1 ที่ยงั ไม่มีการกาหนดคุณสมบัติของตัวแปร จะมีเครื่ องหมาย
ใน Check Box
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)

ค่าของ Copy Properties



From Another Variable เป็ นการคัดลอกจากตัวแปรที่มีการกาหนดค่า
เอาไว้แล้ว
To Other Variables เป็ นการ Copy คุณสมบัติที่ตวั เองมีอยูแ่ ล้วไปใน
ตัวแปรที่ยงั ไม่มีการกาหนดค่า
เช่น หากเลือก Gender ซึ่งเป็ นตัวแปรที่มีการกาหนดค่าเอาไว้แล้ว เรา
ต้องการ Copy ค่าของ Gender ไปให้ Gen1 จะต้องเลือกไปที่
To Other Variable จะมี Gen1 ปรากฏขึ้นมาในหน้าต่าง
Apply Labels and level to โดยให้คลิกที่ปุ่ม Cancel
ก่อน
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)
1
4
2
3
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)




หากเลือกตัวแปร Gen1 ซึ่งยังไม่มีการกาหนดค่า โดย Gen1 ต้องการ
กาหนดค่าของตัวแปร ให้ไปเลือกที่ From Another Variable
ว่าต้องการคัดลอกคุณสมบัติจากตัวแปรตัวใด จะปรากฏหน้าต่าง Apply
labels and label from จะปรากฏ Gender ในช่องของ
Variables ขึ้นมา ให้คลิกเลือกที่ตวั แปร Gender จากนั้นคลิกที่ปุ่ม
Copy
ตัวแปร Gen1 จะมีการกาหนค่าเช่นเดียวกับตัวแปร Gender
จะใช้ในกรณี ที่ 2 ตัวแปร มีการกาหนดค่าคุณสมบัติเหมือนกัน
จากนั้นคลิกที่ปุ่ม OK
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)
1
4
2
3
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)

ตัวแปร Gen1 จะถูกกาหนดค่าคุณสมบัติของตัวแปรเช่นเดียวกับตัวแปร
Gender โดยสามารถดูได้ที่ Variable View
การกาหนดคุณสมบัตขิ องตัวแปรจากข้ อมูล (ต่ อ)
อ้ างอิง

วิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงสถิติดว้ ย SPSS (Statistic Package for
Social Science)