ไมโครคอมพิวเตอร์ - มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี

Download Report

Transcript ไมโครคอมพิวเตอร์ - มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี

167101
Computer in Business
บทที่ 1
ความรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับระบบคอมพิวเตอร์
อ. ธารารัตน์ พวงสุ วรรณ
ม.บูรพา วิทยาเขตจันทบุรี
[email protected]
เนือ้ หา
•
•
•
•
•
•
พื้นฐานเกี่ยวกับเครื่ องคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ประเภทของเครื่ องคอมพิวเตอร์
การทางานในระบบคอมพิวเตอร์
การเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
เหตุผลที่นาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน
พื้นฐานเกี่ยวกับเครื่ องคอมพิวเตอร์
• ความหมายของเครื่ องคอมพิวเตอร์
– เครื่ องมือในการประมวลผล
• ลักษณะเด่นของเครื่ องคอมพิวเตอร์
– ความจา (Storage)
– ความเร็ ว ( Speed)
– ความเป็ นอัตโนมัติ (Self Acting)
– ความน่าเชื่อถือ (Sure)
ความจา (Storage)
• ความจา (Storage) เป็ นความสามารถในการเก็บข้อมูลจานวน
มาก และเป็ นระยะเวลานาน
– หน่วยความจาหลัก (Primary Storage)
– หน่วยความจารอง (Secondary Storage)
ความเร็ว (Speed)
• ความเร็ ว หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล
(Processing Speed) ภายในเวลาที่ส้ นั ที่สุด
• โดยนับความถี่ (Frequency) เป็ น "จานวนคาสัง่ " หรื อ "จานวน
ครั้ง" หรื อ "จานวนรอบ" ในหนึ่งวินาที (Cycle/Second) และ
เรี ยกหน่วยนี้วา่ Hz (Hertz = Cycle/Second)
ความเร็ว (Speed)
• ความเร็ วในการประมวลผลข้อมูล จะถูกกาหนดโดยหน่วย
ประมวลผล (Processor) ภายใน CPU โดยมีความเร็ วมากกว่า
ล้านคาสัง่ ต่อวินาที
• เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ Core2Duo 2.13GHz หมายถึง เครื่ อง
คอมพิวเตอร์รุ่น Core2Duo มีความเร็ วในการประมวลผล 2.13
พันล้านคาสัง่ ภายใน 1 วินาที
การปฏิบัติงานอัตโนมัติ (Self Acting)
• เป็ นความสามารถของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผล
ข้อมูลตามลาดับคาสัง่ ได้อย่างถูกต้อง และต่อเนื่อง โดย
อัตโนมัติ ตามคาสัง่ และขั้นตอนที่นกั คอมพิวเตอร์ (มนุษย์) ได้
กาหนดไว้
ความน่ าเชื่อถือ (Sure)
• หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลที่ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์
ที่ถูกต้อง
• นับได้วา่ เป็ นสิ่ งสาคัญที่สุดในการทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์
• ความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคาสัง่ และข้อมูล ที่นกั
คอมพิวเตอร์ได้กาหนดให้กบั เครื่ องคอมพิวเตอร์
• มีคาที่มกั ใช้แทนความน่าเชื่อถือของคอมพิวเตอร์ คือ GIGO
หรื อ Garbage In Garbage Out (ข้อมูลไม่ดี -ขยะ ผลลัพธ์กย็ อ่ ม
ไม่ดีเช่นกัน -ขยะ)
องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
(Computer System)
•
•
•
•
•
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ซอฟต์แวร์ (Software)
ข้อมูลและสารสนเทศ (Data and Information)
กระบวนการทางาน (Procedures)
บุคลากร (Peopleware)
ฮาร์ ดแวร์ (Hardware)
• ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่จบั ต้องและสัมผัส
ได้อย่างเป็ นรู ปธรรม
• หมายถึง เครื่ องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ
(Peripheral) อาทิเช่น จอภาพแป้ นพิมพ์ เมาส์ เครื่ องพิมพ์ เครื่ อง
สแกนเนอร์ เป็ นต้น
• รวมถึงชิ้นส่ วนของอุปกรณ์ที่อยูภ่ ายในเครื่ องคอมพิวเตอร์ดว้ ย
เช่น หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจาหลัก การ์ดแสดงผล
และอื่นๆ
ซอฟต์ แวร์ (Software)
• ซอฟต์แวร์หรื อโปรแกรม หมายถึง ชุดคาสัง่ ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อ
ควบคุมฮาร์ ดแวร์ หรื อทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง
• วัตถุประสงค์หลักของซอฟต์แวร์ ที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ ทางาน คือ
การประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ
• ซอฟต์แวร์ แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
– ซอฟต์แวร์ระบบ
– ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์ แวร์ (Software)
• 1)ซอฟต์ แวร์ ระบบ ทาหน้าที่ควบคุมหรื อประสานงานระหว่าง
ฮาร์ดแวร์ และผูใ้ ช้ เช่น Windows, Linux เป็ นต้น
• 2)ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ เป็ นชุดคาสัง่ ที่สร้างขึ้นเพื่องานใดงาน
หนึ่ง โดยผูใ้ ช้จะทางานผ่านทางอินเตอร์เฟสของซอฟต์แวร์
เช่น Microsoft Word, Microsoft PowerPoint, Adobe Photoshop
เป็ นต้น
ข้ อมูลและสารสนเทศ
(Data and Information)
• ข้ อมูล (Data) หมายถึง ข้อมูลดิบหรื อข้อเท็จจริ งที่ได้จากการ
รวบรวม ซึ่งอาจจะเป็ น ตัวเลข ตัวอักษร อักขระพิเศษ รู ปภาพ
หรื อเสี ยง ที่สามารถนาไปประมวลผลให้เกิดสารสนเทศใน
ระบบคอมพิวเตอร์ได้
• สารสนเทศ (Information) หมายถึง สิ่ งที่ได้จากการประมวลผล
ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ อาจอยูใ่ นรู ปของผลลัพธ์ รายงานสรุ ป
หรื อรู ปแบบที่ผใู้ ช้ตอ้ งการ
• ตัวอย่าง การสอบของนิสิตในวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
กระบวนการทางาน (Procedures)
• กระบวนการทางาน (Procedures) หมายถึง กฎหรื อแนวทาง
สาหรับบุคลากรในการใช้ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และข้อมูล
• กระบวนการทางานอาจรวมถึงคู่มือการใช้ซอฟต์แวร์ และ
ฮาร์ดแวร์ ที่ผชู ้ านาญด้านคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นก็ได้
บุคลากร (Peopleware)
• บุคลากร หรือ ผู้ใช้ (Users) หมายถึง ผูใ้ ช้ระบบคอมพิวเตอร์ท้ งั
ส่ วนที่เป็ นฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และสารสนเทศ
• บุคลากรทางสารสนเทศ (Information System Personnel) จะมี
บทบาทในการออกแบบและพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อ
สนับสนุนการทางานของทุกคนในองค์กรให้มีประสิ ทธิภาพ
• เช่น โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ผูบ้ ริ หาร
ฐานข้อมูล วิศวกรซอฟต์แวร์ ผูบ้ ริ หารเครื อข่าย เว็บมาสเตอร์
เป็ นต้น
องค์ ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
• ส่ วนที่ทาหน้าที่รับข้อมูลและคาสัง่ เรี ยกว่า หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
• ส่ วนที่ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ เรี ยกว่า หน่วยแสดงผล (Output Unit)
• ส่ วนที่นาเอาข้อมูลและคาสัง่ ไปประมวลผล เรี ยกว่า หน่วยประมวลผล
กลาง (CPU : Central Processing Unit)
• ส่ วนที่จดั เก็บข้อมูลในขณะประมวลผล เรี ยกว่า หน่วยความจาหลัก
(Main Memory)
• ส่ วนที่ทาหน้าที่บนั ทึกคาสัง่ และข้อมูลอย่างถาวร เรี ยกว่า หน่วยความจา
สารอง (Secondary Storage)
ขั้นตอนการประมวลผลของซีพยี ู
1) การดึงข้อมูล (Fetch) เป็ นกระบวนการที่หน่วยควบคุมไปดึงคาสัง่ และ
ข้อมูลที่ตอ้ งการใช้จากหน่วยความจาหลัก เพื่อเก็บเข้าสู่ รีจิสเตอร์
2) การแปลความหมาย (Decode) หน่วยควบคุมจะทาการถอดรหัสหรื อ
แปลความหมายคาสัง่ ต่างๆ เพื่อส่ งไปยังหน่วยคานวณและตรรกะเพื่อ
ดาเนินการต่อไป
3) การเอ็กซ์คิวต์ (Execute) หน่วยคานวณและตรรกะจะทาการประมวลผล
คาสัง่ ตามที่ได้รับมา และจัดการส่ งผลลัพธ์ที่ได้ออกไป
4) การจัดเก็บ (Store) ผลลัพธ์ที่ได้จากหน่วยคานวณและตรรกะจะถูก
จัดเก็บไว้ในหน่วยความจาหรื อรี จิสเตอร์ เพื่อรอให้ส่วนอื่นๆเรี ยกใช้
ต่อไป
ขั้นตอนการประมวลผลของซีพยี ู
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
เครื่ องคอมพิวเตอร์ แบ่งได้เป็ น 6 ประเภท คือ
1.ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ (Supercomputer)
2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
3.มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
4.เซิร์ฟเวอร์ คอมพิวเตอร์ (Server Computer)
5.ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
6.คอมพิวเตอร์ แบบฝัง (Embedded Computer)
ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ (Supercomputer)
• เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิ ทธิภาพในการทางานสู งสุ ด มีราคา
แพงมาก
• เป็ นคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง (High Performance Computer)
เหมาะกับงานที่ตอ้ งมีการคานวณตัวเลขหลายล้านตัวภายในเวลา
อันรวดเร็ ว
• เช่น งานพยากรณ์อากาศ การวิจยั นิวเคลียร์ การควบคุมทาง
อวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแพทย์ งานทาแบบจาลอง
โมเลกุล งานวิเคราะห์โครงสร้างอาคารที่ซบั ซ้อน เป็ นต้น
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
• เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิ ทธิภาพรองจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์
• สามารถรองรับการทางานจากผูใ้ ช้ได้หลายร้อยคนในเวลาเดียวกัน
• ประมวลผลด้วยความเร็ วสูง จัดเก็บข้อมูลได้เป็ นจานวนมาก นิยมใช้ใน
องค์กรธุรกิจหรื อหน่วยงานที่มีบริ ษทั สาขาและเกี่ยวข้องกับการ
ประมวลผลข้อมูลในปริ มาณมากในเวลาเดียวกัน
• เช่น งานธนาคาร การจองตัว๋ เครื่ องบิน งานทะเบียนนักศึกษา งานของ
สานักงานทะเบียนราษฎร์ เป็ นต้น
มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
• เป็ นคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง (Midrange Computer) มีสมรรถนะ
น้อยกว่าเครื่ องเมนเฟรม
• ทางานได้ชา้ กว่า และควบคุมอุปกรณ์รอบข้างได้นอ้ ยกว่า
เมนเฟรม แต่มีประสิ ทธิภาพในการทางานสูงกว่า
ไมโครคอมพิวเตอร์
• สามารถรองรับการทางานจากผูใ้ ช้ได้หลายคนในการทางานที่
แตกต่างกัน ราคาย่อมเยากว่าเมนเฟรม
มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
• ใช้ได้ท้ งั ในงานวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม เครื่ องที่มี
ใช้ตามหน่วยงานราชการระดับกรมส่ วนใหญ่ มักเป็ นเครื่ อง
ประเภทนี้
• ปัจจุบนั ธุรกิจและองค์กรหลายประเภทนิยมนามินิคอมพิวเตอร์
มาใช้ในการให้บริ การข้อมูลแก่ลูกค้า เช่น การจองห้องพักของ
โรงแรม การทางานด้านบัญชีขององค์กรธุรกิจ เป็ นต้น
เซิร์ฟเวอร์ คอมพิวเตอร์ (Server Computer)
• เป็ นคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุนการทางานของคอมพิวเตอร์
เครื อข่าย มีเครื่ องแม่ข่ายเรี ยกว่า เซิร์ฟเวอร์ (Server Computer)
• ทาหน้าที่เชื่อมโยงเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เรี ยกว่าเป็ น
เครื่ องลูกข่าย (Client Computer) เข้าด้วยกัน
• เครื่ องเซิร์ฟเวอร์มกั จะใช้ในการจัดสรรและใช้ทรัพยากรร่ วมกัน
เช่น แฟ้ มข้อมูล โปรแกรมประยุกต์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เช่น
เครื่ องพิมพ์และอุปกรณ์อื่นๆ
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
• เป็ นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สร้างขึ้นเพื่อตอบสนองการใช้งานของคน
คนเดียวในช่วงเวลาเดียว
• นิยมเรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer
หรื อ PC)
• สามารถนามาใช้งานตามต้องการ สะดวกแก่การเลือกซื้อ ราคาไม่แพง
และผูใ้ ช้สามารถเรี ยนรู ้การใช้งานได้ไม่ยากนัก
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
• ปัจจุบนั ไมโครคอมพิวเตอร์เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีผนู้ ิยมใช้งาน
อย่างแพร่ หลายในสานักงานหรื อบ้านที่พกั อาศัยทัว่ ไป
• ส่ งผลให้การพัฒนาเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์มีลกั ษณะและ
รู ปแบบที่แตกต่างกัน
• เช่น คอมพิวเตอร์ ต้ งั โต๊ะ (Desktop Computer) คอมพิวเตอร์
พกพา (Portable Computer)
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
• คอมพิวเตอร์ ต้งั โต๊ ะ (Desktop Computer) เป็ นคอมพิวเตอร์ ส่วน
บุคคล (Personal Computer หรื อ PC) ที่มีขนาดเล็กเหมาะกับ
โต๊ะทางานในสานักงาน สถานศึกษาและที่บา้ น
• มีรูปทรงของตัวเครื่ อง (case) ที่มีหลากหลายนับแต่รูปทรงตั้งสูง
ขนาดใหญ่แบบ หอคอย (tower case) หรื อ ทรงเล็ก (small form
factor)
• ปกติพยายามจะจัดวางโดยให้จอภาพวางอยูบ่ นตัวเครื่ องเพือ่
ประหยัดพื้นที่วางบนโต๊ะทางาน
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
• คอมพิวเตอร์ พกพา (Portable Computer) เป็ น
ไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กเหมาะแก่การพกพาไปใช้ใน
สถานที่ต่างๆ เช่น
–
–
–
–
–
โน้ ตบุ๊ก (Notebook Computer)
เน็ตบุ๊ก (Netbook)
แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC)
พีดีเอ (PDA)
สมาร์ ทโฟน (Smart Phone)
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
• โน้ ตบุ๊ก (Notebook Computer) หรื อ แล็บทอป (Laptop computer)
มีความสามารถเทียบเท่ากับเครื่ องพีซีแต่มีขนาดเล็กลง
• ใช้แป้ นพิมพ์ขนาดมาตรฐาน มีเครื่ องอ่านแผ่นซีดีรอม น้ าหนักเบา
เคลื่อนย้ายสะดวก
• ประหยัดพลังงาน มีแบตเตอรี่ เป็ นแหล่งพลังงานเสริ มเพื่อสะดวกใน
การใช้งานในสถานที่ไม่สะดวกจะใช้ไฟบ้าน
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
• เน็ตบุ๊ก (Netbook) มีขนาดเล็กและน้ าหนักเบากว่าโน้ตบุก๊
• ไม่มีเครื่ องอ่านแผ่นซี ดีรอม กินไฟน้อย ราคาไม่แพง เพราะมี
สมรรถนะไม่สูงมากนัก
• นามาใช้งานที่ไม่ซบั ซ้อนมาก เช่น พิมพ์เอกสาร เปิ ดดูรูปภาพ และ
เน้นใช้แอพพลิเคชัน่ บนเว็บผ่านทางอินเทอร์เน็ตเป็ นหลัก
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
• แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีคุณสมบัติการ
ทางานใกล้เคียงกับโน้ตบุก๊ โดยทัว่ ไป แต่มีราคาค่อนข้างแพงกว่า
• ผูใ้ ช้สามารถป้ อนข้อมูลเข้าไปได้โดยการเขียนบนจอภาพ และ
เพื่อให้มีความคล่องตัวในการใช้งานได้ขณะที่ผใู้ ช้ไม่ได้นงั่ ทางาน
กับที่ จึงออกแบบให้สามารถหมุนจอภาพได้ 180 องศา
• และพับจอภาพลงปิ ดตัวเครื่ อง จอภาพเป็ นแบบสัมผัส (touch
screen) ใช้รับคาสัง่ จากผูใ้ ช้จากเขียนด้วยปากกา (stylus pen) หรื อ
นิ้วสัมผัส แทนการใช้แป้ นพิมพ์และเมาส์
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
• พีดเี อ (PDA : Personal Digital Assistant หรื อ Personal
Communicator) เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์มือถือ (Hand-held) ขนาด
เท่าโทรศัพท์มือถือ
• สามารถพกพาแบบใส่ กระเป๋ าได้ เพื่อการใช้งานสาหรับธุรกิจ
หรื ออรรถประโยชน์ทวั่ ไป
• เครื่องปาล์ ม (Palmtop Computer)
•พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC)
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
• สมาร์ ทโฟน (Smart Phone) เป็ นกลุ่มของโทรศัพท์มือถือที่พฒั นาขีด
ความสามารถให้มีการทางานแบบอรรถประโยชน์
•สามารถเชื่อมต่อความสามารถหลักของโทรศัพท์มือถือ เข้าร่ วมกับแอพ
พลิเคชันของโทรศัพท์เอง
• นอกจากจะใช้เป็ นเครื่ องโทรศัพท์ได้แล้วยังเพิ่มเติมความสามารถอื่นๆเข้า
ไปอีกมากมาย เช่น กล้องถ่ายรู ป การใช้งานอินเทอร์เน็ต บันทึกรายชื่อ เก็บ
ข้อมูลส่ วนตัว การนัดหมาย ปฏิทิน สมุดโทรศัพท์ ดูหนัง ฟังเพลง เป็ นต้น
• คุณสมบัติต่างๆเหล่านี้ข้ ึนอยูก่ บั ระบบปฏิบตั ิการที่ออกแบบขึ้นมาใช้
เฉพาะสาหรับโทรศัพท์ดว้ ย
คอมพิวเตอร์ แบบฝัง (Embedded Computer)
• เป็ นคอมพิวเตอร์ที่ฝังในอุปกรณ์ต่างๆ
• นิยมนามาใช้ทางานเฉพาะด้าน พิจารณาจากภายนอกจะไม่เห็น
ว่าเป็ นคอมพิวเตอร์
• แต่จะทาหน้าที่ควบคุมการทางานบางอย่างของอุปกรณ์น้ นั ๆ
• เช่น เครื่ องเล่นเกม ระบบเติมน้ ามันอัตโนมัติ ตู้ ATM เป็ นต้น
การทางานในระบบคอมพิวเตอร์
• ระบบคอมพิวเตอร์ทางานด้วยกระแสไฟฟ้ า
• มีการแทนที่สภาวะของกระแสไฟฟ้ าได้เป็ น 2 สภาวะ คือ
สภาวะที่มีกระแสไฟฟ้ า และสภาวะที่ไม่มีกระแสไฟฟ้ า
• เพื่อให้สามารถสัง่ การคอมพิวเตอร์ได้ จึงได้มีการสร้างระบบตัว
เลขที่นามาแทนสภาวะของกระแสไฟฟ้ า
• ตัวเลข 0 จะแทนสภาวะไม่มีกระแสไฟฟ้ า และเลข 1 แทน
สภาวะมีกระแสไฟฟ้ า หรื อ คือ เปิ ด (1) และปิ ด (0)
การเก็บข้ อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
• ระบบตัวเลขที่มีจานวน 2 จานวน (2 ค่า) เรี ยกว่าระบบ
เลขฐานสอง (Binary Number System)
• ตัวเลข 0 กับ 1 นี้จะเรี ยกว่า binary digit มีการเรี ยกย่อๆว่า บิต
(bit) นามาใช้แทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
• เมื่อต้องการแทนตัวอักษร ตัวเลข หรื ออักขระพิเศษทีต่ อ้ งการ
ป้ อนข้อมูลเข้าไปในเครื่ องจะทาการรวมกัน 8 บิต แล้วเรี ยก
หน่วยจัดเก็บข้อมูลใหม่น้ ีวา่ เป็ น ไบต์ (byte)
รหัสภายในระบบคอมพิวเตอร์
• มีการสร้างมาตรฐานที่ใช้ในกาหนดรหัสที่เป็ นตัวเลขในการ
แทนตัวอักษร เรี ยกว่า รหัสแทนตัวอักษร (Text Codes) โดย
มาตรฐานที่พฒั นาขึ้นมาและมีการใช้งานกันอย่างแพร่ หลายใน
ปัจจุบนั ได้แก่
1.EBCDIC
2.ASCII
3.UNICODE
EBCDIC
• รหัส EBCDIC อ่านว่า เอบซีดิก และย่อมาจาก Extended Binary
Coded Decimal Interchange Code เป็ นรหัสอักขระ 8 บิต
• นาเสนอเป็ นเลขฐานสอง 8 บิต (8 ตัวอักษรของ 0 และ 1) ใช้
แทนสัญลักษณ์ได้ 256 สัญลักษณ์ (2 ยกกาลัง 8) ได้แก่ ตัว
พยัญชนะ ตัวเลข และเครื่ องหมายพิเศษ
• รหัส EBCDIC ถูกพัฒนาโดยบริ ษทั IBM เพื่อใช้สาหรับเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็มเมนเฟรมและเครื่ องมินิคอมพิวเตอร์
• ในปัจจุบนั นิยมใช้รหัสแอสกี (ASCII) มากกว่า
ASCII
• รหัส ASCII อ่านว่า แอสกี ย่อมาจาก American Standards Code
for Information Interchange ถูกพัฒนาขึ้นโดยสถาบันมาตรฐาน
แห่งชาติอเมริ กา (American National Standard Institute : ANSI)
เพื่อใช้ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
• รหัสแอสกีได้รับการปรับปรุ งจากเดิมที่มีอกั ขระ128 ตัว (7 บิต)
ให้มีอกั ขระทั้งหมด 256 ตัว (8 บิต) สาหรับแสดงอักขระเพิ่มเติม
ในภาษาของแต่ละท้องถิ่นที่ใช้ เช่น ภาษาเยอรมัน ภาษารัสเซีย
เป็ นต้น
UNICODE
• รหัส UNICODE อ่านว่า ยูนิโค้ด ย่อมาจาก UNICODE
Worldwide Character Standard จะใช้เนื้อที่ 2 ไบต์หรื อ 16 บิต
ในการแทนอักขระ ทาให้สามารถแทนสัญลักษณ์ได้ถึง 65,536
สัญลักษณ์
• มากเพียงพอสาหรับตัวอักษรและสัญลักษณ์ทุกตัวในทุกภาษาใน
โลกนี้ เช่น ภาษาจีน เกาหลี ไทย ญี่ปุ่น เป็ นต้น
• เป็ นมาตรฐานที่ใช้ในระบบการเขียนภาษาส่ วนใหญ่ในโลกได้
อย่างสอดคล้องกัน คือโปรแกรมจะสามารถใช้ได้หลายภาษา
UNICODE
• มีการใช้งานอย่างกว้างขวางและมีอิทธิพลต่อการแปลภาษาของ
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
• รหัสยูนิโค้ดมีชุดอักขระที่เป็ นที่รู้จกั มากที่สุดคือ UTF-8 และ
UTF-16 และเป็ นมาตรฐานที่มีการนาไปใช้เป็ นเทคโนโลยีหลัก
หลายอย่าง เช่น XML, ภาษาจาวา, .NET Framework และ
ระบบปฏิบตั ิการสมัยใหม่
เหตุผลทีน่ าคอมพิวเตอร์ มาใช้ งาน
• สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆ ได้รวดเร็ ว เช่น การใช้เครื่ องอ่านรหัสแท่ง
(Bar-code) อ่านเวลาเข้า-ออก ของพนักงาน และคิดราคาสิ นค้า ใน
ห้างสรรพสิ นค้า
เหตุผลทีน่ าคอมพิวเตอร์ มาใช้ งาน
• สามารถเก็บข้อมูลจานวน
มากๆ ไว้ในฐานข้อมูล
(Database) เพื่อใช้งานได้
ทันที
• สามารถนาข้อมูลที่เก็บไว้มา
คานวณทางสถิติ แยก
ประเภท จัดกลุ่ม ทารายงาน
ลักษณะต่างๆ ได้ โดยระบบ
ประมวลผลข้อมูล (Data
Processing)
เหตุผลทีน่ าคอมพิวเตอร์ มาใช้ งาน
• สามารถส่ งข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ ว โดย
อาศัยเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล (Data Communication)
เหตุผลทีน่ าคอมพิวเตอร์ มาใช้ งาน
• สามารถจัดทาเอกสารต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ ว ด้วยระบบ
ประมวลผลคา (Word Processing) ซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่งของ ระบบ
สานักงานอัตโนมัติ (Office Automation)
เหตุผลทีน่ าคอมพิวเตอร์ มาใช้ งาน
• การนามาใช้งานทั้งด้านการศึกษา การวิจยั
เหตุผลทีน่ าคอมพิวเตอร์ มาใช้ งาน
• การใช้งานธุรกิจ งานการเงิน ธนาคาร และงานของภาครัฐต่างๆ
เช่น การนาคอมพิวเตอร์มาใช้กบั งานบัญชี งานบริ หารสานักงาน
งานเอกสาร งานการเงิน การจองตัว๋ เครื่ องบิน รถไฟ
เหตุผลทีน่ าคอมพิวเตอร์ มาใช้ งาน
• การควบคุมระบบอัตโนมัติต่างๆ เช่น ระบบจราจร, ระบบเปิ ด/
ปิ ดน้ าของเขื่อน
เหตุผลทีน่ าคอมพิวเตอร์ มาใช้ งาน
• การใช้คอมพิวเตอร์ ร่วมกับเทคโนโลยีล้ าสมัยอื่นๆ เทคโนโลยี
สื่ อสารข้อมูล เกิดเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต เป็ นต้น