การพัฒนาระบบสารสนเทศ

Download Report

Transcript การพัฒนาระบบสารสนเทศ

บทที่ 4
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
- คือ การสร้างระบบงานใหม่หรื อการปรับเปลี่ยนระบบงานเดิมที่มี
แล้วให้สามารถทางาน เพื่อแก้ปัญหาการดาเนินงานทางธุรกิจได้
ตามความต้องการของผูใ้ ช้งาน โดยอาจนาคอมพิวเตอร์ มาช่วยใน
การนาข้อมูลเข้าสู่ระบบเพื่อประมวลผล เรี ยบเรี ยง เปลี่ยนแปลง
และจัดเก็บให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
- ปัจจุบนั ระบบสารสนเทศได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก สื บ
เนื่องมาจากปั จจัยส าคัญต่าง ๆ เช่น การเจริ ญเติบโตทางด้าน
เศรษฐกิจ การขยายตัวขององค์กร การเกิดขึ้นของธุรกิจใหม่ ๆ
การปรับเปลี่ยนอุตสาหกรรม เป็ นต้น
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
สาเหตุ ที่ก่อให้เ กิดความคิดในการพัฒนาระบบสารสนเทศใหม่ข้ ึนมา
ทดแทนระบบเดิมได้ดงั นี้
1. ระบบสารสนเทศที่ใช้อยูใ่ นปัจจุบนั อาจไม่สามารถตอบสนองความ
ต้องการของผูใ้ ช้ระบบได้ เช่น ผูใ้ ช้ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่
ต้องการหรื อระบบไม่สามารถท างานตามที่ตอ้ งการ เป็ นต้น
2. ระบบสารสนเทศที่ใช้อยูใ่ นปัจจุบนั ไม่สามารถสนับสนุนการ
ดาเนินงานในอนาคตได้ เนื่องจากระบบสารสนเทศเดิมที่
พัฒนาขึ้นมานั้น เมื่อเวลาผ่านไประบบดังกล่าวอาจไม่สามารถ
ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในอนาคตได้
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
3. เทคโนโลยีที่ใช้อยูใ่ นระบบสารสนเทศปัจจุบนั อาจล้าสมัย มีตน้ ทุน
สูง ต้องเสี ยค่าใช้จ่ายในการบารุ งรักษามาก และมีประสิ ทธิภาพ
ต่า จึงต้องมีการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
เพื่อลดปัญหาต่าง ๆ
4. ระบบสารสนเทศที่ใช้อยูใ่ นปัจจุบนั ไม่สามารถสนับสนุนการ
ดาเนินงานในอนาคตได้ เนื่องจากระบบสารสนเทศเดิมที่
พัฒนาขึ้นมานั้น เมื่อเวลาผ่านไประบบดังกล่าวอาจไม่สามารถ
ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในอนาคตได้
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
5. ระบบสารสนเทศปัจจุบนั มีการด าเนินงานที่ผิดพลาด ซึ่งก่อให้เกิด
ความเสี ยหายแก่องค์กร โดยเฉพาะระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
กับการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารที่ตอ้ งการข้อมูลที่มีประสิ ทธิภาพ
ตรงตามความต้องการของปัญหา มีความถูกต้อง และชัดเจน
6. ระบบเอกสารในระบบสารสนเทศปัจจุบนั ไม่มีมาตรฐานหรื อขาด
เอกสารที่ใช้อา้ งอิงระบบ เป็ นผลให้การปรับปรุ งหรื อแก้ไขระบบ
สารสนเทศเดิมทาได้ยาก
ความสาคัญของผู้ใช้ ต่อระบบสารสนเทศ
-
-
ผู้ใช้ ระบบ หมายถึงผูจ้ ดั การที่ควบคุมและดูแลระบบสารสนเทศ
ขององค์การ และ/หรื อ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบตั ิงานกับระบบ
สารสนเทศ
ผูใ้ ช้จะเป็ นบุคคลที่ใช้งานและปฏิสมั พันธ์กบั ระบบสารสนเทศ
โดยตรง เช่น จัดเก็บ ปรับปรุ ง ประมวลผล และนาข้อมูลมาใช้
ผูใ้ ช้ระบบมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาระบบสารสนเทศตั้งแต่
เริ่ มต้นที่จะพัฒนาระบบใหม่ให้กบั องค์กร
ความสาคัญของผู้ใช้ ต่อระบบสารสนเทศ
-
ผูใ้ ช้จะเป็ นบุคคลที่ทางานใกล้ชิดกับทีมงานผูพ้ ฒั นาระบบ หรื อ
เข้ามาเป็ นส่ วนหนึ่งในทีมงาน
ผูใ้ ช้ในฐานะที่เป็ นผูม้ ีประสบการณ์ตรง กับระบบงานจะต้องให้
ข้อมูลสาคัญแก่ทีมงานพัฒนาระบบ
ความสาคัญของผู้ใช้ ต่อระบบสารสนเทศ
รายละเอียดที่ผใู ้ ช้ตอ้ งแจกแจงให้กบั ผูพ้ ฒั นาระบบ มีดงั นี้
1. สารสนเทศที่องค์การหรื อหน่วยงานต้องการ
2. สิ่ งที่ระบบมีปัญหา เช่น ขั้นตอนในการทางานในระบบปั จจุบนั
ยุง่ ยาก ซับซ้อนทาให้ผใู ้ ช้ตอ้ งเสี ยเวลานาน สารสนเทศที่ได้มาไม่
ตรงตามความต้องการ
3. ผูใ้ ช้ระบบต้องการให้ระบบใหม่มีรูปแบบและคุณลักษณะ
อย่างไร มีส่วนประกอบอะไรบ้าง
ข้ อบกพร่ องระบบสารสนเทศ
- ปัจจุบนั หลายองค์กรถึงแม้วา่ ได้พฒั นาและใช้ระบบสารสนเทศใน
ระดับที่แตกต่างกัน แต่ไม่วา่ ระบบสารสนเทศจะมีความก้าวหน้า
เพียงใด ก็ไม่สามารถรักษาความสมบูรณ์ได้ตลอดเวลา
- การเปลี่ยนแปลงที่ไม่หยุดยั้งของเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมทาง
ธุรกิจ หรื อลักษณะของปั ญหาที่เกิดขึ้น ทาให้ระบบงานปั จจุบนั ขาด
ความสามารถในการตอบสนองต่อปัญหาที่เกิดขึ้นได้
ข้ อบกพร่ องระบบสารสนเทศ
สรุ ปปัญหาสาคัญที่อาจเกิดขึ้นกับระบบสารสนเทศ
1. ความต้ องการ ระบบปัจจุบนั ไม่สามารถตอบสนองความต้องการที่
แท้จริ งของผูใ้ ช้ ทาให้ผใู ้ ช้ระบบไม่มีความพึงพอใจและไม่อยากที่จะ
ใช้งาน เช่น ผูใ้ ช้ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ตอ้ งการ
2. กลยุทธ์ ระบบปั จจุบนั ไม่สามารถสนับสนุนการดาเนินงานระดับ
กลยุทธ์ของธุรกิจ ระบบสารสนเทศที่พฒั นาขึ้นอาจเหมาะสมกับการ
ดาเนินงานขณะนั้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาจไม่สามารถตอบสนองต่อ
การเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ในอนาคตได้
ข้ อบกพร่ องระบบสารสนเทศ
3. เทคโนโลยี ระบบปัจจุบนั มีเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม โดยเฉพาะ
เทคโนโลยีที่ใช้อยูใ่ นปัจจุบนั อาจล้าสมัย มีตน้ ทุนสู ง ต้องเสี ย
ค่าใช้จ่ายในการบารุ งรักษามาก
4. ความซับซ้ อน ระบบปัจจุบนั มีข้ นั ตอนในการใช้งานยุง่ ยากและ
ซับซ้อน ก่อให้เกิดความไม่สะดวกในการเรี ยนรู้ การใช้งาน การ
ควบคุมกลไกในการดาเนินงาน การตราวจสอบข้อผิดพลาด
5. ความผิดพลาด ระบบปัจจุบนั ดาเนินงานผิดพลาดบ่อยครั้ง ซึ่ง
ก่อให้เกิดความสูยเสี ยทั้งทางตรงและทางอ้อมแก่องค์การ
ข้ อบกพร่ องระบบสารสนเทศ
6. มาตรฐาน ระบบปัจจุบนั มีมาตรฐานต่า ซึ่งก่อให้เกิดความ
ยากลาบากในการปรับปรุ งระบบงานและผลลัพธ์ บางครั้งความ
ต้องการหรื อข้อบกพร่ องเกิดขึ้นเพียงเล็กน้อย แต่ไม่สามารถแก้ไขได้
ทันที เพราะขาดเอกสารอ้างอิงสาหรับระบบ ซึ่งจะเป็ นอันตรายมาก
ถ้าข้อบกพร่ องนั้นเป็ นปัญหาใหญ่และซับซ้อน
ปัจจัยในการพัฒนาระบบ
ทีมงานที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศให้สาเร็ จตามตารางเวลา
งบประมาณและผูใ้ ช้มีความพึงพอใจ ต้องพิจารณาปัจจัยดังนี้
1. ผู้ใช้ ระบบ จะต้องมีส่วนร่ วมตลอดกระบวนการพัฒนาระบบ
2. การวางแผน การวางแผนพัฒนาระบบต้องรอบคอบและเป็ นขั้นเป็ น
ตอนอย่างชัดเจน
3. การทดสอบ ทีมงานพัฒนาต้องกาหนดคุณลักษณะของชุดคาสั่งให้
สามารถปฏิบตั ิงานได้เหมาะสมกับระบบงาน จากนั้นทาการออกแบบ
และทดสอบชุดคาสัง่ ให้สอดคล้องกับแนวทางการออกแบบระบบ
ปัจจัยในการพัฒนาระบบ
4. การจัดเก็บเอกสาร ระบบต้องมีระบบการจัดเก็บเอกสารที่สมบูรณ์
ชัดเจน ถูกต้อง ง่ายต่อการค้นหาและอ้างอิง
5. การเตรียมความพร้ อม มีการวางแผนสร้างความเข้าใจและฝึ กอบรม
ผูใ้ ช้ระบบ เพื่อเป็ นการเตรี ยมความพร้อมและสร้างความมัน่ ใจว่าผูใ้ ช้
ระบบจะมีความพอใจ
6. การตรวจสอบและประเมินผล โดยดาเนินการเป็ นระยะๆ ภายหลัง
จากติดตั้งระบบ เพื่อที่จะพิจารณาว่าระบบสารสนเทศใหม่มีความ
สมบูรณ์ ข้อจากัด หรื อข้อบกพร่ องหรื อไม่ ต้องปรับปรุ งอย่างไร
ปัจจัยในการพัฒนาระบบ
7. การบารุงรักษา ระบบสารสนเทศที่ดีไม่เพียงแต่สามารถปฏิบตั ิงาน
ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพเท่านั้น แต่ตอ้ งออกแบบให้กระบวนการ
บารุ งรักษาสะดวก ง่ายและประหยัด เพราะการบารุ งรักษาที่ง่ายจะทา
ให้ระบบได้รับการดูแลอย่างสม่าเสมอ ทาให้ระบบไม่บกพร่ อง
8. อนาคต เตรี ยมความพร้อมสาหรับพัฒนาการในอนาคต ทีมงานควร
ออกแบบระบบให้มีความยืดหยุน่ และสามารถที่จะพัฒนาในอนาคต
เนื่องจากระบบงานในปั จจุบนั ย่อมต้องล้าสมัย และไม่สามารถสนอง
ต่อความต้องการของผูใ้ ช้อย่างสมบูรณ์
นักวิเคราะห์ ระบบ
- หรื อเรี ยกว่า SA (System Analyst)
-เป็ นบุคคลที่ศึกษาระบบงานโดยตรวจสอบกระบวนการปฏิบตั ิงาน
ข้อมูลนาเข้า และสารสนเทศ เพื่อหาวิธีการพัฒนาให้การทางานมี
ประสิ ทธิภาพ
- ทางานเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ และปรับกระบวนการ นา
เทคโนโลยีมาประยุกต์ให้การปฏิบตั ิงานมีประสิ ทธิภาพ
นักวิเคราะห์ ระบบ
บทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
1. ที่ปรึกษา ด้านการปรับระบบงานขององค์การ โดยผูบ้ ริ หารองค์การ
อาจจ้างที่ปรึ กษาภายนอก หรื อใช้บุคคลในหน่วยงานสารสนเทศใน
การศึกษาและให้คาแนะนา
2. ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่ งให้คาปรึ กษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตั้งแต่
อุปกรณ์ ระบบ ชุดคาสัง่
3. ตัวแทนการเปลีย่ นแปลง เป็ นตัวแทนการเปลี่ยนแปลงที่ช่วยให้ผใู้ ช้
ระบบมีทศั นคติที่ดี และสามารถใช้งานระบบงานใหม่อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
นักวิเคราะห์ ระบบ
หน้าที่ของนักวิเคราะห์ระบบ
1. ติดต่อประสานงานกับผูใ้ ช้ระบบในหน่วยงานต่างๆ รวมทั้ง
ผูบ้ ริ หารทุกระดับที่เกี่ยวข้อง
2. รวบรวมข้อมูลของระบบเดิมเพื่อให้ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และ
นาไปใช้เป็ นข้อมูลส่ วนหนึ่งในการพัฒนาระบบใหม่
3. วางแผนในแต่ละขั้นตอนของงานให้สอดคล้องกับความต้องการใน
ปัจจุบนั และอนาคต
4. ทาการออกแบบการทางานนของระบบใหม่ให้ตรงตามความ
ต้องการของผูใ้ ช้ระบบ
นักวิเคราะห์ ระบบ
หน้าที่ของนักวิเคราะห์ระบบ
5. วิเคราะห์เปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายกับผลประโยชน์ที่จะได้รับ เพื่อที่จะ
สามารถเลือกแนวทางที่เหมาะสมและมีประสิ ทธิภาพที่สุด
6. วิเคราะห์ขอ้ กาหนดด้านฐานข้อมูล รวมทั้งการพัฒนาโครงสร้าง
ฐานข้อมูลที่สามารถใช้กบั งานต่างๆ ในระบบได้
7. ทาเอกสารประกอบในแต่ละขั้นตอนของการวิเคราะห์ระบบโดย
ละเอียด รวมถึงการจัดทาพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) พร้อม
ทั้งจัดทาคู่มือและจัดเตรี ยมหลักสูตรฝึ กอบรมให้แก่ผใู้ ช้ระบบ
นักวิเคราะห์ ระบบ
หน้าที่ของนักวิเคราะห์ระบบ
8. กาหนดลักษณะของเครื อข่ายที่ใช้ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
9. สร้างแบบจาลองของโปรแกรมที่พฒั นาขึ้น และร่ วมกันทดสอบ
โปรแกรมที่พฒั นา
10. ติดตั้งและทาการปรับเปลี่ยนระบบ
11. จัดทาแบบสอบถามถึงผลการดาเนินงานของระบบใหม่ ในรู ปแบบ
ของรายงานผลการใช้งาน
นักวิเคราะห์ ระบบ
12. บารุ งรักษาและประเมินผลการปฏิบตั ิงานของระบบ ทาการ
ปรับปรุ ง ดูแลระบบ หรื อแก้ไข
13. เป็ นผูใ้ ห้คาปรึ กษา ผูป้ ระสานงาน และผูแ้ ก้ปัญหา ให้แก่ผใู ้ ช้
ระบบและทุกคนที่เกี่ยวข้องกับระบบ
ทีมงานพัฒนาระบบ (System Development Team)
เป็ นกลุ่มบุคคลที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบ และ/หรื อมีส่วน
เกี่ยวข้องในกระบวนการพัฒนาระบบ ซึ่งทีมงานพัฒนาระบบจะ
ประกอบไปด้วยดังต่อไปนี้
1. คณะกรรมการดาเนินงาน (Steering Committee) มีหน้าที่ในการ
ตัดสิ นใจ กาหนดรู ปแบบ และวัตถุประสงค์ของระบบสารสนเทศ
โดยคณะกรรมการจะถูกจัดตั้งขึ้นจากบุคคลหลายระดับ เช่น
ผูบ้ ริ หารระดับสูง เจ้าของระบบงาน และผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสารสนเทศ
เป็ นต้น เพื่อช่วยกันเสนอความคิดเห็นและตัดสิ นใจเกี่ยวกับ
ระบบงานที่ตอ้ งการพัฒนา
ทีมงานพัฒนาระบบ (System Development Team)
2. ผู้จดั การระบบสารสนเทศ (MIS Manager) มีหน้าที่ดูแลและ
ประสานงานในการวางแผนโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
ออกแบบและการพัฒนาระบบสารสนเทศขององค์กร
3. ผู้จดั การโครงการ (Project Manager) มีหน้าที่รับผิดชอบในการ
วางแผน การจัดการ และควบคุมให้งานในโครงการดาเนินไปได้
อย่างราบรื่ นสาเร็ จลุล่วงและมีประสิ ทธิภาพ โดยผูจ้ ดั การโครงการ
จะรับผิดชอบในการตัดสิ นใจ จัดสรรทรัพยากรในการดาเนินงาน
ของโครงการให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ ภายใต้งบประมาณและ
ระยะเวลาที่กาหนดไว้
ทีมงานพัฒนาระบบ (System Development Team)
4. นักวิเคราะห์ ระบบ (System Analyst) คือ ผูท้ ี่เป็ นตัวกลางในการ
ติดต่อระหว่างระบบสารสนเทศกับกลุ่มผูเ้ กี่ยวข้อง รวมทั้งทาหน้าที่
ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบที่ตอ้ งการพัฒนาขึ้นมาอีกด้วย
จะต้องมีความชานาญในการกาหนด
5. โปรแกรมเมอร์ หรือนักเขียนโปรแกรม (Programmer) มีหน้าที่
เกี่ยวกับการพัฒนาชุดคาสัง่ หรื อเขียนโปรแกรม บางครั้ง
โปรแกรมเมอร์ อาจไม่ตอ้ งพัฒนาชุดคาสัง่ ขึ้นมาทั้งหมด แต่ทาการ
ปรับปรุ งชุดคาสัง่ สาเร็ จรู ป (Software Package) ให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของระบบ
ทีมงานพัฒนาระบบ (System Development Team)
6. เจ้ าหน้ าทีร่ วบรวมข้ อมูล (Information Center Personnel) มี
หน้าที่คอยช่วยเหลือนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์ ในการ
พัฒนาระบบในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
พัฒนาระบบเพื่อนามาใช้งานได้ตามต้องการ โดยเจ้าหน้าที่รวบรวม
ข้อมูลจะจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็ นระบบ เพื่อให้สะดวกและรวดเร็ วต่อ
การใช้งาน
ทีมงานพัฒนาระบบ (System Development Team)
7. ผู้ใช้ และผู้จดั การทัว่ ไป (User and General Manager) เป็ นบุคคลที่
มีหน้าที่ให้ขอ้ มูลที่เกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบงานเดิม และกา
หนดความต้องการในระบบใหม่แก่ทีมงานพัฒนาระบบ เพื่อพัฒนา
ให้ระบบใหม่มีประสิ ทธิภาพและเป็ นที่พึงพอใจของผูใ้ ช้
8. ผู้ใช้ ระบบ (System User) บุคคลที่ควบคุมและดูแลระบบ
สารสนเทศขององค์กรหรื อเจ้าหน้าที่ปฎิบตั ิงานที่เกี่ยวข้องกับระบบ
สารสนเทศโดยตรง เช่น จัดเก็บ ปรับปรุ ง ประมวลผล และนา
ข้อมูลมาใช้งาน เป็ นต้น
วิธีพนื้ ฐานในการพัฒนาระบบ
1. วิธีเฉพาะเจาะจง (Ad Hoc Approach)
- เป็ นวิธีการแก้ปัญหาในงานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งต้อง
ดาเนินการอย่างรวดเร็ ว
- วิธีน้ ีจะเหมาะสาหรับหน่วยงานที่มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ วและ
บ่อยครั้ง
- ข้อจากัดคือ อาจก่อให้เกิดการซ้ าซ้อนของงานระบบประมวลผล
ข้อมูล ค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็ น และขาดมาตรฐานขององค์การ
วิธีพนื้ ฐานในการพัฒนาระบบ
2. วิธีสร้ างฐานข้ อมูล (Database Approach)
- เป็ นวิธีการที่นิยมใช้ในหลายองค์การที่ยงั ไม่มีความต้องการระบบ
สารสนเทศเชิงกลยุทธ์
- ให้ความสาคัญกับฐานข้อมูล เพื่อให้สามารถรวบรวม จัดเก็บ และ
ประมวลผลข้อมูลได้อย่างเป็ นระบบ ซึ่งจะง่ายต่อการเรี ยกข้อมูล
กลับมาใช้
วิธีพนื้ ฐานในการพัฒนาระบบ
3. วิธีจากล่ างขึน้ บน (Bottom-Up Approach)
- เป็ นการพัฒนาระบบสารสนเทศจากระบบเดิมที่มีอยูใ่ นองค์การ
ไปสู่ระบบใหม่ที่ตอ้ งการ ทีมงานจะตรวจสอบว่าสิ่ งใดที่มีอยูแ่ ล้ว
ในระบบปั จจุบนั ซึ่ งจะสามารถพัฒนาหรื อเพิ่มเติมเทคโนโลยี
บางอย่าง ให้มีความสมบูรณ์และมีประสิ ทธิภาพขึ้น
4. วิธีจากบนลงล่ าง (Top-Down Approach)
- เป็ นการพัฒนาระบบจากนโยบายหรื อความต้องการของผูบ้ ริ หาร
ระดับสู ง โดยไม่คานึงถึงระบบที่มีอยูใ่ นปัจจุบนั ขององค์การ
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ
1. การสารวจเบือ้ งต้ น (Preliminary Investigation)
- เป็ นขั้นตอนแรกของการวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ
- ผูพ้ ฒั นาระบบจะสารวจหาข้อมูลในประเด็นต่างๆ เช่น ปั ญหาที่
เกิดขึ้น
2. วิเคราะห์ ความต้ องการ (Requirement Analysis)
- เป็ นขั้นตอนเจาะลึกลงในรายละเอียด โดยเฉพาะส่ วนที่เกีย่ วข้อง
กับความต้องการของผูใ้ ช้ การใช้งานในแต่ละด้านของระบบใหม่
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ
3. การออกแบบระบบ (System Design)
- ทีมงานพัฒนาระบบจะทาการออกแบบรายละเอียดในส่ วนต่างๆ
ได้แก่ การแสดงผลลัพธ์ การป้ อนข้อมูล กระบวนการ การเก็บ
รักษา การปฏิบตั ิงาน
4. การจัดหาอุปกรณ์ ของระบบ (System Acquisition)
- ทีมงานพัฒนาระบบจะต้องกาหนดส่ วนประกอบของระบบทั้งใน
ด้านของอุปกรณ์และชุดคาสัง่
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ
5. การติดตั้งและบารุ งรักษา (System Implementation and
Maintenance )
- ทีมงานพัฒนาระบบจะควบคุมและดูแลการติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ
ของระบบใหม่ โดยดาเนินการด้วยตนเองหรื อจ้างผูร้ ับเหมา
- ทาการทดสอบระบบใหม่
- กาหนดกฎเกณฑ์ในการประเมินและการบารุ งรักษาระบบอย่าง
สม่าเสมอ เพื่อปรับปรุ งและบารุ งรักษาให้ระบบสามารถปฏิบตั ิงาน
ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
รู ปแบบวงจรการพัฒนาระบบ
1. รู ปแบบนา้ ตก (Waterfall Model)
- เป็ นรู ปแบบทีเผยแพร่ ใช้ปี ค.ศ. 1970
- หลักการทางาน เมื่อทาขั้นตอนหนึ่งแล้วสามารถย้อนกลับมาที่
ขั้นตอนก่อนหน้าได้
รู ปแบบวงจรการพัฒนาระบบ
2. รู ปแบบวัฒนาการ(Evolutionary Model)
- จะพัฒนาระบบจนเสร็ จสมบูรณ์ในเวอร์ชนั่ แรกก่อน จากนั้นจึง
พิจารณาข้อดีและข้อเสี ยของระบบ จากนั้นเริ่ มกระบวนการพัฒนา
ระใหม่จนได้ระบบงานในเวอร์ชนั่ ที่ 2 เวอร์ ชนั่ ที่ 3 และเวอร์ ชนั่
ต่อๆไป จนกว่าจะได้ระบบที่สมบูรณ์ที่สุด
รู ปแบบวงจรการพัฒนาระบบ
รู ปแบบวงจรการพัฒนาระบบ
3. รู ปแบบค่ อยเป็ นค่ อยไป (Incremental Model)
- เป็ นลักษณะค่อยเป็ นค่อยไป คล้ายกับ รู ปแบบวิวฒั นาการ แต่มี
ข้อแตกต่างกันตรงที่ระบบที่ได้ในแต่ละช่วง เนื่องจากระบบที่
เกิดขึ้นในขั้นแรกนั้ยงั ไม่ใช่ระบบที่สมบูรณ์ แต่เป็ นระบบเพียงส่ วน
แรกเท่านั้น เมื่อมีการพัฒนาขั้นที่ 2 จึงจะได้ระบบที่มีส่วนที่ 2
เพิ่มเติมเข้าไป และจะมีการพัฒนาส่ วนอื่นๆ เข้าไปจนครบ
รู ปแบบวงจรการพัฒนาระบบ
3. รู ปแบบค่ อยเป็ นค่ อยไป (Incremental Model)
รู ปแบบวงจรการพัฒนาระบบ
4. รู ปแบบ เกลียว (Spiral Model)
- มีลกั ษณะที่กระบวนวิเคราะห์ การออกแบบ และการพัฒนา จะ
วนกลับมาในแนวทางเดิมเช่นนี้ไปเรื่ อยๆ จนกระทัง่ ได้ระบบที่
สมบูรณ์ การพัฒนาในรู ปแบบนี้มีความยืดหยุน่ มากที่สุด
เนื่องจากกระบวนการทางานใน 1 รอบ ไม่จาเป็ นต้องได้ระบบ
และระยะเวลาในแต่ละขั้นตอนในแต่ละรอบนั้นจะใช้เวลาเท่าใดก็
ได้
รู ปแบบวงจรการพัฒนาระบบ
4. รู ปแบบ เกลียว (Spiral Model)
หลักในการพัฒนาระบบ
1. คานึงถึงเจ้ าของระบบและผู้ใช้ ระบบ
- เจ้าของระบบคือผูต้ ดั สิ นใจลาดับสุ ดท้ายในการแสดงความพึง
พอใจต่อระบบที่ได้ทาการพัฒนาขึ้นมา การติดต่อสื่ อสารและความ
เข้าใจที่ผิดจากเจ้าของระบบและผูใ้ ช้นบั เป็ นปัญหาที่จะต้อง
คานึงถึงเมื่อทาการพัฒนาระบบ
- ส่ วนในแง่ของผูใ้ ช้ระบบต้องทาให้ทศั นคติเปลี่ยนให้ได้วา่ การนา
คอมพิวเตอร์มามีส่วนร่ วมในการทางานั้น จะเป็ นเครื่ องมือที่ช่วย
อานวยความสะดวกในการทางาน ซึ่ง ทาให้เกิดความรวดเร็ วและ
ถูกต้องมากยิง่ ขึ้น
หลักในการพัฒนาระบบ
2. พยายามเข้ าถึงปัญหาให้ ตรงจุด
การทางานั้นต้องนึกถึงปัญหาที่ได้ทาการวิเคราะห์มาว่าต้องเป็ น
ปัญหาที่เกิดขึ้นจริ ง และมีโอกาสในการแก้ปัญหานั้นได้ตอ้ ง
พยายามจับประเด็นถึงสาเหตุของปัญหาให้ได้โดยมีแนวทางดังนี้
- ศึกษาและทาความเข้าใจถึงสาเหตุของปัญหาของระบบนั้น
- กาหนดความต้องการของวิธีแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม
- ระบุถึงวิธีแก้ไขปัญหาแต่ละวิธีและเลือกวิธีที่ดีที่สุด
- สังเกตและประเมินผลกระทบจากวิธีแก้ปัญหาที่ได้ลงมือกระทา
การไป และทาการปรับปรุ งจนสมบูรณ์ในที่สุด
หลักในการพัฒนาระบบ
3. การกาหนดขั้นตอนหรือกิจกรรมในการทางาน
ในการพัฒนาระบบจะต้องมีการกาหนดขั้นตอนหรื อกิจกรรมต่าง ๆ
ที่ควรจะทาอย่างชัดเจน อย่างเช่น ในวงจรการพัฒนาระบบ
(SDLC) ก็มีข้ นั ตอนในการปฏิบตั ิงานอย่างชัดเจน
4. จัดทามาตรฐานในระหว่ างการพัฒนาระบบและการควบคุมเอกสาร
- ด้านหน้าที่ความรับผิดชอบ (Responsibility)
เป็ นการกาหนดขอบเขตความรับผิดชอบของแต่ละฝ่ ายที่เกี่ยวข้องว่า
มีขอบเขตงานอย่างไร ทาให้มีการทางานที่ชดั เจนขึ้น
หลักในการพัฒนาระบบ
- ด้านหน้าที่ความรับผิดชอบ (Responsibility)
เป็ นการกาหนดขอบเขตความรับผิดชอบของแต่ละฝ่ ายที่เกี่ยวข้องว่า
มีขอบเขตงานอย่างไร ทาให้มีการทางานที่ชดั เจนขึ้น
- ด้านการตรวจสอบคุณภาพ (Quality Check)
เป็ นการตรวจสอบการปฏิบตั ิงานในการพัฒนาระบบว่า เป็ นไปตาม
ความต้องการของเจ้าของระบบหรื อผูใ้ ช้ระบบหรื อไม่
- ด้านเอกสารคู่มือหรื อรายละเอียดความต้องการ
จะต้องมีความเป็ นระเบียบ ถูกต้องและเป็ นปัจจุบนั มากที่สุด รวมถึง
จะต้องมีรายละเอียดอย่างชัดเจนและสามารถนาไปใช้งานจริ งได้
หลักในการพัฒนาระบบ
5. การพัฒนาคือการลงทุน
ควรมีการพิจารณาเกี่ยวกับประสิ ทธิผลของความคุม้ ค่า ในการ
ลงทุน (Cost-effectiveness) ของแต่ละแนวทางเลือก
ประกอบกันไปด้วย
6 .เตรียมความพร้ อมหากแผนงานหรือโครงการต้ องถูกยกเลิกแล้ ว
ทบทวนใหม่
- ในระหว่างการพัฒนาระบบนั้น อาจมีความเป็ นไปได้ที่โครงการ
หรื อแผนงานจะถูกยกเลิก อันเนื่องจากการวิเคราะห์และประเมินผล
แล้วว่าไม่เกิดความคุม้ ค่าในการลงทุน
การปรับเปลีย่ นระบบ
1. การปรับเปลีย่ นโดยตรง (Direct Conversion)
- เป็ นการแทนที่ระบบสารสนเทศเดิมด้วยระบบใหม่อย่างสมบูรณ์
โดยการหยุดใช้ระบบเก่าอย่างสิ้ นเชิงและเปลี่ยนไปใช้ระบบใหม่
ในทันที
2. การปรับเปลีย่ นแบบขนาน (Parallel Conversion)
- เป็ นการดาเนินการโดยใช้งานทั้งระบบสารสนเทศเก่าและระบบ
ใหม่ไปพร้อมๆ กัน ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เพื่อเป็ นหลักประกัน
ความเสี่ ยงว่า ถ้าระบบใหม่ทางานไม่ได้ ก็ยงั มีระบบเก่าอยู่
การปรับเปลีย่ นระบบ
3. การปรับเปลีย่ นแบบเป็ นระยะ (Phased Conversion)
- เป็ นการปรับเปลี่ยนระบบสารสนเทศไปใช้ระบบสารสนเทศใหม่
เฉพาะงานด้านใดด้านหนึ่งก่อน แล้วจึงขยายการปรับเปลี่ยนระบบ
ออกไปในด้านอื่นอีก
4. การปรับเปลีย่ นแบบนาร่ อง (Pilot Conversion)
- เป็ นการเปลี่ยนแบบเป็ นขั้นตอนและค่อยเป็ นค่อยไป หลังจากที่
ส่ วนหนึ่งติดตั้งเสร็ จ และใช้งานได้ดีแล้ว ก็ขยายผลไปในส่ วนต่อๆ
ไป เช่น บางองค์กรที่มีหลายสาขา
แหล่ งอ้ างอิง
- ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (ฉบับปรับปรุ งใหม่): รศ ดร. ไพบูลย์
เกียรติโมลและ ผศ.ดร.ณัฎพันธ์ เขจรนันทน์
- http://www2.udru.ac.th/~samaw_t/SD1.pdf