ระบบสารสนเทศ - มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี
Download
Report
Transcript ระบบสารสนเทศ - มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี
167101
Computer in Business
บทที่ 3
ระบบสารสนเทศ
อ. ธารารัตน์ พวงสุ วรรณ
ม.บูรพา วิทยาเขตจันทบุรี
[email protected]
เนือ้ หา
•
•
•
•
•
•
•
ความหมายของระบบสารสนเทศ
บทบาทของระบบสารสนเทศ
บทบาทขององค์กรที่มีต่อระบบสารสนเทศ
เป้ าหมายของระบบสารสนเทศ
ประเภทของระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
ทิศทางและแนวโน้มของระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบสารสนเทศ
(Information system)
ระบบสารสนเทศ คื อ ระบบของการจัด เก็ บ ประมวลผล
ข้อมูล โดยอาศัยบุคคลและเทคโนโลยีสารสนเทศในการดาเนิ นการ
เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมกับงานหรื อภารกิจแต่ละอย่าง
ในมิติทางธุ รกิจ ระบบสารสนเทศเป็ นระบบที่ช่วยแก้ปัญหา
การจัดการขององค์กร ซึ่ งถูกท้าทายจากสิ่ งแวดล้อม ดังนั้นการใช้
ระบบสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ จาเป็ นที่จะต้องเข้าใจองค์กร
(Organizations)
การจัดการ (management) และเทคโนโลยี
(Technology)
ระบบสารสนเทศ
• ระบบสารสนเทศในมุมมองของธุรกิจ
ความสั มพันธ์ ของระบบสารสนเทศ องค์ กร และ
กระบวนการธุรกิจ
• การเปลี่ ย นแปลงของโลกปั จ จุ บั น ที่ มี ก ารแข่ ง ขั น สู ง ขึ้ น การตั ด สิ น ใจของ
ผู้บริหารต้ องทาในเวลาทีจ่ ากัดภายใต้ เงื่อนไขต่ างๆมากมาย
• บทบาทของสารสนเทศในองค์ ก รมี ม ากขึ้น ในแง่ ข องการให้ ส ารสนเทศแก่
ผู้บริหารในการช่ วยการตัดสิ นใจทางธุรกิจ
• จึงทาให้ องค์ กรตัดสิ นใจ นาระบบสารสนเทศหรือเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่ วย
ในองค์ กร
• มีการใช้ เทคโนโลยีต่างๆ ทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงต่ างๆ ในองค์ กร เช่ น การ
เปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน การเพิ่มขีดความสามารถในการทางาน ลักษณะการ
ดาเนินการ และวัฒนธรรมองค์ กร เป็ นต้ น
บทบาทของระบบสารสนเทศ
(The Roles of Information System)
• บทบาทพื้นฐานของระบบสารสนเทศ ที่นาไปสนับสนุนการปฏิบตั ิงาน
ในองค์กร และทาให้องค์กรประสบความสาเร็ จ และเป็ นประโยชน์ต่อ
การแข่งขันทางธุรกิจ ประกอบด้วย 3 ส่ วน คือ
– สนับสนุนกระบวนการทางธุรกิจ และปฏิบตั ิการทางธุรกิจ
– สนับสนุนผูบ้ ริ หารในการตัดสิ นใจ
– สนับสนุนเป็ นกลยุทธ์ขอ้ ได้เปรี ยบในการแข่งขัน เช่น การพัฒนา
เว็บไซต์เพื่อเป็ นบริ ษทั เสมือนจริ ง (Virtual Company)
ระบบสารสนเทศสามารถนามาสนับสนุ น
กิจกรรมหลักทางธุ รกิจที่สาคัญ
5 ด้าน คือ
ด้านการผลิ ต การตลาด การเงิ น การบัญชี และ
การจัดการทรัพยากรมนุษย์
ด้านการผลิต
ด้านการตลาด
ระบบ
ด้านการจัดการทรัพยากร
มนุ ษย์
สารสนเทศ
ธุรกิจ
ด้านการบัญชี
ด้านการเงิน
แสดงระบบสารสนเทศที่ใช้ในงานธุรกิจ
7
บทบาทขององค์ กรที่มีต่อระบบสารสนเทศ
องค์ กรมีผลต่ อระบบสารสนเทศในหลายด้ านพอสรุปได้
1.
2.
3.
4.
การตั ด สิ น ใจเรื่ อ งบทบาทของระบบสารสนเทศและการน าระบบ
สารสนเทศมา
การตัดสิ นใจว่ าจะพัฒนาระบบสารสนเทศ
การตัดสิ นใจเกีย่ วกับการจัดตั้งหน่ วยงานสารสนเทศ
การตั ด สิ น ใจว่ า มี ปั จ จั ย อะไรบ้ า งที่ ต้ อ งค านึ ง ถึ ง ในการพัฒ นาระบบ
สารสนเทศ
บทบาทของระบบสารสนเทศที่มีต่อองค์ กร
การนาระบบสนเทศมาใช้ ในองค์ กรก่ อให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงภายในองค์ กรมากมาย ซึ่ ง
สามารถสรุ ปได้ ดงั นี้
1. ทาให้ ผ้ ูบริ หารมีสารสนเทศ(Information)มาช่ วยในการตัดสิ นใจ การวิเคราะห์ การ
จัดการ และการควบคุมทีด่ ขี นึ้
2. ทาให้ ผ้ ูบริ หารสามารถจัดการการงานที่มีประสิ ทธิภาพขึน้ ด้ วยการเสริมทางด้ านการ
ติดต่ อสื่ อสารทีส่ ะดวกรวดเร็ว
3. ทรั พ ยากรสารสนเทศมี ค วามส าคั ญ มากขึ้ น และถื อ เป็ นส่ วนหนึ่ ง ขององค์ ก ร
เช่ นเดียวกับทรัพยากรด้ านอืน่ ๆ ดังนั้นการจัดสรรงบประมาณการจัดซื้อหรือหรือหามา
ซึ่งทรัพยากรสารสนเทศถือเป็ นส่ วนหนึ่งของแผนกลยุทธ์ ขององค์ กร
4. ผู้บริ หารทุกคนถือว่ ามีส่วนสาคัญในการจัดการ และการใช้ ประโยชน์ ของทรั พยากร
สารสนเทศ
5. ทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้ าง วัฒนธรรม และอิทธิพลทางการเมืองในองค์ กร
หน่ วยงานสารสนเทศหรื อหน่ วยงานทีมีส่วนในการเก็บรวบรวม และวิเคราะห์ ข้ อมูล
จะมีความสาคัญมากขึน้ ในองค์ กร
วงจรการทางานของระบบปฏิบัตกิ ารทางธุรกิจ
2. การประมวลผล
(Transaction
Processing)
3. การปรับปรุง
ฐานข้ อมูล
(File/Database
Update)
(Document and Report
Generation)
• เอกสารเกีย่ วกับสารสนเทศ
(Information Document)
• แบบครั้งต่ อครั้ง (Batch)
• แบบตามเวลาทีเ่ กิดขึน้ จริง
• เอกสารการปฏิบตั ิการ (Action
Document)
• เอกสารหมุนเวียน
(Real Time)
1. การป้ อนข้ อมูล
(Data Entry)
4.การผลิตรายงานและเอกสาร
วงจรการทางาน
ของ
ระบบปฏิบัตกิ า
รทางธุรกิจ
(Circulating Document)
5. การให้ บริการ
สอบถาม (Inquiry
Processing)
การจาแนกระบบสารสนเทศตาม
ลักษณะงานหรื อหน้าที่การงาน
•
•
•
•
•
งานบัญชี (Accounting)
งานการเงิน (Finance)
งานการตลาด (Marketing)
งานการผลิต (Manufacturing)
งานบริ หารบุคลากร (Human Resource)
การจาแนกระบบสารสนเทศตามประเภทของธุรกิจ
•
•
•
ระบบสารสนเทศในธุรกิจการบริ การ
ระบบสารสนเทศในธุรกิจการผลิตสิ นค้า
ระบบสารสนเทศในกิจการซื้อมา-ขายไป
ระบบย่ อยของระบบปฏิบัตกิ ารทางธุรกิจ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ระบบจ่ายเงินเดือน (Payroll Processing System)
ระบบบันทึกคาสัง่ ซื้อ (Order Entry System)
ระบบสิ นค้าคงคลัง (Inventory System)
ระบบใบกากับสิ นค้า (Invoicing System)
ระบบส่ งสิ นค้า (Shipping System)
ระบบบัญชีลูกหนี้ (Accounts Receivable System)
ระบบสัง่ ซื้อสิ นค้า (Purchasing System)
ระบบรับสิ นค้า (Receiving System)
ระบบบัญชีเจ้าหนี้ (Account Payable)
ระบบบัญชีแยกประเภททัว่ ไป (General Ledger System)
เป้ าหมายของระบบสารสนเทศ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
เพิม่ ประสิ ทธิภาพในการทางาน
เพิม่ ผลผลิต
เพิม่ คุณค่าในการบริ การลูกค้า
ผลิตสิ นค้าใหม่และขยายผลิตภัณฑ์
สร้างทางเลือกในการแข่งขันได้
สร้างโอกาสทางธุรกิจ
ดึงดูดลูกค้าและป้ องกันคู่แข่งขัน
ประเภทของระบบสารสนเทศ
• ปั จจุบนั จะเห็ นความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร กับระบบสารสนเทศ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศชัดเจนมากขึ้น
• และเนื่ องจากการบริ หารงานในองค์กรมีหลายระดับ กิจกรรมขององค์กร
แต่ละประเภทอาจจะแตกต่างกัน
• ดังนั้น ระบบสารสนเทศของแต่ ละองค์ก รอาจแบ่ งประเภทแตกต่ างกัน
ออกไป
ระดับชั้นต่ าง ๆ ของการบริหารงานในองค์ กร
• การบริ หารงานระดับบน (Top Management)
• การบริ หารงานระดับกลาง (Middle Management)
• การบริ หารงานระดับล่าง (Bottom Management) หรื อ การ
บริ หารงานระดับปฏิบตั ิการ (Operational Management)
ระดับการบริหารจัดการ
• ระดับการบริ หารจัดการ สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ระดับ
•ผูบ้ ริ หารระดับสูง รับผิดชอบการวางแผนระยะยาว
(แผนกลยุทธ์)
•ผูบ้ ริ หารระดับกลาง รับผิดชอบการวางแผนยุทธวิธี
•หัวหน้างาน รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับการปฏิบตั ิงาน
ประจาวัน
11-17
Page 324
การใช้ สารสนเทศของผู้บริหารในระดับต่ าง ๆ
• ระดับสู ง – ใช้สารสนเทศเพื่อวางแผนระยะยาว ซึ่ งเป็ นแผนยุทธศาสตร์ ที่กาหนดทิศทาง
และแผนงานในอนาคต(ระยะเวลา 3 ปี ขึ้นไป) รวมทั้งมีการกาหนดเป้ าหมาย นโยบาย
และ วัตถุประสงค์ขององค์กร
• ระดับกลาง – ใช้สารสนเทศเพื่อให้องค์กรดาเนินการต่อไปได้ตามวัตถุประสงค์ภายใต้
กลยุทธ์ในแผนระยะยาว จึงเป็ นการกาหนดงานและยุทธวิธีที่จะทาให้บรรลุวตั ถุประสงค์
ในแต่ละข้อ งานเหล่านี้จะระบุในแผนระยะสั้น (ประมาณ 1 – 3 ปี )
• ระดับปฏิบัติการ – ใช้กาหนดกิจกรรมหรื อพันธกิจภายใต้กลวิธีให้สามารถปฏิบตั ิงาน
ได้จริ งภายใต้ภาระงานด้านต่าง ๆ ตามที่ระบุไว้ในแผนระยะสั้น จึงจาเป็ นต้องใช้
สารสนเทศภายในองค์กรเป็ นส่ วนใหญ่ สาหรับจัดทาแผนปฏิบตั ิการล่วงหน้าเป็ น
ระยะเวลา 6 เดือนถึง 1 ปี
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ถ้าพิจารณาจาแนกระบบสารสนเทศตามการสนับสนุ นระดับการ
ทางานในองค์กร จะแบ่งระบบสารสนเทศได้เป็ น 4 ประเภท ดังนี้
1. ระบบสารสนเทศสาหรั บระดับผู้ปฏิบัติงาน (Operational – level
systems)
• ช่ วยสนับสนุ นการทางานของผูป้ ฏิ บตั ิงานในส่ วนปฏิบตั ิ งานพื้นฐาน
และงานทารายการต่างๆขององค์กร
•
เช่น ใบเสร็ จรับเงิน รายการขาย การควบคุมวัสดุของหน่ วยงาน เป็ น
ต้น
•
วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ ก็เพื่อช่วยการดาเนิ นงานประจาแต่ละวัน
และควบคุมรายการข้อมูลที่เกิดขึ้น
ประเภทของระบบสารสนเทศ
2. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้ชานาญการ (Knowledge-level systems)
• ระบบนี้สนับสนุนผูท้ ำงำนที่มีควำมรู ้เกี่ยวข้องกับข้อมูล
• วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ ก็เพื่อช่ วยให้มีกำรนำควำมรู ้ ใหม่มำใช้
และช่วยควบคุมกำรไหลเวียนของงำนเอกสำรขององค์กร
3. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (Management - level systems)
• เป็ นระบบสำรสนเทศที่ช่วยในกำรตรวจสอบ กำรควบคุม กำรตัดสิ นใจ
• และกำรบริ หำรงำนของผูบ้ ริ หำรระดับกลำงขององค์กร
ประเภทของระบบสารสนเทศ
4. ระบบสารสนเทศระดับกลยุทธ์ (Strategic-level system)
• เป็ นระบบสำรสนเทศที่ช่วยกำรบริ หำรระดับสู ง ช่ วยในกำรสนับสนุ นกำร
วำงแผนระยะยำว
• หลักกำรของระบบคือต้องจัดควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสภำพแวดล้อมภายนอก
กับความสามารถภายในที่องค์กรมี เช่นในอีก 5 ปี ข้างหน้า องค์กรจะผลิตสิ นค้า
ใด
ระบบสารสนเทศทีใ่ ช้ คอมพิวเตอร์ ทางาน
Page 327
ชนิดของระบบสารสนเทศ
• ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :
MIS)
• ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems : TPS)
• ระบบการจัดทารายงาน (Management Reporting Systems : MRS)
• ระบบสารสนเทศสานักงาน (Office Information Systems : OIS)
• ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (Decision Support Systems : DSS)
• ระบบสนับสนุนผูบ้ ริ หาร (Executive Information Systems : EIS)
• ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert Systems : ES)
MIS Subsystem
Parker and Case 1933:10 อ้างใน
ดร.ประสงค์ ประณีตพลกรัง2543:13
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
(Management Information System : MIS)
•
•
•
•
•
•
สนับสนุนการทางานของ ผูบ้ ริ หารระดับล่าง และระดับกลาง ในการ
นาเสนอรายงาน ข้อมูลทัว่ ไป ข้อมูลเฉพาะด้าน และข้อมูลในอดีต
เน้นความต้องการของบุคลากรภายในองค์การ มากกว่าภายนอก
MIS ช่วยงานในด้านการวางแผน การควบคุม และการตัดสิ นใจ
ซึ่งจะนาข้อมูลจาก ระบบ TPS มาประมวลผล
MIS ประมวลผลโดยการสรุ ปข้อมูลที่ได้รับ มาเป็ นรายงานแยกตาม
หมวดหมู่ที่เหมาะสม
MIS จะประกอบด้วยหน้าที่หลัก 2 ประการคือ
• สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งจากภายในและภายนอก
องค์การมาไว้ดว้ ยกันอย่างเป็ นระบบ
• สามารถทาการประมวลผลข้อมูลอย่างมีประสิ ทธิภาพ เพื่อให้ได้
สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการปฏิบตั ิงานและการบริ หารงานของ
ผูบ้ ริ หาร
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล
ประมวลผลข้อมูล/จัดการสารสนเทศ
ส่ วนประกอบของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
สามารถจาแนกโครงสร้างของระบบสารสนเทศได้ 3 ประการคือ
• เครื่ องมื อ ในการสร้ า งระบบสารสนเทศเพื่ อ การจัด การ หมายถึ ง
ส่ วนประกอบหรื อโครงสร้างพื้นฐาน ที่รวมกันเข้าเป็ น MIS และช่วยให้
ระบบสารสนเทศสามารถดาเนินงานอย่างมีประสิ ทธิภาพ โดยเราจาแนก
เครื่ องมือในการสร้างระบบสารสนเทศออกเป็ น 2 ส่ วนได้แก่
• ฐานข้อมูล (Database)
• เครื่ องมือ (Tool)
- อุปกรณ์ (Hardware)
- ชุดคาสัง่ (Software)
ส่ วนประกอบของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
• วิธีการหรื อขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล
• การแสดงผลลัพธ์
เครื่องมือ
ฐานข้ อมูล
ฐานข้ อมูล
ฐานข้ อมูล
MIS
วิธีการ
การแสดงผลลัพธ์
คุณสมบัตขิ องระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
•
•
•
•
ความสามารถในการจัดการข้อมูล (Data Manipulation)
ความปลอดภัยของข้อมูล (Data Security)
ความยืดหยุน่ (Flexibility)
ความพอใจของผูใ้ ช้ (User Satisfaction)
ประโยชน์ ของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
• ช่วยให้ผใู ้ ช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ตอ้ งการได้อย่างรวดเร็ วและทัน
ต่อเหตุการณ์
• ช่วยผูใ้ ช้ในการกาหนดเป้ าหมายกลยุทธ์และการวางแผนปฏิบตั กิ าร
• ช่วยให้ผใู ้ ช้ในการตรวจสอบผลการดาเนินงาน
• ช่วยผูใ้ ช้ในการศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
• ช่วยให้ผใู ้ ช้สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรื ออุปสรรคที่เกิดขึ้น
• ช่วยลดค่าใช้จ่าย
ระบบอืน่ ๆ ที่เกีย่ วข้ องกับ MIS
ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert System)
ระบบอัจฉริ ยะ หรื อปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
ระบบสนับสนุนผูบ้ ริ หาร (Executives Support Systems [ESS])
บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้ องกับระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
• หัวหน้างานระดับต้น (First-Line Supervisor หรื อ Operation Manager)
• ผูจ้ ดั การระดับกลาง (Middle Manager)
• ผูบ้ ริ หารระดับสูง (Executive หรื อ Top Manager)
ระบบสารสนเทศ
สาหรับผูบ้ ริ หาร
ผูบ้ ริ หาร
ระดับสูง
ระบบสนับสนุน
การตัดสิ นใจ
ผูบ้ ริ หารระดับกลาง
หัวหน้างานระดับต้น
พนักงานระดับปฏิบตั ิการ
ระบบประมวลผล
ข้อมูล
ระบบประมวลผลรายการ
(Transaction Processing Systems : TPS)
• หรื อ ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems : DP)
• หรื อ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data
Processing : EDP)
• เป็ นการนาคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน
• เน้นที่การประมวลผลรายการประจาวัน
• มักจะทางานอยูเ่ ฉพาะส่ วนใดส่ วนหนึ่งของธุรกิจเท่านั้น
• ใช้งานในระดับผูบ้ ริ หารระดับล่าง (Bottom Manager)
หน้ าที่หลักของ TPS
• การทาบัญชี(Bookeeping) ทาหน้าที่ในการเก็บบันทึกการ
ปฏิบตั ิงานหรื อเหตุการณ์ทางการบัญชีที่เกิดขึ้นในแต่ละวันของ
องค์กร
• การออกเอกสาร (Document Issurance) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการออก
เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิงานในแต่ละวันขององค์กร
เช่น ใบรับส่ งสิ นค้า ใบเสร็ จรับเงิน เป็ นต้น
• การทารายงานควบคุม (Control Reporting) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการ
ออกเอกสารต่าง ๆ ที่มีผลมาจากการดาเนินงานขององค์กร เพือ่
ตรวจสอบและควบคุมการดาเนินงาน
วงจรการทางานของ TPS
Data Entry
Inquiring
Processing
Document
Generation
TPS
Transaction
Processing
Database
Updating
ตัวอย่ างระบบ TPS
•
•
•
•
•
ระบบจ่ายเงินเดือน
ระบบบันทึกคาสัง่ ซื้อ
ระบบสิ นค้าคงคลัง
ระบบใบกากับสิ นค้า
ระบบส่ งสิ นค้า
• ระบบบัญชีลูกหนี้
• ระบบบัญชีเจ้าหนี้
• ระบบสัง่ ซื้ อสิ นค้า
• ระบบรับสิ นค้า
• ระบบบัญชีแยกประเภททัว่ ไป
ระบบการประมวลผลรายการ (TPS)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS)
แฟ้ มระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
แฟ้ มสั่งซื้ อ
ระบบการ
ประมวลผลใบสัง่
ซื้ อ
ระบบการวางแผน
แหล่งวัตถุดิบ
แฟ้ มข้อมูลหลักการผลิต
แฟ้ มข้อมูลบัญชี
ระบบบัญชีแยก
ประเภท
ข้อมูลขาย
ข้อมูลสิ นค้า
ต่อหน่วย
MIS
ข้อมูลการเปลี่ยน รายงาน
แปลงสิ นค้า
ข้อมูลค่า
ใช้จ่าย
ผูบ้ ริ หาร
ระบบการจัดทารายงาน
(Management Reporting Systems : MRS)
•
•
•
•
•
ช่วยในการจัดเตรี ยมรายงาน
จัดเตรี ยมข้อมูลให้กบั ผูบ้ ริ หารเพื่อใช้ในการพิจารณา
เกิดจากการเตรี ยมข้อมูลในระบบ TPS
ข้อมูลต่าง ๆ อยูใ่ นรู ปของข้อสรุ ป หรื อ รายละเอียดก็ได้
ใช้งานในระดับผูบ้ ริ หารระดับล่าง (Bottom Manager) และ
ระดับกลาง (Middle Manager)
คุณสมบัตขิ องระบบ MRS
•
•
•
•
•
สามารถสนับสนุนการตัดสิ นใจได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
ผลิตเอกสารหรื อรายงานตามตารางที่กาหนด
ผลิตรายงานออกมาในรู ปแบบคงที่
สารสนเทศในรายงานมักเกี่ยวข้องกับสิ่ งที่เกิดขึ้นแล้ว
รายงานหรื อเอกสารถูกผลิตในรู ปของกระดาษ
ประเภทของรายงาน
•
•
•
•
รายงานที่ออกตามตาราง (Schedule Report)
รายงานที่ออกในกรณี พิเศษ (Exception Report)
รายงานที่ออกตามความต้องการ (Demand Report)
รายงานที่ออกเพื่อการพยากรณ์ (Predictive Report)
คุณสมบัตขิ องสารสนเทศในระบบ MRS
•
•
•
•
ตรงประเด็น (Relevance)
ความถูกต้อง (Accuracy)
ถูกเวลา (Timeliness)
สามารถพิสูจน์ได้ (Verifiability)
(Office Information System / OIS)
• ระบบสารสนเทศสานักงาน หรือ โอไอเอส
(Office Information System/Office Automation System OIS/OAS)
• เป็ นระบบที่อานวยความสะดวกในการดาเนินงานด้านการบริ หารหรื อ
จัดการสานักงานให้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ รวดเร็ ว และถูกต้อง
• ใช้ในงานสานักงาน โดยอาศัยอุปกรณ์พ้นื ฐานทางคอมพิวเตอร์ เช่น
เครื่ องคอมพิวเตอร์ สแกนเนอร์ โทรสาร โมเด็ม รวมถึงโปรแกรม
สาเร็ จ
• โปรแกรมสาเร็ จสาหรับการทางานของสานักงานในแต่ละด้าน เช่น
โปรแกรมการจัดการเอกสาร โปรแกรมประมวลคา โปรแกรมตาราง
คานวณ โปรแกรมรับส่ งไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ เป็ นต้น
(Office Information System / OIS)
• อาจต้องใช้โปรแกรมเฉพาะด้าน เช่น CAD/CAM
• การใช้งานอาจต้องเกี่ยวข้องกับ TPS และ MRS
• ใช้งานในระดับผูบ้ ริ หารระดับล่าง (Bottom Manager) และ
ระดับกลาง (Middle Manager)
ประเภทของงานสานักงาน
•
•
•
•
•
การตัดสิ นใจ (Decision Making)
การจัดการเอกสาร (Document Handling)
การเก็บรักษา (Storage)
การจัดเตรี ยมข้อมูล (Data Manipulation)
การติดต่อสื่ อสาร (Communication)
ประเภทของ IOS
ระบบการจัดการเอกสาร (Document
Management System)
ระบบการควบคุมและส่ งผ่านข่าวสาร
(Message-Handling System)
ระบบสารสนเทศ
สาหรับสานักงาน
ระบบประชุมทางไกล
(Teleconferencing)
ระบบสนับสนุนการดาเนินงานสานักงาน
(Office Support System)
ระบบจัดการเอกสาร
(Document Management System)
•
•
•
•
•
Word Processing
Reprographics
Desktop Publishing
Image Processing System
Archival Storage
ระบบควบคุมและส่ งผ่ านข่ าวสาร
(Message handling System)
•
•
•
E-mail
Voice mail
Facsimile
ระบบประชุมทางไกล (Teleconferencing)
•
•
•
•
•
Audio Teleconferencing
Video Teleconferencing
Computer Conferencing
In-house television
Telecommuting
ระบบสนับสนุนการดาเนินงานในสานักงาน
(Office Support System)
•
•
•
•
•
Groupware
Desktop organizers
Computer Aided design : CAD
Presentation Graphics
In-house Electronic bulletin board
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
(Decision Support Systems : DSS)
• พัฒนาขึ้นจากระบบ MIS
• เป็ นระบบที่สนับสนุนความต้องการเฉพาะของผูบ้ ริ หารแต่ละ
คน (Made by order)
• ช่วยตัดสิ นใจในกรณี ที่มีทางเลือกหลาย ๆ ทาง
• มีการใช้ตวั แบบ (Model) ในการวางแผนและการทานาย
• ใช้งานในระดับผูบ้ ริ หารระดับบน (Top Manager) และ
ระดับกลาง (Middle Manager)
(Decision Supporting System – DSS)
• เป็ นระบบที่ช่วยการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หาร โดยจาลองลักษณะการ
ตัดสิ นใจด้วยการนาค่าการนาเข้าของการตัดสิ นใจมาคานวณด้วยวิธีการ
ทางคณิ ตศาสตร์และสถิติ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นจากการ
ตัดสิ นใจนั้น ๆ
• ระบบนี้มีตัวแบบทางคณิตศาสตร์ เป็ นพื้นฐานของโปรแกรม
ในการตัดสิ นใจผูบ้ ริ หารจะกาหนดหัวข้อต่าง ๆ ของข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้อง
จากนั้นระบบจะคานวณ/ประมวลคาตอบในรู ปผลการตัดสิ นใจ เพื่อเป็ น
ข้อมูลหรื อสารสนเทศที่ช่วยตัดสิ นใจได้อย่างรวดเร็ วและมีคณ
ุ ภาพ
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
(Decision Support Systems : DSS)
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
ประเภทของปัญหา
• มีโครงสร้างแน่นอน (Structured Problem)
• กึ่งโครงสร้าง (Semi Structured Problem)
• ไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Problem)
ประเภทของการตัดสิ นใจ
• มีโครงสร้างแน่นอน (Structured Decision)
• กึ่งโครงสร้าง (Semi Structured Decision)
• ไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Decision)
ระดับของการตัดสิ นใจ
1. การตัดสิ นใจระดับกลยุทธ์ (Strategic Decision Making)
2. การตัดสิ นใจระดับยุทธวิธี (Tactical Decision Making)
3. การตัดสิ นใจระดับปฏิบตั ิการ (Operational Decision Making)
ระดับการตัดสิ นใจในองค์ กร
• การตัดสิ นใจของผู้บริ หารระดับสู งในองค์ การ ซึ่ งสนใจต่ อ
สิ่ งทีย่ งั ไม่ เกิดขึน้ /อนาคต
• เกีย่ วข้ องกับความไม่ แน่ นอนของสถานการณ์
กลยุทธ์
(Strategic
Decision Making)
ยุทธวิธี
(Tactical Decision
Making)
ปฏิบตั ิการ
(Operational Decision Making)
• การตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห ารระดั บ กลาง ซึ่ ง
เกี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด การเพื่ อ ให้ เ ป็ นไปตาม
นโยบายของผู้บริหาร
• การตัดสิ นใจของหัวหน้ าระดับต้ น
ซึ่ ง เกี่ยวกับ การปฏิ บัติ ง านเฉพาะ
ด้ า นที่ มี ข้ ั น ตอนซ้ า ๆ กั น เพื่ อ ให้
เป็ นไปตามแผนงานทีว่ างไว้
ขั้นตอนของระบบ DSS
• Intelligent Phase เป็ นขั้นตอนของการวิเคราะห์ปัญหา
• Design Phase เป็ นขั้นตอนที่เกี่ยวกับการสร้าง และ ทดสอบ
Model
• Choice Phase เป็ นขั้นตอนของการเลือกคาตอบ
• Implementation Phase เป็ นขั้นตอนของการนาวิธีการแก้ไข
(solution) มาใช้งานจริ ง ๆ
องค์ ประกอบของระบบ DSS
•
•
•
•
Data Management
Model Management
Communication
Knowledge Management (Optional)
คุณสมบัตขิ องระบบ DSS
• ง่ายต่อการเรี ยนรู้และการใช้งาน
• สามารถโต้ตอบกับผูใ้ ช้ได้อย่างรวดเร็ ว และมีประสิ ทธิภาพ
• มีขอ้ มูลและแบบจาลองสาหรับสนับสนุนการตัดสิ นใจที่
เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะของปัญหา
• สนับสนุนการตัดสิ นใจแบบกึ่งโครงสร้างและไม่มี
โครงสร้าง
• มีความยืดหยุน่ ที่จะสนองความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไป
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจแบบกลุ่ม
(Group Decision Support System : GDSS)
เนื่องจากการตัดสิ นใจของคนเพียงคนเดียวอาจจะทาให้
เกิดข้อผิดพลาดได้ ดังนั้นจึงมีการพัฒนาระบบนี้เพื่อเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลในการตัดสิ นใจของกลุ่ม
ข้ อแตกต่ างระหว่ าง MIS กับ DSS
ระบบสนับสนุนผู้บริหาร
(Executive Information Systems : EIS)
• สร้างขึ้นเพื่อสนับสนุนสารสนเทศและการตัดสิ นใจสาหรับผูบ้ ริ หาร
ระดับสูงโดยเฉพาะ
• แยกมาจากระบบ DSS เพื่อเน้นในการให้สารสนเทศที่สาคัญต่อการ
บริ หารระดับสูงสุ ด
• จาเป็ นต้องใช้ขอ้ มูลทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร
• ออกแบบให้แสดงสารสนเทศขององค์กรโดยสรุ ป แต่ขณะเดียวกัน
สามารถดูลึกเข้าไปในรายละเอียดที่ตอ้ งการได้
ระบบสนับสนุนผู้บริหาร (EIS)
• ถูกออกแบบมาเพือ่ ผู้บริหาร
ระดับสู ง
• เป็ นซอฟต์ แวร์ ทมี่ ีความซับซ้ อนใน
การทางานแต่ สามารถใช้ งานได้ ง่าย
และมีลกั ษณะเป็ นกราฟิ ก
• ทาให้ สามารถเข้ าถึงข้ อมูลการ
บริหารงานของบริษัทได้
Page 331
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)
• ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert System) จัดเป็ นระบบสารสนเทศ
ประเภทหนึ่งที่นาวิทยาการของปัญญาประดิษฐ์เข้ามาใช้จดั การ
สารสนเทศ
• โดยเฉพาะอย่างยิง่ สารสนเทศที่เป็ น “ความรู้” (knowledge) ใน
เฉพาะสาขาหรื อเฉพาะด้าน
• ดังนั้นระบบผูเ้ ชี่ยวชาญจึงเป็ นซอฟต์แวร์ที่ใช้สร้างฐานความรู้
(knowledge base) และกลไกในการตั้งคาถามและหาคาตอบ
• ทาให้ผใู้ ช้ได้รับความสะดวกในการถามและตอบเหมือนคุยกับ
ผูเ้ ชี่ยวชาญจริ ง ๆ แต่อย่างไรก็ไม่สามารถแทนที่มนุษย์ได้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
(Expert Systems : ES)
• คล้ายกับระบบอื่นตรงที่ช่วยผูบ้ ริ หารแก้ไขปัญหา
• ต่างจากระบบอื่นตรงที่ตอ้ งเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
(Knowledge) มากกว่า สารสนเทศ
• ถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสิ นใจโดยใช้วธิ ีเดียวกับมนุษย์
• ใช้หลักการปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
ทีมพัฒนาระบบ
• คณะกรรมการดาเนินงาน (Steering Committee) มีหน้าที่ในการ
ตัดสิ นใจ กาหนดรู ปแบบ และวัตถุประสงค์ของสารสนเทศ
• ผู้จัดการระบบสารสนเทศ (MIS Manager) มีหน้าที่ดูแลและ
ประสานงานในการวางแผน โครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ
และพัฒนาระบบสารสนเทศขององค์กร
• ผู้จัดการโครงการ (Project Manager) มีหน้าที่รับผิดชอบในการ
วางแผน การจัดการ และควบคุมให้งานในโครงการดาเนินไปอย่าง
ราบรื่ น สาเร็ จลุล่วงและมีประสิ ทธิภาพ
ทีมพัฒนาระบบ
• นักวิเคราะห์ ระบบ (System Analyst) คือผูท้ ี่เป็ นตัวกลางในการติดต่อ
ระหว่างระบบสารสนเทศกับกลุ่มผูเ้ กี่ยวข้อง รวมทั้งทาหน้าที่ในการ
วิเคราะห์และออกแบบระบบที่ตอ้ งการพัฒนาขึ้นมาอีกด้วย
• โปรแกรมเมอร์ หรือนักเขียนโปรแกรม (Programmer) มีหน้าที่เกี่ยวกับ
การพัฒนาชุดคาสัง่ หรื อเขียนโปรแกรม
• เจ้ าหน้ าทีร่ วบรวมข้ อมูล (Information Center Personnel) มีหน้าที่
คอยช่วยเหลือนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์ในการพัฒนาระบบ
ในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบ เพื่อ
นามาใช้งานได้ตามต้องการ
ทีมพัฒนาระบบ
• ผู้จัดการทัว่ ไป (User and General Manager)
เป็ นบุคคลที่มีหน้าที่ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบงานเดิม
และกาหนดความต้องการในระบบใหม่แก่ทีมงานพัฒนาระบบ เพื่อ
พัฒนาให้ระบบใหม่มีประสิ ทธิภาพและเป็ นที่พ่ งึ พอใจกับผูใ้ ช้
• ผู้ใช้ ระบบ (System User) หมายถึง บุคคลที่ควบคุมและดูแลระบบ
สารสนเทศขององค์กรหรื อเจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวข้องกับระบบ
สารสนเทศโดยตรง
วงจรการพัฒนาระบบ
• วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
(System Development Lift Cycle: SDLC)
(System Development Lift Cycle: SDLC)
1. ค้นหาปัญหา โอกาสและเป้ าหมาย (Identifying Problems, Opportunity and
Objective)
2. ศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study)
3. วิเคราะห์ความต้องการของระบบ (Analyzing System Needs)
4. การออกแบบระบบ (Designing the Recommended System)
5. พัฒนาซอฟต์แวร์และจัดทาเอกสาร (Developing and Documenting
Software)
6. ทดสอบและบารุ งรักษาระบบ (Testing and Maintaining the System)
7. ดาเนินงานและประเมินผล (Implementing and evaluating the System)
ทิศทางและแนวโน้ มของระบบสารสนเทศ
(Trends in Information Systems)
• การพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีประสิ ทธิภาพสูงขึ้น
• มีการใช้ระบบสารสนเทศสนับสนุนการทางานของผูบ้ ริ หาร
• มีการพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) และระบบ
ผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert System) และระบบฐานความรู ้ (Knowledge-based
Systems)
• มีการพัฒนาการใช้เครื อข่ายระหว่างองค์กร และเครื อข่ายระหว่าง
ประเทศอย่างไร้พรมแดน (Enterprise and Global Internet working)