ระบบสารสนเทศ

Download Report

Transcript ระบบสารสนเทศ

291320
Business Information System
บทที่ 1
ความรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับระบบสารสนเทศ
อ.ธารารัตน์ พวงสุ วรรณ
[email protected]
ระบบสารสนเทศ
• คือ ระบบของการจัดเก็บ ประมวลผลข้อมูล โดยอาศัยบุคคลและเทคโนโลยี
สารสนเทศในการดาเนินการ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมกับงานหรื อ
ภารกิจแต่ละอย่าง
• ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ (Computer-based Information Systems :
CBIS) คือ ระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ทาหน้าที่ในส่ วนของการ
ประมวลผล (processing) เพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ
• และใช้คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่ องมือในการแสดงผลที่ได้ (output)
• และกระจายผลที่ได้ (output) ไปยังบุคคล หรื อหน่วยงานต่างๆ
ภายในองค์กร
ระบบสารสนเทศ
• ในมิติทางธุรกิจ ระบบสารสนเทศเป็ นระบบที่ช่วยแก้ปัญหาการจัดการของ
องค์กร ซึ่งถูกท้าทายจากสิ่ งแวดล้อม
• ดังนั้นการใช้ระบบสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิภาพ จาเป็ นที่จะต้องเข้าใจ
องค์กร (Organzations) การจัดการ (management) และเทคโนโลยี
(Technology)
ระบบสารสนเทศ
• ระบบสารสนเทศในมุมมองของธุรกิจ
ความสั มพันธ์ ของระบบสารสนเทศ องค์ กร และ
กระบวนการธุรกิจ
• การเปลี่ ย นแปลงของโลกปั จ จุ บั น ที่ มี ก ารแข่ ง ขั น สู ง ขึ้ น การตั ด สิ น ใจของ
ผู้บริหารต้ องทาในเวลาทีจ่ ากัดภายใต้ เงื่อนไขต่ างๆมากมาย
• บทบาทของสารสนเทศในองค์ ก รมี ม ากขึ้น ในแง่ ข องการให้ ส ารสนเทศแก่
ผู้บริหารในการช่ วยการตัดสิ นใจทางธุรกิจ
• จึงทาให้ องค์ กรตัดสิ นใจ นาระบบสารสนเทศหรือเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่ วย
ในองค์ กร
• มีการใช้ เทคโนโลยีต่างๆ ทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงต่ างๆ ในองค์ กร เช่ น การ
เปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน การเพิ่มขีดความสามารถในการทางาน ลักษณะการ
ดาเนินการ และวัฒนธรรมองค์ กร เป็ นต้ น
บทบาทของระบบสารสนเทศ
(The Roles of Information System)
• บทบาทพื้นฐานของระบบสารสนเทศ ที่นาไปสนับสนุนการปฏิบตั ิงาน
ในองค์กร และทาให้องค์กรประสบความสาเร็ จ และเป็ นประโยชน์ต่อ
การแข่งขันทางธุรกิจ ประกอบด้วย 3 ส่ วน คือ
– สนับสนุนกระบวนการทางธุรกิจ และปฏิบตั ิการทางธุรกิจ
– สนับสนุนผูบ้ ริ หารในการตัดสิ นใจ
– สนับสนุนเป็ นกลยุทธ์ขอ้ ได้เปรี ยบในการแข่งขัน เช่น การพัฒนา
เว็บไซต์เพื่อเป็ นบริ ษทั เสมือนจริ ง (Virtual Company)
บุคลากรทีม่ ีความเกีย่ วข้ องกับระบบสารสนเทศ
1. ระดับสู ง หรือระดับวางแผนยุทธศาสตร์ : เน้นรายงานสรุ ป รายงาน
แบบ What-If และการวิเคราะห์แนวโน้มต่าง ๆ (trend analysis)
2. ระดับกลาง หรือระดับวางแผนบริหาร : มักจะเป็ นสารสนเทศตาม
คาบเวลา และเป็ นสารสนเทศที่รวบรวมข้อมูลทั้งจากภายในและ
ภายนอกองค์กร
3. ระดับแผนปฏิบัติการ : ข้อมูลที่ผบู ้ ริ หารระดับนี้ตอ้ งการ ส่ วนมากจะ
เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิการในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ
4. ระดับงานประจาภายในองค์ กร : จะเน้นไปที่การจัดการรายการ
ประจาวัน
ประโยชน์ ของระบบสารสนเทศ
• เพิม่ ประสิ ทธิภาพ (Efficiency)
• เพิม่ ประสิ ทธิผล (Effectiveness)
ประโยชน์ ของระบบสารสนเทศ
• เพิม่ ประสิ ทธิภาพ (Efficiency)
– ความรวดเร็ วในการปฏิบตั ิงาน
– การเก็บข้อมูลและการเข้าถึงข้อมูล
– การติดต่อสื่ อสาร
– ต้นทุนการดาเนินงาน
– การประสานงานระหว่างฝ่ ายต่าง ๆ
ประโยชน์ ของระบบสารสนเทศ
• เพิม่ ประสิ ทธิผล (Effectiveness)
– การตัดสิ นใจ
– การเลือกผลิตสิ นค้าและบริ การ
– การปรับปรุ งสิ นค้าและบริ การ
บ ุคลากร
ซอฟต์แวร์
ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของ
ระบบสารสนเทศ
ข้อมูล
ขัน้ ตอนการ
ดาเนินงาน
ส่ วนประกอบของระบบสารสนเทศ
• ฮาร์ ดแวร์ (Hardware) ประกอบด้วย หน่วยนาข้อมูลเข้า หน่วยนา
ข้อมูลออก หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยเก็บข้อมูลสารองและ
อุปกรณ์การสื่ อสาร
• ซอฟต์ แวร์ (Software) โปรแกรมประยุกต์ และโปรแกรมระบบ
ส่ วนประกอบของระบบสารสนเทศ(ต่ อ)
• ข้ อมูล( Data) แฟ้ มข้อมูลหรื อไฟล์ฐานข้อมูล
• บุคลากร (Personnel) ผูใ้ ช้งาน ผูป้ ฏิบตั ิงาน ผูค้ วบคุมระบบและ
ผูพ้ ฒั นาโปรแกรม
• ขั้นตอนการดาเนินงาน (Procedures) ขั้นตอนการใช้งานของผูใ้ ช้
และขั้นตอนการปฏิบตั ิการของผูป้ ฏิบตั ิงาน
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
• คือ การดาเนินงานตามขันตอนเพื
้
่อสร้ างระบบงานคอมพิวเตอร์ ที่
สามารถประมวลผล ข้ อมูลให้ เป็ นสารสนเทศ
• โดยร่วมมือกันระหว่างผู้ใช้ ระบบ ผู้พฒ
ั นาระบบ และเจ้ าของระบบหรื อ
องค์กร
• ทาให้ ได้ ระบบสารสนเทศที่ช่วยในการปฏิบตั ิงาน การจัดการ การ
ตัดสินใจ การวางแผน
• และการกาหนดนโยบายต่าง ๆ ให้ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีขึ ้น
กว่าระบบงานเดิม
วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
(System Development Life Cycle –– SDLC)
การสารวจเบือ้ งต้ น
การวิเคราะห์ ความต้ องการ
การออกแบบระบบ
การพัฒนาและติดตั้งระบบ
การดูแลรักษา
วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
(System Development Life Cycle –– SDLC)
การสารวจเบือ้ งต้ น
• เป็ นการศึกษาทาความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการดาเนินงานขององค์การ ปั ญหา
ที่เกิดขึ้นกับการดาเนินงานในปั จจุบนั
• สาเหตุที่แท้จริ งของปัญหาและรวบรวมความต้องการของผูใ้ ช้
• โดยการพูดคุย สัมภาษณ์ ให้ตอบแบบสอบถาม
• ศึกษาจากแผนภูมิองค์กร คู่มือการปฏิบตั ิงาน แฟ้ มข้อมูล รายงานต่าง ๆ
หรื อสังเกตจากการปฏิบตั ิงานจริ ง
• จะได้นาไปกาหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตเพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนาระบบ
ใหม่
• การวิเคราะห์ความคุม้ ค่าของระบบหรื อเรี ยกว่าการศึกษาความเป็ นไปได้
วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
(System Development Life Cycle –– SDLC)
การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study)
มีดว้ ยกัน 3 ด้านหลักๆ คือ
 ความเป็ นไปได้ดา้ นเทคนิค (technical feasibility)
 ความเป็ นไปได้ดา้ นเศรษฐกิจ (economic feasibility)
 ความเป็ นไปได้ดา้ นการปฏิบตั ิงาน (operational feasibility)
วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
(System Development Life Cycle –– SDLC)
การวิเคราะห์ระบบ
• เป็ นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์การ
• โดยการค้นหา รวบรวม และวิเคราะห์ความต้องการของผูใ้ ช้ระบบ
• มีวตั ถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาแนวทางในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นใน
ระบบปัจจุบนั
• และกาหนดหน้าที่ของระบบใหม่ที่สามารถแก้ปัญหาและตอบสนองต่อ
ความต้องการของผูใ้ ช้ได้
วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
(System Development Life Cycle –– SDLC)
ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
การวิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้ มา
การวิเคราะห์ กระบวนการ
การวิเคราะห์ ลกั ษณะของผลลัพธ์
การวิเคราะห์ สิ่งนาเข้ า
วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
(System Development Life Cycle –– SDLC)
ออกแบบระบบสารสนเทศ
•
•
•
•
เป็ นการวางโครงสร้างของระบบการทางานที่ได้คิดไว้สู่การปฏิบตั ิ
โดยแจกแจงรายละเอียดของงานแต่ละอย่างให้ชดั เจน
แล้วจัดทาเป็ นแบบจาลอง
จากนั้นจึงนาแบบจาลองนั้นส่ งให้นกั พัฒนาโปรแกรม
เพื่อสร้างระบบต่อไป
วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
(System Development Life Cycle –– SDLC)
ขั้นตอนการออกแบบระบบสารสนเทศ
 การออกแบบระบบทางตรรกะ
 การออกแบบระบบทางกายภาพ
วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
(System Development Life Cycle –– SDLC)
การออกแบบระบบทางตรรกะ
 การออกแบบฟังก์ชนั
 การออกแบบลาดับงาน
 การออกแบบการประมวลผล
วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
(System Development Life Cycle –– SDLC)
การออกแบบระบบทางกายภาพ
 การออกแบบส่ วนนาเข้า
 การออกแบบส่ วนแสดงผล
 การออกแบบส่ วนต่อประสานผูใ้ ช้
 การออกแบบฐานข้อมูล
วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
(System Development Life Cycle –– SDLC)
พัฒนาระบบสารสนเทศ
 การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 การทดสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 การจัดทาเอกสารประกอบระบบ
วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
(System Development Life Cycle –– SDLC)
การติดตั้ง บารุ งรักษา และประเมินระบบสารสนเทศ
1. การติดตั้งระบบสารสนเทศ
2. การบารุ งรักษาระบบสารสนเทศ
3. การประเมินระบบสารสนเทศ
เทคโนโลยีของระบบสารสนเทศในปัจจุบัน
เทคโนโลยีของระบบสารสนเทศในปัจจุบนั จะประกอบด้วยระบบต่าง ๆ คือ
1. ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System หรื อ Transaction
Processing System : TPS)
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หาร (Management Information System :
MIS)
3. ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (Decision Support System : DSS)
เทคโนโลยีของระบบสารสนเทศในปัจจุบัน
4. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารระดับสูง (Executive Information
System : EIS)
5. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System : OAS)
6. ระบบปัญญาประดิษฐ์ และระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (Artificial Intelligence :
AI/Expert System : ES)
1. ระบบประมวลผลข้ อมูล (Transaction Processing : TPS)
• เป็ นการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐานเกือบ
ทั้งหมด
• จะประมวลผลในลักษณะ On-Line โดยเน้นที่การประมวลผลรายการ
ประจาวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล
ลักษณะเด่ นของ TPS
คือ การทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ทางานง่าย ไม่ยงุ่ ยากซับซ้อน เช่น
งานด้านธุรกิจบริ การ สิ่ งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้คือ
1. ลดจานวนพนักงาน(เสมียน) ในกรณี น้ ีจะใช้พนักงานกรอกข้อมูลเข้า
ระบบคอมพิวเตอร์เพียงคนเดียวเท่านั้น
2. องค์กรจะมีบริ การที่สะดวกรวดเร็ วแก่ผบู ้ ริ โภคมากขึ้น
3. ลูกค้ามีจานวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากบริ การที่ดี สะดวก และรวดเร็ ว
2. ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ(Management
Information System : MIS)
• คือ ระบบที่ให้สารสนเทศที่ผบู้ ริ หารต้องการ เพื่อให้สามารถ
ทางานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
Summary
reports
ข้อมูลรายการ
TPS
MIS
Exception reports
ภาพแสดงการทางานของระบบ MIS
ลักษณะของระบบ MIS ทีด่ สี ามารถสรุปได้ ดงั นี้
1. จะสนับสนุนการทางานของระบบประมวลผลข้อมูลและการจัดเก็บ
ข้อมูลรายวัน
2. จะใช้ฐานข้อมูลที่ถูกรวมเข้าด้วยกัน และสนับสนุนการทางานของฝ่ าย
ต่างๆ ในองค์การ
3. ช่วยให้ผบู ้ ริ หารระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง เรี ยกใช้ขอ้ มูลที่เป็ น
โครงสร้างได้ตามเวลาที่ตอ้ งการ
4. มีความยืดหยุน่ และสามารถรองรับความต้องการข้อมูลที่เปลี่ยนแปลง
ไปขององค์กร
5. ต้องมีระบบรักษาความลับของข้อมูลและจากัดการใช้งานของบุคคล
เฉพาะผูท้ ี่เกี่ยวข้องเท่านั้น
ความแตกต่ างของระบบ MIS และ TPS
1. การใช้งานระบบฐานข้อมูลร่ วมกันของ MIS แทนการใช้ระบบ
แฟ้ มข้อมูลแบบแยกกันของระบบ TPS ทาให้มีความยืดหยุน่ พอที่จะ
ให้สารสนเทศที่ผบู ้ ริ หารต้องการ
2. ระบบ MIS จะรวบรวมข้อมูลจากฝ่ ายทางานต่าง ๆ ขณะที่ TPS มีการ
ใช้งานแยกจากกันในแต่ละฝ่ าย
3. ระบบ MIS จะให้สารสนเทศสาหรับผูบ้ ริ หารทุกระดับ ในขณะที่
ระบบ TPS จะให้สารสนเทศสาหรับระดับปฏิบตั ิการเท่านั้น
4. สารสนเทศที่ผบู ้ ริ หารต้องการ ส่ วนมากจะได้รับการตอบสนองทันที
จากระบบ MIS ในขณะที่ระบบ TPS มักจะต้องรอให้ถึงสรุ ป (จาก
รายงาน)
3. ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
(Decision Support System :DSS)
• เป็ นระบบที่พฒั นาขึ้นจากระบบ MIS อีกระดับหนึ่ง
• ประกอบข้อมูล เครื่ องมือ และต้นแบบ (Model) ที่ช่วยในการตัดสิน นใ
• DSS ใช้ขอ้ มูลที่มา ากภายในองค์กร คือ าก TRS และ MIS และ าก
ภายนอก เช่น ตลาดสหุ่น คู่แข่ง อุติาหกรรม เป็ นต้น มาช่วยในการ
ตัดสิน นใ
• โดยจะช่วยผูต้ ดั สิ นใจในการเลือกทางเลือก หรื ออาจมีการจัดอันดับ
ให้ทางเลือกต่าง ๆ ตามที่ผตู ้ ดั สิ นใจกาหนด
ลักษณะของระบบ DSS ทีด่ ี
1. จะต้องช่วยผูบ้ ริ หารในกระบวนการตัดสิ นใจ
2. จะต้องถูกออกแบบมาให้สามารถเรี ยกใช้ขอ้ มูลแบบกึ่งโครงสร้างและ
แบบไม่มีโครงสร้างแน่นอนได้
3. จะต้องสามารถสนับสนุนผูต้ ดั สิ นใจได้ในทุกระดับ แต่จะเน้นที่ระดับ
วางแผนบริ หาร และวางแผนยุทธศาสตร์
4. จะต้องมีรูปแบบการใช้งานอเนกประสงค์ มีความสามารถในการ
จาลอง สถานการณ์ และมีเครื่ องมือในการวิเคราะห์สาหรับช่วยเหลือ
ผูท้ าการตัดสิ นใจ
5. ต้องเป็ นระบบที่โต้ตอบกับผูใ้ ช้ได้ ผูบ้ ริ หารต้องสามารถใช้งานโดยพึ่ง
ความช่วยเหลือจากผูเ้ ชี่ยวชาญน้อยที่สุดหรื อไม่ตอ้ งพึ่งเลย
ลักษณะของระบบ DSS ทีด่ ี
6. ต้องสามารถปรับให้เข้ากับความต้องการข่าวสารในสถานการณ์ต่าง ๆ
7. ต้องมีกลไกช่วยให้สามารถเรี ยกใช้ขอ้ มูลที่ตอ้ งการได้อย่างรวดเร็ ว
8. ต้องสามารถติดต่อกับฐานข้อมูลขององค์กรได้
9. ต้องทางานโดยไม่ข้ ึนกับระบบการทางานตามตารางขององค์กร
10. ต้องมีความยืดหยุน่ พอที่จะรองรับรู ปแบบการบริ หารแบบต่าง ๆ
ความแตกต่ างของระบบ DSS และ MIS
1. ระบบ MIS จะถูกออกแบบให้สามารถจัดการเฉพาะกับปัญหาที่มี
โครงสร้างเท่านั้น ในขณะที่ระบบ DSS ถูกออกแบบให้สามารถ
จัดการกับปัญหากึ่งมีโครงสร้าง หรื อแบบไม่มีโครงสร้างแน่นอน
2. ระบบ MIS จะถูกออกแบบและสร้างขึ้นเพื่อสนับสนุนงานที่แน่นอน
ในขณะที่ระบบ DSS เป็ นชุดของเครื่ องมือที่ช่วยในสนับสนุนการ
ตัดสิ นใจ ที่สามารถปรับให้เข้ากับสถานการณ์การตัดสิ นใจแบบต่าง
ๆ ได้
3. ระบบ MIS จะให้รายงานหรื อสารสนเทศที่สรุ ปออกมากับผูใ้ ช้
ในขณะที่ระบบ DSS จะโต้ตอบกับผูใ้ ช้ทนั ที
ความแตกต่ างของระบบ DSS และ MIS
4. ระบบ MIS ผูใ้ ช้ไม่สามารถขอให้ระบบสนับสนุนสารสนเทศสาหรับ
การตัดสิ นใจที่ตอ้ งการเป็ นการเฉพาะ หรื อในรู ปแบบเฉพาะตัว แต่ใน
ระบบ DSS ผูใ้ ช้สามารถกาหนดเองได้
5. ระบบ MIS จะให้สารสนเทศที่เป็ นประโยชน์สูงสุ ดกับผูบ้ ริ หาร
ระดับกลาง ในขณะที่ระบบ DSS จะให้สารสนเทศที่เหมาะกับทั้ง
ผูบ้ ริ หารระดับกลางและระดับสูง
4. ระบบสารสนเทศเพือ่ ผู้บริหารระดับสู ง
(Executive Information System : EIS)
• เป็ นระบบที่สร้างขึ้น เพื่อสนับสนุนสารสนเทศและการตัดสิ นใจสาหรับ
ผูบ้ ริ หารระดับสูงโดยเฉพาะ
• หรื อ กล่าวได้วา่ ระบบนี้คือส่ วนหนึ่งของ DSS ที่แยกออกมา
• เพื่อเน้นการให้สารสนเทศที่สาคัญต่อการบริ หารแก่ผบู ้ ริ หารระดับสูง
• และมีการนาเินอเป็ นรู ปแบบของเมนูและ GUI (Graphical User
Interface)
ความแตกต่ างของระบบ EIS และ DSS
1. ระบบ DSS จะถูกออกแบบเพื่อให้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการ
ตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารระดับกลางถึงระดับสูง แต่ระบบ EIS จะเน้น
การให้สารสนเทศสาหรับผูบ้ ริ หารระดับสูงโดยเฉพาะ
2. ระบบ DSS จะมีส่วนของการใช้งานที่ใช้ไม่ง่ายเท่ากับระบบ EIS
เนื่องจากระบบ EIS เน้นให้ผบู ้ ริ หารระดับสูงใช้เท่านั้นเอง
3. ระบบ EIS สามารถสร้างขึ้นมาบนระบบ DSS เสมือนเป็ นระบบซึ่ง
ช่วยให้สอบถามและใช้งานได้สะดวกขึ้น ซึ่งระบบ EIS จะส่ งต่อการ
สอบถามนั้นไปยังระบบ DSS และทาการสรุ ปข้อมูลที่ระบบ DSS ส่ ง
มาให้อยูใ่ นรู ปที่ผบู ้ ริ หารสามารถเข้าใจได้ง่าย
5. ระบบสานักงานอัตโนมัติ
(Office Automation System : OAS)
• เป็ นระบบที่ใช้บุคลากรน้อยที่สุด
• โดยอาศัยเครื่ องมือแบบอัตโนมัติและระบบสื่ อสารเชื่อมโยงข่าวสาร
ระหว่างเครื่ องมือเหล่านั้นเข้าด้วยกัน
• มีจุดมุ่งหมายให้เป็ นระบบที่ไม่ใช้กระดาษ(Paperless System)
• ส่ งข่าวสารถึงกันด้วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Data
Interchange) แทน
6. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System : ES)
• หมายถึง ระบบที่ทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์กลายเป็ นผูช้ านาญการณ์ ใน
สาขาใดสาขาหนึ่งคล้ายกับมนุษย์
• เป็ นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผูบ้ ริ หารแก้ไขปัญหาหรื อทาการตัดสิ นใจ
ได้ดีข้ ึน
• และเป็ นระบบที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู(้ knowledge) มากกว่า
สารสนเทศ
• โดยใช้หลักการการทางานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial
Intelligence)
การตอบสนองของระบบสารสนเทศ
กับผู้บริหารในองค์ กร
ผูบ้ ริ หาร
DSS
ระดับสูง
ผูบ้ ริ หารระดับกลาง
TPS
ผูบ้ ริ หารระดับปฏิบตั ิการ
พนักงานประจาภายในองค์กร
EIS
MIS