ppt - Somchai Web

Download Report

Transcript ppt - Somchai Web

รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
(E-Government)
4/9/2015
1
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government)
คือ การใช้ระบบสารสนเทศและการสื่ อสาร หรื อ ICT
( Information and Communication Technology ) เพื่อส่ งเสริ ม
ให้รัฐบาลมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลมากยิง่ ขึ้นรวมถึงลด
ความยุง่ ยากในการที่ประชาชนและธุรกิจจะเข้าถึงการบริ การ
ของรัฐและเข้าถึงสารสนเทศได้กว้างขวางขึ้น
เว็บไซต์ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
E-Government
E-Government ประกอบด้วยสาระสาคัญ 4 ประการ คือ
1. สร้างบริ การตามความต้องการของประชาชน
2. ทาให้รัฐและการบริ การของรัฐเข้าถึงประชาชน
ได้มากขึ้น
3. เกิดประโยชน์แก่สงั คมโดยทัว่ กัน
4. มีการใช้สารสนเทศในการบริ หารและบริ การของ
ภาครัฐมากขึ้น
E-Government
หลักสาคัญของการสร้าง e-Government คือการนาบริ การของภาครัฐ
สู่ประชาชน โดยใช้อิเล็กทรอนิกส์เป็ นสื่ อในการให้บริ การ โดย
หลักการของ
ที่เดียว
ทันใด
ทั่วไทย ทุกเวลา ทั่วถึงและเท่ าเทีย
โปร่ งใสและเป็ นธรร ภิบาล
ประชาชนจะได้ อะไร





สร้างโอกาสให้ประชาชนได้เลือกใช้บริ การที่หลากหลายผ่าน
อินเทอร์เน็ต
ประชาชนได้รับบริ การจากรัฐที่ดีข้ ึน
รัฐให้ขอ้ มูลกับประชาชนได้มากขึ้น
ลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ าในการเข้าถึงข้อมูลและบริ การของรัฐ
ลดความยุง่ ยากของกฎเกณฑ์ เพิ่มความโปร่ งใสในการทางาน
ไทยก๊อฟด็อทเน็ต (เว็บท่าของบริการภาครัฐ)
รูปแบบของ E-Government
1. Government to Government (G2G) ระหว่างภาครัฐ
2. Government to Citizen (G2C) ภาครัฐสู่ประชาชน
3. Government to Business (G2B) ภาครัฐสู่ภาคธุรกิจ
4. Government to Employee (G2E) ภาครัฐสู่เจ้าหน้าที่ของรัฐ
รูปแบบของ E-Government
1. รัฐ กับ ประชาชน (G2C) เป็ นการให้บริ การของรัฐสู่ประชาชน
โดยตรง โดยที่บริ การดังกล่าวประชาชนจะสามารถดาเนินธุรกรรม
โดยผ่านเครื อข่ายสารสนเทศของรัฐ เช่น การชาระภาษี การจด
ทะเบียน การจ่ายค่าปรับ การค้นหาข้อมูลของรัฐที่ดาเนินการ
ให้บริ การข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็ นต้น โดยที่การดาเนินการต่าง ๆ นั้น
จะต้องเป็ นการทางานแบบ Online และ Real Time มีการรับรองและ
การโต้ตอบที่มีปฏิสัมพันธ์
ระบบสารสนเทศสาหรับงานประปา
ระบบสารสนเทศสาหรับงานประปา
การยื่นแบบแสดงและชาระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต
รูปแบบของ E-Government
2. รัฐ กับ เอกชน (G2B) เป็ นการให้บริ การภาคธุรกิจเอกชน โดยที่
รัฐจะอานวยความสะดวกต่อภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมให้สามารถ
แข่งขันกันโดยความเร็ วสูง มีประสิ ทธิภาพ และมีขอ้ มูลที่ถูกต้อง
อย่างเป็ นธรรมและโปร่ งใส เช่น การจดทะเบียนทางการค้า การ
ลงทุน และการส่ งเสริ มการลงทุน การจัดซื้อจัดจ้างทาง
อิเล็กทรอนิกส์ การส่ งออกและนาเข้า การชาระภาษี และการ
ช่วยเหลือผูป้ ระกอบการขนาดกลางและเล็ก
บริการจดทะเบียนนิติบ ุคคลทางอินเทอร์เน็ต
รูปแบบของ E-Government
3. รัฐ กับ รัฐ (G2G) เป็ นรู ปแบบการทางานที่เปลี่ยนแปลงไปมาก
ของหน่วยราชการ ด้วยการใช้ระบบเครื อข่ายสารสนเทศ และ
ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็ นเครื่ องมือในการแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่าง
เป็ นทางการเพื่อเพิม่ ความเร็ วในการดาเนินการ ลดระยะเวลาในการ
ส่ งเอกสารและข้อมูลระหว่างกัน ทั้งนี้รวมไปถึงการเชื่อมโยงกับ
รัฐบาลของต่างชาติ และองค์กรปกครองท้องถิ่นอีกด้วย
ระบบงานต่าง ๆ ที่ใช้ในเรื่ องนี้ ได้แก่ ระบบงาน Back Office
ต่าง ๆ ได้แก่ ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบบัญชีและ
การเงินระบบจัดซื้อจัดจ้างด้วยอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นต้น อย่างไรก็ดี
จะต้องมีกระบวนการในการลดแรงต่อต้านของบุคลากรที่คุน้ เคยกับ
การทางานในระบบเดิม
ระบบตรวจสอบลายพิมพ์น้ ิวมืออัตโนมัติ
รูปแบบของ E-Government
4. รัฐ กับ ข้ าราชการและพนักงานของรัฐ (G2E) เป็ นการให้บริ การ
ที่จาเป็ นของพนักงานของรัฐ (Employee) กับรัฐบาล โดยที่จะสร้าง
ระบบเพื่อช่วยให้เกิดเครื่ องมือที่จาเป็ นในการปฏิบตั ิงาน และการ
ดารงชีวิต เช่น ระบบสวัสดิการ ระบบที่ปรึ กษาทางกฎหมาย และ
ข้อบังคับในการปฏิบตั ิราชการ ระบบการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ
เป็ นต้น
เว็บไซต์กรมการปกครองระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริการ
สาธารณะ
เว็บไซต์ของโครงการ e-Citizen
e-Citizen
สั งค ที่ ีรูปแบบการดาเนินชีวติ แนวให ่
ประกอบด้ วย
1. Citizen e-DB ฐานข้อมูลประชาชน
2. Citizen e-ID การพิสูจน์ยนื ยันตัวบุคคล
3. Citizen e-Service การบริ การประชาชน
ประโยชน์ ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์





เพิ่มประสิ ทธิภาพในการทางานของหน่วยงานรัฐ
เพิ่มคุณภาพในการบริ การประชาชนให้สะดวกรวดเร็ ว
สร้างความโปร่ งใสในการดาเนินงานและให้บริ การ
ลดต้นทุนการดาเนินงานและการให้บริ การของหน่วยงานภาครัฐ
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
E-Procurement
คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการให้บริ การที่
เกี่ยวข้องในกิจกรรมการจัดซื้ อจัดจ้างของภาครัฐ เช่น การตก
ลงราคา การสอบราคา การประกวดราคา และการจัดซื้อรวม
แบบออนไลน์
E-Procurement
กระบวนการจัดซื้ อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐผ่านทาง
เว็บไซต์บนเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ คือ
- การตกลงราคา
- การสอบราคา
- การประกวดราคา
- การจัดซื้อ
- การประมูลอิเล็กทรอนิกส์
วัตถุประสงค์ ของ E-Procurement
- เพิม่ ประสิ ทธิ ภาพในการจัดซื้อจัดจ้างสิ นค้าและบริ การให้ได้
ตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้
- ส่ งเสริ มภาพลักษณ์อนั ดี
- ประหยัดงบประมาณค่าใช้จ่าย
องค์ ประกอบหลักของระบบ E-Procurement
- E-Catalog
- E-RFP และ E-RFQ
- ระบบประมูลอิเล็กทรอนิกส์
- ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
- เว็บไซต์ท่าสาหรับใช้เป็ นศูนย์การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์
ภาครัฐ
- ผูใ้ ห้บริ การตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์
จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ขั้นตอนของระบบ E-Procurement
1. ค้นหาสิ นค้า/บริ การที่จะซื้อผ่าน E-Catalog
2. เลือกหมวดสิ นค้าที่ตอ้ งการจะซื้อผ่าน E-Shopping List
3. จัดประกาศเชิญชวนผ่าน Web-Site
4. ผูข้ ายเสนอคุณสมบัติของสิ นค้าทางอินเตอร์เน็ต (E-RFP)
5. ผูซ้ ้ือตรวจสอบราคากลาง (E-RFQ) และ Track Record ของผูข้ าย
6. ประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction)
7. ประกาศผล ผูช้ นะและส่ งมอบ/ตรวจรับพัสดุ
8. จ่ายเงินตรงด้วยระบบ E-Payment
: ประโยชน์ จากการใช้ บริการผู้ซื้อและผู้ขาย :
ประโยชน์ ของผู้ซื้อ (Buyer)
ประโยชน์ ของผู้ขาย (Supplier)
1. ช่วยลดต้นทุนในการดาเนินการที่เกี่ยวข้องกับการ 1. สร้างโอกาสทางการค้าที่มีศกั ยภาพในการเข้าถึง
จัดซื้ อ และสามารถเข้าถึงกลุ่มผูข้ ายขนาดใหญ่
กลุ่มผูซ้ ้ื อรายใหม่ เพิ่มยอดขายและช่วยให้การ
ในแต่ละอุตสาหกรรมได้ในระยะเวลาอันสั้น
ระบายสต็อกสิ นค้าทาได้อย่างรวดเร็ วยิง่ ขึ้น
2. เพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการจัดซื้ อจัดหาสิ นค้า โดย 2. ช่วยให้การวางแผนการผลิตในโรงงานทาได้
ทาให้การจัดซื้ อมีความโปร่ งใสมากขึ้น ลดเวลา
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น ช่วยให้การ
และค่าใช้จ่ายในการต่อรองสิ นค้า ทั้งยังช่วยให้
จัดซื้ อวัตถุดิบมีความรอบคอบและรัดกุมยิง่ ขึ้น
การวางแผนกระบวนการจัดซื้ อจัดหาในองค์กร
ส่ งผลในเกิดการประหยัดค่าใช้จ่ายในการผลิต
ให้มีประสิ ทธิ ภาพและเป็ นไปในทิศทาง
และการจัดเก็บสิ นค้าคงคลัง
เดียวกัน
3. สามารถเปรี ยบเทียบราคาที่เสนอได้อย่าง
สะดวกสบาย ซื้ อสิ นค้าในราคาที่คุณพอใจ
4. เพิ่มโอกาสตรวจสอบคุณภาพของสิ นค้า /
สามารถคัดเลือกซัพพลายเออร์ที่มีคุณภาพ
3. เพิ่มโอกาสในการขายสิ นค้าจานวนมากในแต่ละ
คราวในราคาที่เหมาะสม ยุติธรรม สอดคล้อง
กับสภาพความต้องการที่แท้จริ ง