จริยธรรม

Download Report

Transcript จริยธรรม

รู ปแบบการดารงชี พในสั งคมมนุ ษย์ ปัจจุ บัน อาชี พ
เป็ นหน้ าที่ของบุคคลในสั งคม การที่บุคคลประกอบอาชีพ
จะได้ ม าซึ่ ง ค่ า ตอบแทน หรื อ รายได้ เพื่อ ใช้ จ่ า ยในการ
ดารงชีวติ
อาชี พที่จาเป็ นต้ องความรู้ ความสามารถเฉพาะด้ าน
เรี ยกว่ า วิชาชี พ เช่ น วิศวกร แพทย์ พยาบาล ทนายความ
และอาชี พที่ถูกกฎหมายและศี ลธรรม เรี ยกว่ า สั มมาชี พ
เช่ น ค้ าขาย
ส่ วนบางอาชี พที่ผิดกฎหมาย เรี ยกว่ า มิจฉาชี พ เช่ น
โจร
อาชี พอาจมีรายได้ ต่างๆกันไป ลักษณะอาชี พที่ เป็ น
ลูกจ้ างจะได้ ค่าตอบแทนในรู ปแบบเงินเดือน อาชีพค้ าขาย
หรื อ ประกอบกิ จ การส่ วนตั ว หรื อ การลงทุ น จะได้
ค่ าตอบแทนในรู ปแบบ กาไร
เป็ นกิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การผลิ ต และจ าหน่ า ย
สิ น ค้ า หรื อ บริ ก าร เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของ
ผู้บริโภค โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ แสวงหากาไรสู งสุ ด
แบบแผนของการกระท าที่ ถู ก ต้ อ ง หรื อ เป็ น
เครื่ องนาทางไปสู่ หลักในการประพฤติปฏิบัติที่ถูก
หลักศี ลธรรม หรื อเป็ นแนวคิดของการประพฤติ ที่
ถูกต้ อง
มาตรฐานของการประกอบธุ รกิจ การผลิตสิ นค้ า การใช้
บริ การ จัดจาหน่ ายเพือ่ ได้ รับผลตอบแทนตามสมควรกั บการที่
ลงทุนไปอย่ างเป็ นธรรมทุกฝ่ ายไม่ ว่าจะเป็ นผู้ผลิตหรือผู้บริโภค
เจ้ าของกิจการ ผู้ถือหุ้ น ผู้บริ หาร ผู้ร่วมงาน ผู้บริ การ รั ฐบาล
สั งคม ซึ่งต่ างมีความสั มพันธ์ เชิงธุรกิจร่ วมกัน
ก ล ไ ก ทุ ก ส่ ว น ที่ ใ ห้ ค ว า ม ช อ บ ธ ร ร ม เ พื่ อ
ประสิ ทธิภาพสู งสุ ดของธุรกิจ
1. ธุ ร กิ จ ไม่ เ พี ย งต้อ งด ำเนิ น กำรตำมกฎหมำยเท่ ำ นั้ น จะต้อ งมี
จริ ยธรรมประกอบด้วย
2. ธุ รกิจต้องรับผิดชอบต่อสิ นค้ำและบริ กำรของตนที่จำหน่ ำยให้แก่
ผูบ้ ริ โภค
3. กำรกระทำผิดจริ ยธรรมบำงอย่ำงไม่มีกฎหมำยห้ำมไว้ ถ้ำนักธุรกิจ
ไม่มีจริ ยธรรมก็จะฉวยโอกำสดำเนินกำรไป
4. กำรตัดสิ นคุณค่ำทำงจริ ยธรรม เป็ นปั ญหำส่ วนหนึ่งของกำรดำเนิ น
กำรทำงธุรกิจ ในองค์กรธุรกิจทัว่ ไป ไม่มีกฎเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้ชดั เจน
ประกอบด้วย
1.ควำมไว้วำงใจ
2.ควำมเห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่น
3.ควำมยุติธรรม
4.ควำมจริ งใจ
 ผลประโยชน์ส่วนตัวและความเห็นแก่ตวั
 การกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งกาไร
 จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนตัว
 ความขัดแย้งต่างวัฒนธรรม
จริยธรรมของความสัมพันธ์แบบส่วนตัว
จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับนโยบายของบริษทั
จริยธรรมที่เกี่ยวกับกิจกรรมหรือหน้าที่ตา่ ง ๆ ของ
บริษทั
 จริยธรรมด้านบัญชี  จริยธรรมด้านการตลาด
จริยธรรมด้านการเงิน
จริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
จริยธรรมในด้านอื่น ๆ ในส่วนอื่น ๆ ของบริษทั
 ระดับบุคคล
ระดับองค์ การหรือบริษัท
ระดับสมาคม
ระดับสั งคม
ระดับประเทศ
 การมุ่งเน้นพัฒนาภาคอุตสาหกรรม
 การพัฒนาอุตสาหกรรมที่มุ่งซื้อเครื่องจักรเทคโนโลยี
และวัตถุดิบมาจากต่างประเทศ
 การให้รายได้ที่ต ่า และการโยกย้ายถิ่นฐานเข้ามา
ทางาน
 การลงทุนอุตสาหกรรมด้านการผลิตที่เน้นเครื่องจักร
และเทคโนโลยีสมัยใหม่ โดยที่ไม่มีความรูแ้ ละ
ความเข้าใจมาก่อน
1. ไม่ทาตามสัญญาหรือข้อตกลงที่ได้เจรจาไป
แล้ว
2. กดราคาผูผ้ ลิตวัตถุดิบ
3. ไม่ได้ตอบแทนลูกจ้างในสัดส่วนที่เหมาะสม
4. ให้รายงานคลาดเคลื่อนไปจากความเป็ นจริง
5. กดขี่ไม่ให้สิทธิข้นั พื้นฐานแก่ผรู ้ ว่ มงาน
6. ระบุขอ้ เด่นของงาน โครงการที่ผิดจากความ
เป็ นจริง
7. กาหนดราคาสินค้าไม่เป็ นธรรม
8. การหลีกเลี่ยงภาษี ติดสินบน
9. ผลิตสินค้าหรือบริการที่มีคุณภาพต ่า
10. ผลิตสินค้าที่สร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดชอบทางสังคม
1. การกากับดูแลกิจการที่ดี
2. การประกอบธุรกิจด้วยความเป็ นธรรม
3. การเคารพสิทธิและการปฏิบตั ติ อ่ แรงงานอย่างเป็ น
ธรรม
4. ความรับผิดชอบต่อผูบ้ ริโภค
ความรับผิดชอบทางสังคม (ต่อ)
5. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม
6. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
7. การเผยแพร่นวัตกรรมจากการดาเนินความ
รับผิดชอบต่อสังคม
8. การจัดทารายงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง ธุรกิจที่ประกอบกิจกรรม CSR
1. ปตท.
2. ปูนซิเมนต์ไทย (SCG)
3. ISUZU
4. ช้าง
5. โอโม
1.1 ผลิตสินค้าที่ไม่มีคุณภาพออกสูต่ ลาดได้ขนาด
ตามสัดส่วน
1.2 ผลิตสินไม่ได้มาตรฐานอุตสาหกรรม
1.3 ผลิตสินค้าไม่เสร็จตรงตามเวลา
1.4 ผลิตสินค้าโดยคัดลอก
1.5 ผลิตสินค้าแบบสุกเอาเผากิน ชารุด ไม่ทนทาน
1.6 ผลิตสินค้าปลอมออกจาหน่าย
2.1 การจาหน่ายสินค้าแบบฉวยโอกาส
2.2 จาหน่ายสินค้าคุณภาพต ่า
2.3 จาหน่ายสินค้าแบบเอารัดเอาเปรียบจนเกิน
2.4 จาหน่ายสินค้าและบริการแบบขาดความ
รับผิดชอบ
2.5 จาหน่ายสินค้าโดยวิธีตดั ราคาให้ต ่ากว่าผูอ้ ื่น
3.1 การบริการขนส่ง กรณีผซู ้ ้ ืออยูไ่ กล
3.2 การบริหลังการขายติดตามให้คาแนะนา
3.3 การบริการผ่อนชาระ คือ ซื้อสินค้าแบบผ่อนส่
3.4 บริการด้านความปลอดภัย
3.5 การบริการด้านข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับชนิดสินค้า
4.1 รายงานข้อมูลความเป็ นจริงต่อผูบ้ ริหาร
4.2 การฉ้อฉลทางการเงิน
4.3 การรักษาข้อมูลและความลับของกิจการ
4.4 การรักษาความสัมพันธ์ที่ดีตอ่ ลูกค้า
5.1 ผลิตสินค้าโดยทาลายสภาพแวดล้อม
5.2 การควบคุมเสียง
5.3 การผลิตสินค้าที่มีคุณภาพรับใช้สงั คม
5.4 ยกระดับชีวิตและความเป็ นอยูข่ องผูบ้ ริโภคมีฐาน
5.5 การเป็ นผูเ้ สียสละโดยช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาส การ
ส่งเสริมผลักดันการทางานนั้นเอง
6.1 การตัง้ ราคาสินค้า
6.2 การแข่งขันทางการค้า มีสาระดังนี้
6.2.1 การจูงใจกล่าวร้ายโจมตีคู่แข่งขันด้วยวิธีตา่ งๆ
6.2.2 ทาสินค้าปลอม
6.2.3 โฆษณาชวนเชื่อแล้วไม่รกั ษาคามั ่นสัญญา
6.2.4 ใช้กลอุบายฉ้อฉลล้วงความลับคู่แข่ง
6.2.5 หลอกลวงลูกค้าให้หลงเชื่อ
6.2.6 บีบบังคับให้ลกู ค้าซื้อสินค้าที่ไม่ตอ้ งการ
7.1 ความเสมอภาคในการทาธุรกิจ
7.2 สิทธิตา่ ง ๆ ที่บุคลากรเจ้าหน้าที่ ลูกจ้าง พึงได้รบั
ความยุติธรรม
7.3 ความเสมอภาคในการจาหน่าย ซื้อขายรวมทั้งการ
บริการลูกค้า
7.4 สิทธิเสรีภาพในการรับข้อมูลทางธุรกิจด้านต่าง ๆ
โดยเท่าเทียมกัน
7.5 ความเสมอภาคในการรับค่ายกย่องค่าตอบแทน
องค์ประกอบของจริยธรรมด้านความเชื่อมีดงั นี้
1. ด ารงรัก ษาเกี ย รติ ป ระวั ติ ท าธุ ร กิ จ มิ ใ ห้ด่ า ง
พร้อย
2. พัฒนาปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์
3. การศึกษาและวิจยั ธุรกิจ
4. ปฏิ บัติตามคาสัญญาตลอดจนการปฏิ บัติต าม
ข้อตกลง
9.1 ความปลอดภัยในชีวิต จิตใจ ของบุคคลตลอดจน
ทรัพย์สิน ผลกระทบต่อลูกจ้าง คนงาน
9.2 ความเสมอภาคและเป็ นธรรมจากการทางาน
9.3 การคุม้ ครองและส่งเสริมสุขภาพลามัย
9.4 การสงเคราะห์ช่วยเหลือถือเป็ นสวัสดิการแก่คนงาน
9.5 ให้ความยุติธรรมในการรับเรื่องราวร้องทุกข์ปัญหา
จากการทางาน
1. จริยธรรมช่วยควบคุมมาตรฐานรับประกันคุณภาพ
2. จริยธรรมช่วยควบคุมจริยธรรมของผูป้ ระกอบอาชีพ
และผลิตสินค้า
3. จริยธรรมช่วยส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพและปริมาณ
งานที่ดีมีคุณค่า
4. ช่วยส่งเสริมจริยธรรมของผูป้ ระกอบอาชีพและผูผ้ ลิต
5. จริยธรรมช่วยลดปั ญหา การคดโกงฉ้อฉล เอารัดเอา
เปรียบ
6. จริยธรรมช่วยเน้นให้ชดั เจนยิง่ ขึ้นในภาพพจน์ที่ของผู ้
มีจริยธรรม
7. จริยธรรมช่วยกาหนดหน้าที่พิทกั ษ์ตามกฎหมาย
สาหรับผูป้ ระกอบอาชีพ
1. ไม่เบียดเบียนลูกค้า
2. ไม่เบียดเบียนผูจ้ ดั ส่งวัตถุดิบ
3. ไม่เบียดเบียนพนักงาน
4. ไม่เบียดเบียนผูถ้ ือหุน้
5. ไม่เบียดเบียนผูร้ ว่ มงาน
6. ไม่เบียดเบียนผูใ้ ห้กูย้ ืม
7. ไม่เบียดเบียนคู่แข่ง
8. ไม่เบียดเบียนราชการ
9. ไม่เบียดเบียนสังคม
10. ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม
1. จริยธรรมก่ อให้ เกิดความเชื่อถือ
2. จริยธรรมก่ อให้ เกิดการทุ่มเท
3. จริยธรรมก่ อให้ เกิดภาพลักษณ์ ทดี่ ี
4. จริยธรรมก่ อให้ เกิดการลดหย่ อนทางกฎหมาย
5. จริ ย ธรรมก่ อ ให้ เ กิ ด การท างานอย่ า งมี ค วามสุ ข ทั้ ง
ผู้บริหารและพนักงาน
พ่ อค้ า ผู้มีอาชี พทางการค้ า บุคคลหรือองค์ กรใด ๆ ที่
ดาเนินการผลิตสิ นค้ าหรื อบริ การตามความต้ องการของ
ผู้บริโภคในการลงทุนในรู ปแบบกาไร
1. ประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี และหมั่นประกอบกรรมดีต่อสั งคม
2. พึงสั งวรอยู่เสมอในความรับผิดชอบต่ อสั งคม
3. ตระหนักความรั บผิดชอบ และหน้ าที่ที่ต้องปฏิบัติต ามตัวบท
กฎหมายของแผ่ นดิน
4. ดารงไว้ซึ่งชื่อเสี ยงและยึดถือกฎข้ อบังคับของสมาคมการจัดการ
ธุรกิจแห่ งประเทศไทย
5. ปฏิบัติให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ ของกิจการ
6. ตระหนักถึงศักดิ์ศรี ความเสมอภาคของทุกกลุ่มและบุคคลพึงละ
เว้นการปฏิบัติที่มีอคติ
สมาคมการจั ด การธุ ร กิจ แห่ ง ประเทศไทย ได้ ส รุ ป
บทบัญญัติ จรรยาบรรณของนักธุรกิจโดยมีวัตถุประสงค์
เพือ่ ใช้ เป็ นแนวทางในการปฏิบัตงิ านเป็ นมาตรฐานดังนี้
1. ข้ อบัญญัติเกีย่ วกับการจัดการทัว่ ไปและองค์ การธุรกิจ
2. ข้ อบัญญัตเิ กีย่ วกับบุคคลในองค์ การธุรกิจ
3. ข้ อบัญญัตเิ กีย่ วกับผู้จาหน่ าย ผู้ซื้อ คู่แข่ งขันและรัฐ
4. ข้ อบัญญัติเกีย่ วกับสภาวะแวดล้ อม
นักธุรกิจจึงพึงปฏิบัติต่อลูกค้ า ดังนี้
1.1 พึงขายสิ นค้ าและบริการในราคายุติธรรม
1.2 พึงขายสิ นค้ าและบริการให้ ถูกต้ อง
1.3 พึงดูแลและให้ บริการแก่ ลูกค้ าทุกคนอย่ างเท่ าเทียมกัน
1.4 พึงละเว้ นการกระทาใด ๆ ที่ควบคุมการตัดสิ นใจของลูกค้ า
1.5 พึงละเว้นการกระทา ใด ๆ เพือ่ ให้ บริการสิ นค้ ามีราคาสู งขึน้
โดยไม่ มี เหตุผล เช่ น การกักตุนสิ นค้ า
1.6 พึงปฏิบัติต่อลูกค้ าและให้ บริการอย่ างมีนา้ ใจไมตรี
กำรแข่งขันเป็ นกำรสร้ำงสรรค์ มิใช่เพื่อทำลำยล้ำงซึ่ งกันและกัน
พึงละเว้ นจากการกลั่นแกล้ ง ให้ร้ำยป้ ำยสี ทบั ถมไม่ว่ำโดย
ทำงอ้อมหรื อด้วยกำรข่มขู่และกี ดกันอันทำให้คู่แข่งเสี ยโอกำส
อย่ำงไม่เป็ นธรรม เช่น กำรขำยตัดรำคำ กำรทุ่มเทสิ นค้ำเข้ำตลำด
พึงให้ ความร่ วมมือในการแข่ งขัน เพื่อสร้ำงสภำวะตลอดที่ดี
เช่ น กำรให้ข ้อ มู ล เกี่ ย วกับ ตัว สิ น ค้ำ หรื อ สร้ ำ งสรรค์สิ น ค้ำ หรื อ
บริ กำรใหม่ ๆ
หน่วยรำชกำร เป็ นหน่วยของสังคม ต้องอยูภ่ ำยใต้กฎ
บัง คับ ของกฎหมำย นัก ธุ ร กิ จเองก็ม ัก มี ปั ญ หำเสมอ ไม่
เข้ำใจหลักกำรและเหตุผลของรัฐ รำชกำรก็ใช้หลักธรรม
ของจริ ยธรรม ไม่เกิดควำมเดือนร้อนต่อนักธุรกิจ
4.1 กำรให้ค่ำจ้ำงและผลตอบแทนที่เหมำะสมกับ
ควำมสำมำรถ
4.2 พึงเอำใจใส่ ในสวัสดิกำร สถำนที่ทำงำน มีควำมปลอดภัย
4.3 พึงพึงพัฒนำ และให้ควำมรู ้เพื่อเพิ่มควำมชำนำญ
4.4 พึงให้ควำมยุติธรรม
4.5 พึงศึกษำและทำควำมเข้ำใจ
4.6 พึงเคำรพสิ ทธิส่วนบุคคล
4.7 พึงให้ควำมเชื่อถือไว้วำงใจ
4.8 พึงให้คำแนะนำปรึ กษำ
4.9 พึงสนับสนุน ให้พนักงำนได้ประพฤติเป็ นพลเมืองดี
สังคมเกิ ดมำจำกกำรที่ มีคนมำอยู่รวมกัน โดยที่ แต่ละ
คนมีหน้ำที่สิทธิ และเสรี ภำพในฐำนะที่เป็ นพลเมื องเท่ำเทียม
กัน ตำมกฎหมำย เนื่ อ งจำกคนในสัง คมและบุ ค คลมี ค วำม
แตกต่ำงกัน โดยสถำนะ อำชี พ ศำสนำ เชื้ อชำติ โดยมีหลัก
ปฏิบตั ิดงั ต่อไปนี้
5.1 พึงละเว้นกำรประกอบธุรกิจที่ทำให้สงั คมเสื่ อม
5.2 พึงละเว้นกำรประกอบธุรกิจที่ทำลำยทรัพยำกรธรรมชำติ
5.3 พึงดูแลเอำใส่ กำรประกอบกิจกำรของตน
5.4 พึงให้เคำรพในสิ ทธิทำงปัญญำของผูอ้ ื่น โดยไม่ ลอกเลียน
5.5 พึงให้ควำมร่ วมมือกับทุกฝ่ ำยในชุมชน
5.6 ในกำรดำเนิ นธุรกิจนักธุ รกิจพึงให้ควำมสนใจเรื่ องกำรสร้ำง
งำน
นักธุรกิจสำมำรถปฏิบตั ิตำมจริ ยธรรมดังกล่ำว ดังต่อไปนี้
พึงมีความซื่ อสั ตย์ สุจริ ตในการปฏิบัติงาน รับผิดชอบงำน
ตำมขอบเขตหน้ำ ที่ ข องตนเอง มี ค วำมขยัน หมั่น เพี ย ร มี วิ นัย
ทำงำนอย่ำงเต็มควำมสำมำรถ
พึงรั กษาและรั บผิดชอบ ในกำรใช้ทรัพย์สินนำยจ้ำงให้ได้
ประโยชน์อย่ำงเต็มที่และดูแลรักษำไม่ให้เสื่ อมเสี ยหรื อสูญเสี ย
พึงระมั ดระวังการประพฤติปฏิบัติที่ขัดต่ อผลประโยชน์
ของนายจ้ าง เช่น กำรทำธุรกิจแข่งขัน
1. ก่ อให้ เกิดความเป็ นธรรมต่ อตนเองและผู้อื่น ซึ่ งจะสามารถ
ขจัดข้ อขัดแย้ งในหน่ วยงานได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
2. ก่ อ ให้ เ กิ ด ภาพพจน์ ที่ ต่ อ สั ง คม เป็ นการประชาสั ม พั น ธ์
องค์ การในเชิงบวกต่ อสาธารณชนที่พบ
3. ก่ อให้ เกิดบรรยากาศที่เหมาะสมแก่ การทางาน
4. ก่ อให้ เกิดมาตรฐานในสิ นค้ าและบริการที่ผลิตขึน้
5. ก่ อให้ เกิดความสาเร็จในองค์ กร