จริยธรรมของนักธุรกิจ ธุรกิจ หมายถึง การค้า (commerce) ขบวนการผลิตสิ นค้า (Industry) เพื่อจาหน่ายจ่ายแจกโดยสนองความต้องการของผูบ้ ริ โภคและมุ่งหวังกาไร ขบวนการผลิตสิ นค้าเริ่ มตั้งแต่งการนาวัตถุดิบมาแปรสภาพกลายเป็ นสินค้า สาเร็ จรู ป คือ วัตถุดิบ เครื่ องจักร คนงานและการจัดการผลิต เป็

Download Report

Transcript จริยธรรมของนักธุรกิจ ธุรกิจ หมายถึง การค้า (commerce) ขบวนการผลิตสิ นค้า (Industry) เพื่อจาหน่ายจ่ายแจกโดยสนองความต้องการของผูบ้ ริ โภคและมุ่งหวังกาไร ขบวนการผลิตสิ นค้าเริ่ มตั้งแต่งการนาวัตถุดิบมาแปรสภาพกลายเป็ นสินค้า สาเร็ จรู ป คือ วัตถุดิบ เครื่ องจักร คนงานและการจัดการผลิต เป็

จริยธรรมของนักธุรกิจ
ธุรกิจ หมายถึง การค้า (commerce) ขบวนการผลิตสิ นค้า (Industry)
เพื่อจาหน่ายจ่ายแจกโดยสนองความต้องการของผูบ้ ริ โภคและมุ่งหวังกาไร
ขบวนการผลิตสิ นค้าเริ่ มตั้งแต่งการนาวัตถุดิบมาแปรสภาพกลายเป็ นสินค้า
สาเร็ จรู ป คือ วัตถุดิบ เครื่ องจักร คนงานและการจัดการผลิต เป็ นต้น
นักธุรกิจหรือผู้ประกอบธุรกิจ คือพ่อค้า ผูม้ ีอาชีพทางการค้า บุคคลหรื อองค์กร
ใด ๆ ที่ดาเนินการผลิตสิ นค้าหรื อบริ การตามความต้องการของผูบ้ ริ โภคในการ
ลงทุนในรู ปแบบกาไร
จรรยาบรรณ
หมายถึง ประมวลความประพฤติ มาตรฐานคุณค่า
แห่งความดีของการการะทาอย่างหนึ่ ง หรื อประพฤติ
กรรมโดยรวมของผูป้ ระกอบอาชีพ
ความสาคัญของจรรยาบรรณ
1. จรรยาบรรณช่ วยควบคุมมาตรฐานรับประกันคุณภาพ
2. จรรยาบรรณช่ วยควบคุมจริยธรรมของผู้ประกอบอาชีพและผลิตสิ นค้ า
3. จรรยาบรรณช่ วยส่ งเสริมมาตรฐานคุณภาพและปริมาณงานทีด่ มี คี ุณค่ า
4. จรรยาบรรณช่ วยส่ งเสริมจริยธรรมของผู้ประกอบอาชีพและผู้ผลิต
5. จรรยาบรรณช่ วยลดปัญหา การคดโกงฉ้ อฉล เอารัดเอาเปรียบ
6. จรรยาบรรณช่ วยเน้ นให้ ชัดเจนยิง่ ขึน้ ในภาพพจน์ ทขี่ องผู้มจี ริยธรรม
7. จรรยาบรรณช่ วยกาหนดหน้ าทีพ่ ทิ กั ษ์ ตามกฎหมายสาหรับผู้ประกอบอาชีพ
ประโยชน์ ของจรรยาบรรณต่ อนักธุรกิจ
1. ก่ อให้ เกิดความเป็ นธรรมต่ อตนเองและผู้อนื่ ซึ่งจะสามารถขจัดข้ อขัดแย้ งใน
หน่ วยงานได้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ
2. ก่อให้ เกิดภาพพจน์ ทตี่ ่ อสั งคม เป็ นการประชาสั มพันธ์ องค์ การในเชิงบวกต่ อ
สาธารณชนทีพ่ บ
3. ก่อให้ เกิดบรรยากาศทีเ่ หมาะสมแก่การทางาน
4. ก่อให้ เกิดมาตรฐานในสิ นค้ าและบริการที่ผลิตขึน้
5. ก่อให้ เกิดความสาเร็จในองค์ การ
1.ด้ านการผลิต
1.1 ผลิตสิ นค้ าทีไ่ ม่ มคี ุณภาพออกสู่ ตลาดได้ ขนาดตามสั ดส่ วน
1.2 ผลิตสิ นไม่ ได้ มาตรฐานอุตสาหกรรม
1.3 ผลิตสิ นค้ าไม่ เสร็จตรงตามเวลา
1.4 ผลิตสิ นค้ าโดยคัดลอก
1.5 ผลิตสิ นค้ าแบบสุ กเอาเผากิน ชารุ ด ไม่ ทนทาน
1.6 ผลิตสิ นค้ าปลอมออกจาหน่ าย
2.การจัดจาหน่ าย
2.1 การจาหน่ ายสิ นค้ าแบบฉวยโอกาส
2.2 จาหน่ ายสิ นค้ าคุณภาพต่า
2.3 จาหน่ ายสิ นค้ าแบบเอารัดเอาเปรียบจนเกิน
2.4 จาหน่ ายสิ นค้ าและบริการแบบขาดความรับผิดชอบ
2.5 จาหน่ ายสิ นค้ าโดยวิธีตดั ราคาให้ ต่ากว่ าผู้อนื่
3.ด้ านการบริการ
3.1 การบริการขนส่ ง กรณีผ้ ซู ื้ออยู่ไกล
3.2 การบริหลังการขายติดตามให้ คาแนะนา
3.3 การบริการผ่อนชาระ คือ ซื้อสิ นค้ าแบบผ่อนส่ ง
3.4 บริการด้ านความปลอดภัย
3.5 การบริการด้ านข้ อมูลข่ าวสารเกีย่ วกับชนิดสิ นค้ า
4.ความซื่อสั ตย์ ในอาชีพธุรกิจ
4.1 รายงานข้ อมูลความเป็ นจริงต่ อผู้บริหาร
4.2 การฉ้ อฉลทางการเงิน
4.3 การรักษาข้ อมูลและความลับของกิจการ
4.4 การรักษาความสั มพันธ์ ทดี่ ีต่อลูกค้ า
5.ด้ านความรับผิดชอบต่ อสั งคม
5.1 ผลิตสิ นค้ าโดยทาลายสภาพแวดล้อม
5.2 การควบคุมเสี ยง
5.3 การผลิตสิ นค้ าทีม่ ีคุณภาพรับใช้ สังคม
5.4 ยกระดับชีวติ และความเป็ นอยู่ของผู้บริโภคมีฐาน
5.5 การเป็ นผู้เสี ยสละโดยช่ วยเหลือผู้ด้อยโอกาส การ
ส่ งเสริมผลักดันการทางานนั้นเอง
6. การปฏิบัตติ ามกฎหมาย
6.1 การตั้งราคาสิ นค้ า
6.2 การแข่ งขันทางการค้ า มีสาระดังนี้
6.2.1 การจูงใจกล่ าวร้ ายโจมตีคู่แข่ งขันด้ วยวิธีต่างๆ
6.2.2 ทาสิ นค้ าปลอม
6.2.3 โฆษณาชวนเชื่อแล้วไม่ รักษาคามั่นสั ญญา
6.2.4 ใช้ กลอุบายฉ้ อฉลล้ วงความลับคู่แข่ ง
6.2.5 หลอกลวงลูกค้ าให้ หลงเชื่อ
6.2.6 บีบบังคับให้ ลูกค้ าซื้อสิ นค้ าทีไ่ ม่ ต้องการ
7. ดารงรักษาความยุตธิ รรม
7.1
7.2
7.3
7.4
ความเสมอภาคในการทาธุรกิจ
สิ ทธิต่าง ๆ ทีบ่ ุคลากรเจ้ าหน้ าที่ ลูกจ้ าง พึงได้ รับความยุตธิ รรม
ความเสมอภาคในการจาหน่ าย ซื้อขายรวมทั้งการบริการลูกค้ า
สิ ทธิเสรีภาพในการรับข้ อมูลทางธุรกิจด้ านต่ าง ๆ
โดยเท่ าเทียมกัน
7.5 ความเสมอภาคในการรับค่ ายกย่องค่ าตอบแทน
8. ความเชื่อถือ
องค์ ประกอบของจรรยาบรรณด้ านความเชื่อมีดงั นี้
1. ดารงรักษาเกียรติประวัติ ทาธุรกิจมิให้ ด่างพร้ อย
2. พัฒนาปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์
3. การศึกษาและวิจัยธุรกิจ
4. ปฏิบตั ิตามคาสั ญญาตลอดจนการปฏิบัตติ ามข้ อตกลง
9. การเคารพในสิ ทธิเสรีภาพ
9.1 ความปลอดภัยในชีวติ จิตใจ ของบุคคล
ตลอดจนทรัพย์ สิน ผลกระทบต่ อลูกจ้ าง คนงาน
9.2 ความเสมอภาคและเป็ นธรรมจากการทางาน
9.3 การคุ้มครองและส่ งเสริมสุ ขภาพลามัย
9.4 การสงเคราะห์ ช่วยเหลือถือเป็ นสวัสดิการแก่ คนงาน
9.5 ให้ ความยุตธิ รรมในการรับเรื่องราวร้ องทุกข์ ปัญหาจาก
การทางาน
บทบัญญัตจิ รรยาบรรณของนักธุรกิจ
สมาคมการจัดการธุรกิจแห่ งประเทศไทย ได้ สรุปบทบัญญัติ
จรรยาบรรณของนักธุรกิจโดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ใช้ เป็ นแนวทางในการ
ปฏิบตั ิงานเป็ นมาตรฐานไว้ 5 หมวด ดังนี้
1.ข้ อบัญญัติเกีย่ วกับสั งคม
1.1 ประพฤติตนเป็ นพลเมืองดี และหมัน่ ประกอบกรรมดีต่อสังคม
1.2 พึงสังวรอยูเ่ สมอในความรับผิดชอบต่อสังคม
1.3 ตระหนักความรับผิดชอบ และหน้าที่ที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามตัวบทกฎหมายของแผ่นดิน
1.4 ดารงไว้ซ่ ึ งชื่อเสี ยงและยึดถือกฏข้อบังคับของสมาคมการจัดการธุรกิจแห่ งประเทศ
ไทย
1.5 ปฏิบตั ิให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของกิจการ
1.6 ตระหนักถึงศักดิ์ศรี ความเสมอภาคของทุกกลุ่มและบุคคลพึงละเว้นการปฏิบตั ิที่มี
อคติ
บทบัญญัตจิ รรยาบรรณของนักธุรกิจ(ต่ อ)
1. ข้อบัญญัติเกี่ยวกับการจัดการทัว่ ไปและองค์การธุรกิจ
2. ข้อบัญญัติเกี่ยวกับบุคคลในองค์การธุรกิจ
3. ข้อบัญญัติเกี่ยวกับผูจ้ าหน่าย ผูซ้ ้ื อ คู่แข่งขันและรัฐ
4. ข้อบัญญัติเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม
หลักเกณฑ์ ปฏิบัติในการดาเนินธุรกิจ 6 ประการดังต่ อไปนี้
1. นักธุรกิจ ต่ อ ลูกค้ า
นักธุรกิจจึงพึงปฏิบตั ติ ่ อลูกค้ า ดังนี้
1.1 พึงขายสิ นค้าและบริ การในราคายุติธรรม
1.2 พึงขายสิ นค้าและบริ การให้ถูกต้อง
1.3 พึงดูแลและให้บริ การแก่ลูกค้าทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน
1.4 พึงละเว้นการกระทาใด ๆ ที่ควบคุมการตัดสิ นใจของลูกค้า
1.5 พึงละเว้นการกระทา ใด ๆ เพื่อให้บริ การสิ นค้ามีราคาสู งขึ้น
โดยไม่มี เหตุผล เช่น การกักตุนสิ นค้า
1.6 พึงปฏิบตั ิต่อลูกค้าและให้บริ การอย่างมีน้ าใจไมตรี
2. นักธุรกิจ ต่ อ คู่แข่ งขัน
การแข่งขันเป็ นการสร้างสรรค์ มิใช่เพื่อทาลายล้างซึ่ งกันและกัน
พึงละเว้ นจากการกลัน่ แกล้ ง ให้ร้ายป้ ายสี ทบั ถมไม่วา่ โดยทางอ้อม
หรื อด้วยการข่มขู่และกีดกันอันทาให้คู่แข่งเสี ยโอกาสอย่างไม่เป็ นธรรม เช่น
การขายตัดราคา การทุ่มเทสิ นค้าเข้าตลาด
พึงให้ ความร่ วมมือในการแข่ งขัน เพื่อสร้างสภาวะตลอดที่ดี เช่น
การให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับตัวสิ นค้าหรื อสร้างสรรค์สินค้าหรื อบริ การใหม่ ๆ
3. นักธุรกิจ ต่ อ หน่ วยราชการ
หน่ วยราชการ เป็ นหน่วยของสังคม ต้องอยูภ่ ายใต้กฎบังคับของ
กฎหมาย นักธุรกิจเองก็มกั มีปัญหาเสมอ ไม่เข้าใจหลักการและเหตุผลของรัฐ
ราชการก็ใช้หลักธรรมของจริ ยธรรม ไม่เกิดความเดือนร้อนต่อนักธุรกิจ
4. นักธุรกิจ ต่ อ พนักงาน
4.1 การให้ค่าจ้างและผลตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถ
4.2 พึงเอาใจใส่ ในสวัสดิการ สถานที่ทางาน มีความปลอดภัย
4.3 พึงพึงพัฒนา และให้ความรู ้เพื่อเพิม่ ความชานาญ
4.4 พึงให้ความยุติธรรม
4.5 พึงศึกษาและทาความเข้าใจ
4.6 พึงเคารพสิ ทธิส่วนบุคคล
4.7 พึงให้ความเชื่อถือไว้วางใจ
4.8 พึงให้คาแนะนาปรึ กษา
4.9 พึงสนับสนุน ให้พนักงานได้ประพฤติเป็ นพลเมืองดี
5. นักธุรกิจ ต่ อ สั งคม
สังคมเกิดมาจากการที่มีคนมาอยูร่ วมกัน โดยที่แต่ละคนมีหน้าที่สิทธิและ
เสรี ภาพในฐานะที่เป็ นพลเมืองเท่าเทียมกันตามกฎหมาย เนื่องจากคนในสังคม
และบุคคลมีความแตกต่างกัน โดยสถานะ อาชีพ ศาสนา เชื้อชาติ โดยมีหลัก
ปฏิบตั ิดงั ต่อไปนี้
5.1 พึงละเว้นการประกอบธุรกิจที่ทาให้สังคมเสื่ อม
5.2 พึงละเว้นการประกอบธุรกิจที่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ
5.3 พึงดูแลเอาใส่ การประกอบกิจการของตน
5.4 พึงให้เคารพในสิ ทธิ ทางปั ญญาของผูอ้ ื่น โดยไม่ ลอกเลียน
5.5 พึงให้ความร่ วมมือกับทุกฝ่ ายในชุมชน
5.6 ในการดาเนิ นธุรกิจนักธุรกิจพึงให้ความสนใจเรื่ องการสร้างงาน
6. นักธุรกิจ ต่ อ นักธุรกิจ
นักธุรกิจสามารถปฏิบตั ิตามจริ ยธรรมดังกล่าว ดังต่อไปนี้
พึงมีความซื่อสั ตย์ สุจริตในการปฏิบัติงาน รับผิดชอบงานตาม
ขอบเขตหน้าที่ของตนเอง มีความขยันหมัน่ เพียร มีวนิ ยั ทางานอย่างเต็ม
ความสามารถ
พึงรักษาและรับผิดชอบ ในการใช้ทรัพย์สินนายจ้างให้ได้ประโยชน์
อย่างเต็มที่และดูแลรักษาไม่ให้เสื่ อมเสี ยหรื อสู ญเสี ย
พึงระมัดระวังการประพฤติปฏิบัติทขี่ ัดต่ อผลประโยชน์ ของนายจ้ าง
เช่นการทาธุรกิจแข่งขัน
Move out man! Life is fleeting by.
Do something worthwhile, before you die.
Leave behind a work sublime,
that will outlive you and time.
อันชีวติ คนเรา ช่างสั้นนัก
ต้องรู ้จกั ทาประโยชน์ก่อนจะสาย
ทิ้งไว้เป็ นอนุสรณ์หลัง ความตาย
มีความหมายคงอยู่ ตลอดไป