พุทธประวัติ กลุ่ม เด็กชายกันต์ปภพ รักแก้ว ชั้นมัธยมปีที่ 3

Download Report

Transcript พุทธประวัติ กลุ่ม เด็กชายกันต์ปภพ รักแก้ว ชั้นมัธยมปีที่ 3

พุทธประวัติ-ชาดก
สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
เสนอ
อ.วรรณดี จิตต์ จนะ
จัดทาโดย
ด.ช. กันต์ ปภพ รักแก้ ว เลขที่ 3
ด.ญ.นันทิชา ชีพเมืองแมน เลขที่ 24
ด.ช. สมศักดิ์ เจียมศรี เลขที่ 11 ด.ญ.วริศรา สมศรี เลขที่ 34
ด.ญ. อนิรุต มีณรงค์ เลขที่ 13 ด.ญ. ศุภรัตน์ ยะภักดี เลขที่ 35
ด.ญ. แสงนภา วงษ์ ศรีดี เลขที่ 17 ด.ญ. อาภาวรรณ จันทาบ เลขที่ 40
ด.ญ. นลพรรณ พ่วงนาคพันธุ์ เลขที่ 23 ด.ญ. อารดา บุณเกียรติ เลขที่ 41
ด.ช.อุดมโชค กลิน่ ระรวย เลขที่ 14
นักเรียนช่ วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓/๒
พระพุทธรูปปางต่ างๆ
• ปางมารวิชัย
• ขณะที่พระบรมโพธิสตั ว์ประทับ ณ โพธิบลั ลังก์ พญามารวสวัตตีประทับบนหลังช้างคีรีเมฃล์สูง ๑๕๐ โยชน์ ยกทัพ
มาหมายจะทาลายความเพียรของพระองค์ พญามารเนรมิตร่ างสูงใหญ่มีมือนับพันถือศัสตราวุธพร้อม นาเหล่าเสนา
มารมากมายมืดฟ้ ามัวดิน เหล่าเทวดาทั้งหลายหนีไปหมด แต่พระบรมโพธิสตั ว์มิได้หวาดกลัว พวกมารซัดศัสตราวุธ
เข้าใส่พระบรมโพธิสตั ว์ แต่ศสั ตราวุธเหล่านั้นกลายเป็ นบุปผามาลัยไปสิ้น พญามารยังกล่าวทึกทักว่า รัตนบัลลังก์
เป็ นของตน พระบรมโพธิสตั ว์ ทรงกล่าวว่า รัตนบัลลังก์น้ ีเกิดมาด้วยบุญที่พระองค์สงั่ สมมาแต่ปางก่อน โดยอาศัย
แม่พระธรณี เป็ นพยาน แม่พระธรณี ได้ปล่อยมวยผมบีบน้ า กรวดอุทิศผลบุญจากการทาทานของพระบรมโพธิสตั ว์
ให้ไหลพัดพาเหล่ามารไปจนสิ้น
ปางห้ ามสมุทร
• ครั้งหนึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จไปประกาศพระศาสนายังตาบลอุรุเวลาเสนานิคม ทรงขอ
ประทับอยูใ่ นสานักของอุรุเวลกัสสปะ ผูเ้ ป็ นหัวหน้าชฎิลซึ่ งเป็ นที่เลื่อมใสของมหาชนในแคว้น
มคธ ทรงแสดงอิทธิปาฏิหาริ ยน์ านับประการเพื่อให้อุรุเวลกัสสปะคลายความพยศลง พระองค์
ทรงทาปาฏิหาริ ยห์ า้ มน้ าที่ไหลบ่ามาจากทุกสารทิศมิให้เข้ามาในที่ประทับ และเสด็จจงกลม
ภายในวงล้อมที่มีน้ าเป็ นกาแพง เหล่าชฎิลพายเรื อมาดู เห็นเป็ นอัศจรรย์ จึงยอมรับในพุทธานุ
ภาพ และขออุปสมบทเป็ นพระภิกษุ
ปางสมาธิหรือปางตรัสรู้
• หลังจากที่พระบรมโพธิสตั ว์มีชยั ชนะเหนือพญามารแล้ว ทรงบาเพ็ญสมาธิต่อไป เมื่อจิตตั้งมัน่ บริ สุทธิ์ผ่องใส
ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ในปฐมยามทรงบรรลุปุพพเนิวาสานุสติญาณ คือ ระลึกชาติได้หลายชาติไม่มีที่สิ้นสุด
ในมัชฉิมยามทรงบรรลุจุตูปปาตญาณ คือ สามารถหยัง่ รู้การเวียนว่ายตายเกิดของสรรพสัตว์วา่ สัตว์ท้งั หลายเกิด
มาแล้วตายไป ประสบสุขและทุกข์ตามกรรมที่ทาไว้ และในปัจฉิมยามพระองค์ทรงบรรลุอากาสวักขยญาณ ทรงทา
อาสวกิเลสทั้งหลายให้ดบั สิ้นไป จนได้บรรลุอนุตรสัมาสัมโพธิญาณ ตรัสรู้เป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในเวลารุ่ ง
อรุ โณทัย ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๖ หรื อขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๖ (วันวิสาขบูชา) สถานที่ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ปัจจุบนั อยูใ่ นตาบลพุทธคยา ประเทศอินเดีย
ปางห้ ามญาติ
• ครั้งหนึ่งเหล่ากษัตริ ยศ์ ากยวงศ์ พระญาติฝ่ายพุทธบิดา และเหล่ากษัตริ ยโ์ กลิยวงศ์ พระญาติฝ่าย
พุทธมารดา ทะเลาะวิวาทกันเพราะเรื่ องแย่งน้ าในแม่น้ าโรหิ ณีเนื่องจากฝนแล้ง น้ าไม่เพียงพอ
การทะเลาะวิวาทลุกลามไป จนเกือบกลายเป็ นศึกใหญ่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงทราบเหตุดว้ ย
พระญาณ จึงเสด็จไปห้ามสงคราม โดยตรัสให้เห็นถึงความไม่สมควรที่กษัตริ ยต์ อ้ งมาฆ่าฟั นกัน
ด้วยสาเหตุเพียงแค่การแย่งน้ าเข้านา และตรัสเตือนสติวา่ ระหว่างน้ ากับความเป็ นพี่นอ้ ง อะไร
สาคัญยิง่ กว่ากัน ทั้งสองฝ่ ายจึงได้สติ คืนดีกนั และขอพระราชทานอภัยโทษต่อเบื้องพระพักตร์
พระพุทธองค์
ปางถวายเนตร
• หลังจากที่พระบรมโพธิสตั ว์ได้บรรลุอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ตรัสรู้เป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
แล้ว ได้ประทับเสวยวิมุดติสุข (สุ ขที่เกิดจากความหลุดพ้น) ณ ใต้ตน้ พระศรี มหาโพธิ์ ๗ วัน
จากนั้นเสด็จไปทรงยืนอยูก่ ลางแจ้ง ทางทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือของต้นพระศรี มหาโพธิ์ ทรงทา
อุปหาร คือ ยืนทอดพระเนตรต้นศรี มหาโพธิ์ สถานที่เสด็จมาทรงยืนทอดพระเนตรต้นพระศรี
มหาโพธิ์น้ นั ได้นามว่า "อนิมิสเจดียสถาน"
ปางราพึง
• ขณะที่ประทับเสวยวิมุตติสุขอยูใ่ ต้ตน้ ไทร พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงพิจารณาเห็นว่า บุคคลในโลกนี้เปรี ยบเสมือน
บัว ๔ เหล่า ดังนี้ คือ ( ๑ ) อุคฆฏิตญั ญู คือ พวกที่สติปัญญาดี เมื่อฟังธรรมก็สามารถเข้าใจได้รวดเร็ว เสมือนดอกบัว
ที่อยูพ่ น้ น้ า เมื่อต้องแสงอาทิตย์กเ็ บ่งบานทันที ( ๒ ) วิปจิตญั ญู คือ พวกที่มีสติปัญญาปานกลาง เมื่อฟังธรรมแล้ว
พิจารณาตาม ฝึ กฝนเพิ่มเติมจะเข้าใจได้ในเวลาอันไม่ชา้ เสมือนดอกบัวที่ปริ่ มน้ าซึ่งจะบานในวันถัดไป ( ๓ ) เนยยะ
คือ พวกที่สติปัญญาน้อย เมื่อฟังธรรมแล้วพิจารณาตามและ ฝึ กฝนอยูเ่ สมอ มีความขยันหมัน่ เพียรไม่ยอ่ ท้อในที่สุดก็
จะสามารถเข้าใจได้ เสมือนดอกบัวใต้น้ าซึ่งจะโผล่ข้ ึนเบ่งบานในวันหนึ่ง ( ๔ ) ปทปรมะ คือ พวกไร้สติปัญญา แม้
ได้ฟังธรรม ก็ไม่อาจเข้าใจ เปรี ยบเสมือนบัวที่จมอยูก่ บั โคลนตม
ปางอุ้มบาตร
• หลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้แสดงเวสสันดรชาดกแล้ว พระประยูรญาติต่างถวายนมัสการ
ทูลลากลับสู่พระราชสถาน แต่ไม่มีใครทูลนิมนต์พระพุทธองค์ให้รับภัตตาหารเช้าเลย โดยเข้าใจ
เอาเองว่า คงเสด็จไปเสวยภัตตาหารในพระราชนิเวศน์ ครั้นถึงรุ่ งเช้า พระพุทธองค์ทรงทราบด้วย
พระญาณว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในปางก่อนเมื่อเสด็จมาประทับ ณ พระนครของพุทธบิดา ได้
เสด็จบิณฑบาตเพื่อโปรดมหาชน พระพุทธองค์จึงเสด็จออกบิณฑบาตตามพุทธประเพณี
โคนันทิวสิ าล
•
•
•
ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าประทับอยูว่ นั เชตวัน เมือง
สาวัตถี ทรงปรารภการพูดเสี ยดแทงให้เจ็บใจของ
พวกภิกษุฉพั พัคคีย ์ ได้ตรัสอดีตนิทานมาสาธก ว่า...
กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ในสมัยของพระเจ้าคันธา
ระครองเมืองตักกศิลา แคว้นคันธาระ พระโพธิสตั ว์
เกิดเป็ นโคนามว่า นันทิวิสาล เป็ นโคมีรูปร่ าง
สวยงาม มีพละกาลังมาก มีพราหมณ์คนหนึ่งได้เลี้ยง
และรักโคนั้นเหมือนลูกชาย โคนั้นคิดจะตอบแทน
บุญคุณการเลี้ยงดูของพราหมณ์ในวันหนึ่ง ได้พดู กะ
พราหมณ์วา่
"พ่อ จงไปท้าพนันกับโควินทกเศรษฐีวา่ โคของ
เราสามารถลากเกวียนหนึ่งร้อยเล่ม ที่ผกู ติดกันให้
เคลื่อนไหวได้ พนันด้วยเงินหนึ่งพันกหาปณะเถิด"
พราหมณ์ได้ไปที่บา้ นเศรษฐีและตกลงกันตามนั้น
นัดเดิมพันกันในวันรุ่ งขึ้น ในวันเดิมพัน พราหมณ์
ได้เทียมโคนันทิวิสาลเข้าที่เกวียนเล่มแรก เพื่อลาก
เกวียนหนึ่งร้อยเล่มผูกติดกันซึ่งบรรทุกทราย กรวด
และหิ นเต็มลา แล้วขึ้นไปนัง่ บนเกวียน
โคนันทิวสิ าล
• "ไอ้โคโกง โคโง่ เจ้าจงลากเกวียนไปเดี๋ยวนี้"
• ฝ่ ายโคนันทิวสิ าลเมื่อได้ยนิ พราหมณ์พดู เช่นนั้น ก็คิดน้อยใจว่า
"พราหมณ์เรี ยกเราผูไ้ ม่โกง ว่าโกง ผูไ้ ม่โง่ ว่าโง่"
• จึงยืนนิ่งไม่เคลื่อนไหว โควินทกเศรษฐีจึงเรี ยกให้พราหมณ์นาเงินหนึ่งพันกหาปณะมาให้แล้ว
กลับบ้านไปฝ่ ายพราหมณ์ผแู ้ พ้พนันเงินหนึ่งพันกหาปณะ ปลดโคแล้วก็เข้าไปนอนเศร้าโศก
เสี ยใจอยูใ่ นบ้าน ส่ วนโคนันทิวสิ าลเห็นพราหมณ์เศร้าโศกเสี ยใจเช่นนั้น จึงเข้าไปปลอบและ
กล่าวว่า
"พ่อ ฉันอยูใ่ นเรื อนของท่านตลอดมา เคยทาภาชนะอะไรแตกไหม เคยเหยียบใครๆ เคยถ่าย
อุจจาระ ปั สสาวะในที่อนั ไม่ควรหรื อไม่ เพราะเหตุใด ท่านจึงเรี ยกเราว่า โคโกง โคโง่ ครั้งนี้เป็ น
ความผิดของท่านเอง ไม่ใช่ความผิดของฉัน บัดนี้ ขอให้ท่านไปเดิมพันกับโควินทกเศรษฐีใหม่
ด้วยเงินสองพันกหาปณะ ขออย่างเดียว ท่านอย่าได้เรี ยกฉันว่า โคโกง โคโง่ ท่านจะได้ทรัพย์
ตามที่ท่านปรารถนา ฉันจะไม่ทาให้ท่านเศร้าเสี ยใจ"
โคนันทิวสิ าล
• พราหมณ์ได้ทาตามที่โคนันทิวสิ าลบอก ในวันเดิมพัน พราหมณ์จึงพูดหวานว่า
"นันทิวสิ าลลูกรัก เจ้าจงลากเกวียนทั้งร้อยเล่มนี้ไปเถิด"
• โคนันทวิสาลได้ลากเกวียนร้อยเล่มที่ผกู ติดกัน ด้วยการออกแรงลากเพียงครั้งเดียวเท่านั้น ทาให้
เกวียนเล่มสุ ดท้ายไปตั้งอยูท่ ี่เกวียนเล่มแรกอยู่ ทาให้พราหมณ์ชนะพนัน ด้วยเงินสองพัน
กหาปณะพระพุทธองค์เมื่อนาอดีตนิทานมาสาธกแล้วตรัสว่า
"ภิกษุท้งั หลาย ชื่อว่า คาหยาบ ไม่เป็ นที่ชอบใจของใครๆ แม้กระทัง่ สัตว์เดียรัจฉาน"
• แล้วได้ตรัสพระคาถาว่า
"บุคคลควรพูดแต่คาที่น่าพอใจเท่านั้น ไม่ควรพูดคาที่ไม่น่าพอใจในกาลใดๆ เมื่อพราหมณ์
พูดคาที่น่าพอใจ โคนันทิวสิ าลได้ลากสัมภาระอันหนักได้ ทั้งยังทาให้หราหมณ์ผนู ้ ้ นั ได้ทรัพย์อีก
ด้วย ส่ วนตนเองก็เป็ นผูป้ ลื้มใจ เพราะการช่วยเหลือนั้นด้วย“
• นิทานเรื่องนีส้ อนให้ รู้ว่า พูดดีเป็ นศรีแก่ ปาก พูดมากปากมีสี
ปฐมเทศนา
• ปฐมเทศนา พระพุทธองค์ทรงนึกถึงบัวพ้นน้ าเป็ น
กลุ่มแรกที่พระองค์จะแสดงธรรม
จึงเสด็จไปโปรดปัญจวัคคีย ์ ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
และได้แสดงธรรมเทศนากัณฑ์แรก คือ “ธัมมจัก
กัปปวัตตนสูตร” ในวันเพ็ญ เดือน ๘ คือวันอาสาฬห
บูรณมี ท่านโกณฑัญญะ ก็ได้ “ธรรมจักษุ” คือ
ดวงตาเห็นธรรม พระพุทธองค์ถึงกับเปล่งวาจา
“อัญญาสิ ๆ วตโกณฑัญโญ” แปลว่า “โกณฑัญญะ
ได้รู้แล้ว ๆ ” ท่านโกณฑัญญะ จึงได้สมญา “อัญญา
โกณฑัญญะ” และได้ทรงพระกรุ ณารับท่านมาบวช
โดยกล่าวว่า “ ท่านจงมาเป็ นภิกษุเถิด ธรรมอันเรา
กล่าวดีแล้ว ท่านจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทาที่สุด
ทุกข์โดยชอบเถิด” การอุปสมบทแบบนี้เรี ยกว่า
“เอหิ ภิกขุอุปสัมปทา”
โอวาทปาฏิโมกข์
• โอวาทปาฎิโมกข์ แปลว่า โอวาท คาสัง่ สอน
คาแนะนาที่เป็ นหลักเป็ นประธาน
• โอวาทปาฏิโมกข์ หมายถึง คาสอนสาหรับยึดถือเป็ น
หลักปฏิบตั ิเป็ นแนวเดียวกันจัดเป็ น “หลักการใหญ่ ”
หรื อหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็ นแนวคาสอนที่
พระพุทธเจ้าประทานให้แก่พระสาวกสาหรับไป
ประกาศศาสนา ถือว่าเป็ น “ตัวศาสนา” ก็ได้
• โอวาทปาฏิโมกข์ มี ๓ ข้อ คือ
• ๑. การไม่ ทาบาปทั้งปวง หมายถึงการประพฤติงดเว้น
จากทุกจริ ต จากบาปกรรมทุกอย่าง
• ๒. การยังกุศลให้ ถงึ พร้ อม หมายถึงการประพฤติ
สุจริ ต ประกอบกรรมดีให้พร้อมมูล
• ๓. การทาใจของตนให้ ผ่องใส หมายถึง ทาใจให้หมด
จดให้ปลอดจากกิเลสที่ทาให้ใจเศร้าหมองมี โลภ
โกรธ หลง เป็ นต้น