ปรัชญาเบื้องต้น

Download Report

Transcript ปรัชญาเบื้องต้น

ปรัชญาเบือ้ งต้ น
อ้างอิง: กีรติ บุญเจือ, ชุดปรัชญาและศาสนาเซนต์จอห์น
เล่มห้า
โยสไตน์ กอร์เดอร์ , สายพิณ ศุพทุ ธมงคล แปล, โลกของ
โซฟี , โครงการจัดพิมพ์คบไฟ
เพื่อดูภาพยนตร์เรื่ องนี้ เข้า google หรื อ youtube
แล้วพิมพ์ Sophie’s world
1
ปรัชญา
•
•
•
•
•
•
•
Philo แปลว่าความรัก
Sophia แปลว่าความปราดเปรื่ อง
Philosophy แปลว่าความอยากรู ้ อยากเรี ยน อยากฉลาด
ชญา แปลว่า รู ้ เข้าใจ
ปร + ชญา แปลว่าความรอบรู ้
เรี ยนปรัชญาเพื่อให้รู้ปัญหาที่ยงั แก้ไม่ตก
จงยกปั ญหาที่ยงั แก้ไม่ตก
2
เนือ้ หาของวิชาปรัชญา
• อภิปรัชญา (metaphysics) พยายามค้นคว้าว่าความเป็ นจริงคือ
อะไร
• ญาณวิทยา (epistemology) พยายามตอบคาถามว่าเรารู้ความ
เป็ นจริ งได้อย่างไร
• ตรรกวิทยา (logic) ช่วยให้รู้กฎเกณฑ์ของความคิด เพื่อนาไป
คิดปั ญหาปรัชญา
• จริ ยศาสตร์ (ethics) คือวิชาว่าด้วยความประพฤติ พยายามตอบ
คาถามว่าความดีคืออะไร
3
กระบวนทัศน์
• กระบวนทัศน์ (paradign) แปลว่า ชุดของทฤษฎี ชุดของ
แนวคิด ค่านิยม การรับรู้ และการปฏิบตั ิ ที่คนกลุ่มหนึ่ง
ในยุคสมัยหนึ่งมีร่วมกัน และได้ก่อตัวเป็ นแบบแผน
ความคิดเกี่ยวกับความเป็ นจริ งของคนกลุ่มนั้น
• ประวัติความคิดเชิงปรัชญาของมนุษย์ อาจสรุ ปได้เป็ น
กระบวนทัศน์ความคิดของมนุษย์
4
5 กระบวนทัศน์ ความคิดของมนุษย์
1. กระบวนทัศน์ ดกึ ดาบรรพ์ มองว่าโลกไม่มีกฎ และอะไรก็ไม่มี
กฎ ทุกอย่างเป็ นไปตามน้ าพระทัยของเบื้องบน แต่น้ าพระทัย
ของเบื้องบนเองก็ไม่มีกฎ ผูถ้ ือกระบวนทัศน์แบบนี้หากมีคมั ภีร์
อ่านก็คงตีความตามตัวอักษร เฉพาะประโยค และเฉพาะตอน ซึ่ง
เบื้องบนอาจจะเปลี่ยนแปลงข้อความในคัมภีร์ได้ตามน้ าพระทัย
ความหมายขัดแย้งไม่ถือว่าสาคัญสาหรับมนุษย์ดึกดาบรรพ์
เพราะมนุษย์ดึกดาบรรพ์จะเพ่งเล็งเฉพาะหน้าเท่านั้น ข้อความ
บางข้อความอาจจะมีมนต์ขลัง เป็ นคาถาอาคมเฉพาะหน้าจนกว่า
จะเสื่ อมมนต์ขลัง ถ้าไม่มีคมั ภีร์กถ็ ือเรื่ องผี หรื อจิตวิญญาณ
5
5 กระบวนทัศน์ ความคิดของมนุษย์
2. กระบวนทัศน์ โบราณ มองว่าเอกภพมีกฎตายตัว กฎทุกกฎของ
เอกภพเป็ นกฎนิรันดร จึงตายตัว แต่ยงั ไม่รู้วธิ ี การ
วิทยาศาสตร์ จึงไม่มีใครกล้ายืนยันว่า ใคร ๆ ก็สามารถเข้าถึง
กฎของเอกภพได้ดว้ ยตนเอง ในช่วงนี้จึงมีเจ้าสานักเกิดขึ้น
ราวกับดอกเห็ด ใครอยากได้ความจริ งต้องยึดเจ้าสานักที่ตน
พอใจเป็ นหลัก และหันหลังให้เจ้าสานักอื่น ๆ ทั้งหมด
ผูถ้ ือกระบวนทัศน์แบบนี้ หากมีคมั ภีร์ให้ตีความ ก็จะยึด
หลักการตีความของเจ้าสานักเป็ นหลัก และปฏิเสธการตีความ
ของสานักอื่นทั้งหมด ใครเป็ นศิษย์หลายสานักถือว่าเลวมาก
ถูกตาหนิวา่ เหยียบเรื อสองแคม ชายหลายโบสถ์ คบไม่ได้
6
5 กระบวนทัศน์ ความคิดของมนุษย์
3. กระบวนทัศน์ ยุคกลาง มองว่าเอกภพมีกฎตายตัวก็จริ ง แต่ให้
เพียงความสุ ขเจือความทุกข์ จึงเชื่อตามศาสดาที่ยนื ยันว่า
ความสุ ขในโลกหน้าเท่านั้นที่เที่ยงแท้ถาวร และยินดีทาทุก
อย่างเพื่อได้ความสุ ขในโลกหน้าตามที่ศาสดาสอน
ผูถ้ ือกระบวนทัศน์แบบนี้ หากมีคมั ภีร์ให้ตีความ ก็จะตีความ
ให้เข้าล็อคดังกล่าว มิฉะนั้นก็ไม่สนใจ และถือว่าเป็ นประเด็น
ย่อยส่ งเสริ มประเด็นหลัก ถ้ามองไม่เห็นก็ทิ้งไว้กอ่ นจนกว่าจะ
เห็น
7
5 กระบวนทัศน์ ความคิดของมนุษย์
4. กระบวนทัศน์ นวยุค มองว่าเอกภพมีกฎประสานกันเป็ นระบบ
เครื อข่ายที่รู้ได้ดว้ ยวิธีการวิทยาศาสตร์และเหตุผล
ผูถ้ ือกระบวนทัศน์แบบนี้ หากมีคมั ภีร์ตอ้ งตีความ ก็จะตีความให้
สอดคล้องกับการค้นพบของนักวิทยาศาสตร์ เป็ นส่ วนหนึ่งของ
ระบบเครื อข่ายของความจริ ง หากเรื่ องใดตีความให้สอดคล้อง
กับวิทยาศาสตร์ไม่ได้จริ ง ๆ ก็จะอธิบายว่าเป็ นเรื่ องที่พระเจ้า
แทรกไว้ในคัมภีร์เพื่อทดลองความเชื่อ ความวางใจ และความรัก
ของผูม้ ีศรัทธาในพระองค์ เพื่อเป็ นมาตรการคัดสรรมิให้ผขู้ ้ ึน
สวรรค์มีมากนัก
8
5 กระบวนทัศน์ ความคิดของมนุษย์
5. กระบวนทัศน์ หลังนวยุค มองว่าเอกภพมีกฎเป็ นระบบเครื อข่ายที่
ประกอบด้วยปมข่าย ใยข่าย และตาข่าย
- ปมข่าย (netpoint) รู้ได้ดว้ ยวิธีการวิทยาศาสตร์
- ใยข่าย (netline) รู้ได้ดว้ ยกฎตรรกะและกฎคณิ ตศาสตร์
- ตาข่าย (neteye) รู้ได้ดว้ ยการหยัง่ รู ้ เพ่งฌาณ หรื อวิวรณ์(revelation)
ผูถ้ ือกระบวนทัศน์น้ ี หากมีคมั ภีร์ตอ้ งตีความ ก็มีแนวโน้มที่จะตีความ
แบบพหุนิยม (pluralism) ไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ ไม่สนใจเจตนาของผูเ้ ขียน
เท่ากับเจตนาขององค์การศาสนาที่เลือกเอาตัวบทนั้นมาเป็ นคัมภีร์ของ
ตน และตนเองก็มีหน้าที่เข้าใจและตีความให้ได้คุณภาพชีวติ สู งสุ ดตาม
เป้ าหมายของศาสนาโดยรวม คือ การพัฒนาคุณภาพชีวติ อย่างดีที่สุด อีก
ทั้งยึดถือนโยบาย Reread all, Reject none
9
กระบวนทัศน์ ทบั ซ้ อน
• ความคิดของสังคมไทยประกอบไปด้วย กระบวนทัศน์ซ่ ึง
ผสมผสานกันบ้าง ขัดแย้งกันบ้าง กล่าวคือมีกระบวนทัศน์ดึกดา
บรรพ์ที่ถือผีถือโชคลาง กระบวนทัศน์ที่เชื่อว่ามีกฎเกณฑ์ทาง
โลก และที่เชื่อในกฎเกณฑ์ทางธรรม กระบวนทัศน์วทิ ยาศาสตร์
และกระบวนทัศน์พหุนิยมตามหลักกาลามสูตรก็ปนเปกันไป
• ความไม่ลงตัวเท่าที่ควรทางกระบวนทัศน์ทาให้สงั คมไทยเป็ น
สังคมหลวม ๆ หลายมาตรฐาน
• ความขัดแย้งในเรื่ องความคิดความเชื่อ ทาให้ระบบการเมืองการ
ปกครองขาดเสถียรภาพ สังคมขาดสันติธรรม
10
คาถามมูลฐาน
•
•
•
•
•
•
ทุกอย่างที่มีอยูต่ อ้ งมีจุดเริ่ มต้นหรื อไม่
โลกมาจากไหน
พระเจ้ามีจริ งไหม
มนุษย์คืออะไร
เราคือใคร เกิดมาทาไม มีอะไรเป็ นเป้ าหมายหรื อไม่
มีชีวติ หลังความตายหรื อไม่
11
ตานานทวยเทพ
• อะไรคือความหมายของตานานทวยเทพ
• ตานานทวยเทพอิงปรากฏการณ์ธรรมชาติหรื ออิงจินตนาการ
ของมนุษย์
• การเชื่อตานานเป็ นเพราะมนุษย์ในบุพกาลเชื่อว่าทวยเทพจัด
ระเบียบโลก หรื อเชื่อว่าโลกไร้ระเบียบ (คล้ายกลีภพ)
• ทาไมมนูษย์ในบุพกาลจึงประกอบพิธีกรรมโดยอิงตานาน
• ถ้าไม่พ่ งึ พิงตานาน จะใช้อะไรดีในการอธิบายกระบวนการ
ธรรมชาติ
12
นักปรัชญาธรรมชาติ
• ถ้าสรรพสิ่ งไม่อาจเกิดจากความว่างเปล่า บางอย่างเปลีย่ นจาก
ธาตุมาเป็ นสิ่ งมีชีวติ ได้อย่างไร
• อะไรคือปฐมธาตุที่เป็ นต้นกาเนิดของสรรพสิ่ ง
• ไม่มีอะไรที่สามารถเปลี่ยนเป็ นอย่างอื่นได้ หรื อทุกอย่างเลื่อน
ไหลเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา
• จริ งหรื อที่ทุกอย่างมีอยูใ่ นส่ วนเล็ก ๆ ทุกส่ วน
• จริ งหรื อที่ธรรมชาติประกอบด้วยอะตอมนานาชนิด ที่คงอยู่
ตลอดไปและไม่อาจแยกย่อยลงไปได้อีก
13
นักปรัชญาเหตุผลนิยมรุ่นแรก
• มโนธรรมที่คอยบอกว่าอะไรคือสิ่ งถูกมีจริ งไหม
• จริ งหรื อไม่วา่ ผูท้ ี่รู้วา่ อะไรคือสิ่ งที่ดียอ่ มทาในสิ่ งที่ดี
• อะไรคือความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งที่เที่ยงแท้ไม่เปลี่ยนแปลงกับ
สิ่ งที่เลื่อนไหล
• ความจริ ง ความงาม ความดีที่เที่ยงแท้มีอยูไ่ หม
• รู ปแบบที่เที่ยงแท้มีอยูไ่ หม
14
รัฐของเพลโต
ร่ างกาย
หัว
อก
ท้อง
วิญญาณ
เหตุผล
เจตนา
ความอยาก
คุณธรรม
ปัญญา
ความกล้า
ความพอดี
รัฐ
ผูป้ กครอง
ทหาร
ผูใ้ ช้แรงงาน
รัฐที่ดีข้ ึนอยูก่ บั การปกครองด้วยเหตุผล
รัฐดีรองลงมาปกครองด้วยกฎหมาย
15
คาถามของอริสโตเติล
•
•
•
•
อะไรมาก่อน ไก่ หรื อรู ปแบบของไก่
ต้นไม้ สัตว์ และคนแตกต่างกันอย่างไร
ทาไมฝนจึงตก
ทาอย่างไรจึงจะมีชีวติ ที่ดี
16
Causa Efficiens-Materialis-FormalisFinalis and War & Peace
Aristotle Four
War
Peace
Causa Efficiens
สัมฤทธิปัจจัย
Intention :
Unsolved
Contradiction
Peace-Making
Transformed
Contradiction
Causa materialis
วัตถุปัจจัย
Capability :
Arms and army
Peace-keeping
Nonviolent peace
forces
17
Causa Efficiens-Materialis-FormalisFinalis and War & Peace
Aristotle Four
Causa
formalis
รูปแบบปั จจัย
War
Rules ad bellum ;
Rules in bello ;
Deep culture DMA ;
Deep structure of
hierarchy
Peace
Rules of conviviality ;
Rules of mediationconciliation ;
Deep culture of peace ;
Deep structure of
equiarchy
18
Causa Efficiens-Materialis-FormalisFinalis and War & Peace
Aristotle Four
Causa finalis
สาเหตุสุดท้าย
War
Victory
By winning
Peace
Peace-building
By transcending
19
สองวัฒนธรรม
• ยุโรปมีสองวัฒนธรรมคือ
- วัฒนธรรมอินโด-ยูโรป (เน้นการมอง)
- วัฒนธรรมเซไมต์ (เน้นการฟัง)
20
สามวัฒนธรรม
• ในยุคกลาง อาณาจักรโรมันค่อย ๆ แตกออกเป็ นสาม
วัฒนธรรม
- วัฒนธรรมคริ สต์แบบลาติน มีโรมเป็ นศูนย์กลาง
- วัฒนธรรมคริ สต์แบบกรี ก มีไบแซนติอุมเป็ นศูนย์กลาง
- วัฒนธรรมมุสลิม/อาหรับ ในแอฟริ กาเหนือและเอเซี ย
ตะวันออกกลาง
21
นักบุญออกัสติน/นักบุญอไควนัส
• เวลาพระเจ้าสร้างโลก พระองค์มี “รู ปแบบ” อยูใ่ นใจหรื อไม่
• พระเจ้าตัดสิ นใจได้อย่างไรว่า มนุษย์คนไหนควรรอดพ้นจากนรก
• ถ้าทุกอย่างเป็ นไปตามน้ าพระทัยของพระเจ้า มนุษย์จะมีเจตจานง
เสรี ได้อย่างไร
• จริ งหรื อที่ประวัติศาสตร์คือการต่อสู้ระหว่าง “อาณาจักรของพระ
เจ้า” และ “อาณาจักรทางโลก” และพระเจ้ากาหนดประวัติศาสตร์
ของมนุษย์ไว้หมดแล้ว
• จริ งหรื อที่หลักศรัทธาในศาสนาไม่ขดั กับหลักเหตุผล
22
ยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ
• วัฒนธรรมอะไรช่วยทาให้เกิดการฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ
• อะไรคือสิ่ งประดิษฐ์ที่ช่วยให้สงั คมยุโรปออกจากยุคกลาง
• ตลอดยุคกลางจุดเริ่ มต้นของทุกสิ่ งคือพระเจ้า จุดเริ่ มต้นเปลี่ยน
มาเป็ นอะไรในยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ
• ท่านคิดอย่างไรเกี่ยวกับคากล่าวที่วา่ “วัดทุกอย่างที่วดั ได้ และทา
ทุกอย่างที่วดั ไม่ได้ให้วดั ได้”
23
ยุคเหตุผลในฝรั่งเศส: เดส์ การ์ ต
• ท่านคิดอย่างไรกับคากล่าวที่วา่ “ฉันคิด ดังนั้นฉันจึงมีอยู”่ (หลัก
ญาณทัสนะ)
• ควรหรื อไม่ที่จะแยกปัญหาเป็ นหลายส่ วนเพื่อให้ง่ายต่อการเฉลย
(หลักการวิเคราะห์)
• ควรหรื อไม่ที่จะจัดระบบความคิดเริ่ มจากง่ายไปหาความ
ซับซ้อน (หลักนิรนัย)
• ควรหรื อไม่ที่จะทบทวนทุกสิ่ งให้ครบถ้วน เพื่อให้ได้ภาพรวม
(หลักการสังเคราะห์)
24
ยุคประจักษ์ นิยมในอังกฤษ
• จริ งหรื อที่วา่ “ไม่มีอะไรในจิตของเรา นอกจากสิ่ งที่เรารับรู้ผา่ น
ประสาทสัมผัส”
• เราสามารถเชื่อถือสิ่ งที่ประสาทสัมผัสบอกเราได้หรื อไม่
• จริ งหรื อที่เราชอบสร้างมโนภาพเชิงซ้อนซึ่งไม่มีความเชื่อมโยง
กับวัตถุในโลกที่เป็ นจริ ง
• จริ งหรื อที่ไม่มี “ฉัน” หรื อตัวตนที่ถาวรไม่เปลี่ยนแปลง
25
ยุคภูมปิ ัญญาของฝรั่งเศส
•
•
•
•
•
•
•
การคัดค้านอานาจที่ครอบงาอยู่
เหตุผลนิยม
ขบวนการในยุคภูมิปัญญา (สารานุกรม)
การมองโลกในแง่ดีทางวัฒนธรรม (การพัฒนานาไปสู่สิ่งที่ดี)
การหวนคืนสู่ธรรมชาติ (มนุษย์ดีงามอยูแ่ ล้ว)
ศาสนาธรรมชาติ (เทวัสนิยมหรื อ deism)
สิ ทธิมนุษยชน
26
คานต์
• “ประสาทสัมผัส” หรื อ “เหตุผล” มีบทบาทสาคัญต่อการรับรู้
เกี่ยวกับโลกของเราเพียงใด
• การใช้เหตุผลจะบอกเราว่าพระเจ้ามีอยูจ่ ริ งได้หรื อไม่
• การมีอยูข่ องพระเจ้า และเจตจานงเสรี มี “มูลบท” (สมมุติฐานที่
ไม่สามารถพิสูจน์ได้) ซึ่งสมเหตุสมผลในทางปฏิบตั ิหรื อไม่
• สมมุติฐานว่าพระเจ้ามีอยูเ่ ป็ นความจาเป็ นทางศีลธรรมหรื อไม่
• กฎทางศีลธรรมต้องตายตัวและเป็ นกฎสากลหรื อไม่
27
เฮเกล
• ความคิดใดความคิดหนึ่งถูกตลอดกาล หรื อถูก ณ จุดที่เรา
ยืนอยู่
• ท่านคิดว่าความก้าวหน้าทางความคิดเกิดแบบวิภาษวิธี
โดยมีสามขั้นตอนคือ ภาวะพื้นฐาน ภาวะแย้ง ภาวะ
สังเคราะห์ หรื อไม่
• ท่านเชื่อไหมว่าประวัติศาสตร์จะตัดสิ นว่าอะไรถูกอะไร
ผิด สิ่ งที่ถูกต้องจะอยูร่ อดได้
28
คีรเกกอรด์
• ท่านคิดอย่างไรกับคากล่าวที่วา่ “เรารับรู้การมีอยูข่ องเรา เมื่อเรา
ลงมือกระทา หรื อเมื่อเราตัดสิ นใจครั้งสาคัญ ๆ “ และ “ความจริ ง
ขึ้นอยูก่ บั แต่ละบุคคล”
• คีรเกกอร์ดคิดว่าคนเรามีชีวติ ในสามรู ปแบบ คือขั้นสุนทรี ยะ
ขั้นจริ ยะ และขั้นศาสนา
• ส่ วนจะใช้ชีวติ อย่างไรขึ้นอยูก่ บั การตัดสิ นใจของเรา
29
ชีวติ มีสารัตถะไหม
• สารัตถะ (essence) มีอยูจ่ ริ งหรื อ หรื อว่ามีแต่การมีอยูข่ องชีวิต
(existence)
• มนุษย์ตอ้ งสร้างสารัตถะของเขา เพราะสิ่ งนี้ไม่ได้ถูกกาหนดไว้
ล่วงหน้าจริ งหรื อ
• จริ งหรื อที่มนุษย์รู้สึกแปลกแยกในโลกที่ปราศจากความหมาย
• จริ งหรื อที่มนุษยถูกสาปให้มีเสรี ภาพ
• จริ งหรื อที่กลุ่มสังคมจะสร้างวาทกรรมเพื่อกาหนดสิ่ งทีต่ นรับรู้วา่
สาคัญให้แก่คนอื่น โดยหวังให้เป็ นกระบวนทัศน์ครอบงา
• จริ งหรื อว่า เพื่อให้หลุดพ้นจากการครอบงา เราจึงต้องรื้ อและประกอบ
สร้างความคิด ความเชื่ออย่างรู้เท่าทันใหม่ตลอดเวลา
30