เรื่อง การปฏิวัติวิทยาศาสตร์

Download Report

Transcript เรื่อง การปฏิวัติวิทยาศาสตร์

ประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6
ยุคการปฏิวตั ทิ างวิทยาศาสตร์
(Scientific Revolution)
(พทุ ธศตวรรษที่ ๒๒-๒๔)
โดย
ครูขณิฐภรณ์
พรหมปลูก
ยุคการปฏิวตั ทิ างวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution)
(พุทธศตวรรษที่ ๒๒-๒๔)
สภาพของเหตุการณ์ โดยสรุป
การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาระหว่างพุทธ
ศตวรรษที่ ๒๒ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๒๔ สื บเนื่องมาจากการฟื้ นฟูศิลปะวิทยาการ
การปฏิวตั ิน้ ีก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้ เป็ นแนวทางหนึ่งที่ทาให้ผคู ้ นได้มีความรู ้
กว้างขวางและสามารถนาความรู ้และทฤษฏีใหม่ ๆ มาใช้เพื่อพัฒนาการค้าและ
เศรษฐกิจให้เจริ ญรุ ดหน้ายิง่ ขึ้น
การปฏิวตั ิวิทยาศาสตร์เริ่ มต้นในดินแดนอิตาลีในพุทธศตวรรษที่ ๒๒
แล้วจึงขยายไปสู่ดินแดนอื่น ๆ
นักวิทยาศาสตร์
คนสาคัญ
สาเหตุของเหตุการณ์ สาคัญ
ปัจจัยที่นาไปสู่การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ คือ
๑.การฟื้ นฟูศิลปะวิทยาการ ทาให้เกิดการตื่นตัวในการศึกษาธรรมชาติ
มากขึ้น ประกอบกับการค้นพบวิธีการพิมพ์หนังสื อ ทาให้มีการผลิตตาราทาง
วิทยาศาสตร์อย่างแพร่ หลายที่ช่วยให้นกั วิทยาศาสตร์นามาใช้เป็ นข้อมูลประกอบ
การค้นคว้าและวิจยั ทางด้านวิทยาศาสตร์อย่างมีประสิ ทธิภาพ
๒.การสารวจการค้นพบดินแดนใหม่ ทาให้โอกาสติดต่อแลกเปลี่ยน
ความรู ้ความคิดกับคนต่างชาติ ต่างวัฒนธรรม ซึ่งช่วยให้ความรู ้ขยายขอบเขต
กว้างขวางออกไป
๓.ความเจริ ญทางการค้าและอุตสาหกรรม เป็ นแรงผลักดันที่ทาให้
วิทยาศาสตร์มีความเจริ ญก้าวหน้า เนื่องจากพวกพ่อค้าต้องการหวังผลทาง
เศรษฐกิจ จึงได้ส่งเสริ มให้ส่งเสริ มคิดค้นกรรมวิธีการผลิตใหม่ๆ ทาให้เกิดความ
ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และมีการค้นพบสิ่ งใหม่ ๆ ทางวิทยาศาสตร์
ผลสรุปของเหตุการณ์ เกิดอะไรขึน้ บ้ าง
1.การปฏิวตั ิวิทยาศาสตร์เป็ นสาเหตุผลักดันให้เกิดการปฏิวตั ิ
อุตสาหกรรม ในพุทธศตวรรษที่ 24 ทาให้ประเทศต่าง ๆ ในยุโรปพัฒนาความ
เจริ ญก้าวหน้าในด้านการผลิตจนกลายเป็ นประเทศอุตสาหกรรมชั้นนาของโลก
2.การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ทาให้เกิด “ยุคภูมิธรรม” หรื อ “ยุคแห่งการ
รู ้แจ้ง” ทาให้ชาวตะวันตกเชื่อมัน่ ในเหตุผล ความสามารถ และภูมิปัญญาของ
ตน เชื่อมัน่ ว่าโลกจะก้าวหน้าพัฒนาต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง มีความมัน่ ใจว่าจะ
สามารถแสวงหาความรู ้ต่อไปไม่มีวนั สิ้ นสุ ด โดยอาศัยเหตุผลและสติปัญญา
ของตน
เกิดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ อะไรบ้ าง
1.ทฤษฎีระบบสุ ริยจักรวาลของนิโคลัส คอเปอร์นิคสั
2.กล้องจุลทรรศน์ของกาลิเลโอ กาลิเลอิ
3.หลักคณิ ตศาสตร์เกี่ยวกับปรัชญาธรรมชาติของเซอร์ ไอแซค นิวตัน
ผลกระทบทีต่ ามมาภายหลังนาไปสู่ การปฏิวตั ิหรือการเปลีย่ นแปลง
อะไรบ้ างในสั งคม ฯลฯ
ทาให้มนุษย์มีวิธีการค้นหาความจริ งเป็ นขั้นตอน ที่เรี ยกว่า วิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์ โดยนาไปสู่ผลสรุ ปที่สามารถอธิบายได้อย่างเป็ นเหตุเป็ น
ผล วิทยาศาสตร์จึงเข้ามามีบทบาทอย่างมากต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งใน
ด้านเกษตรกรรม และอุตสาหกรรม นักวิทยาศาสตร์คน้ คิดประดิษฐ์
เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อช่วยให้การผลิตมีท้ งั คุณภาพ และปริ มาณมากเพียงพอ
แก่การบริ โภค และมีส่วนช่วยให้การดาเนินธุรกิจสะดวกรวดเร็ วยิง่ ขึ้น ทา
ให้การพัฒนาเศรษฐกิจสาเร็ จผลตามเป้ าหมายที่วางไว้
สาระน่ ารู้
ความสาคัญของการปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์
1 ทาให้มนุษย์เชื่อมัน่ ในสติปัญญาและความสามารถของตน เชื่อมัน่ ใน
ความมีเหตุผล และนาไปสู่การแสวงหาความรู ้โดยไม่มีสิ้นสุ ด
2 ก่อให้เกิดความรู ้และความเจริ ญก้าวหน้าในวิทยาการด้านต่าง ๆ และ
ทาให้วิทยาศาสตร์กลายเป็ นศาสตร์ที่มีความสาคัญ โดยเน้นศึกษาเรื่ องราวของ
ธรรมชาติ
3 ทาให้เกิดการค้นคว้าทดลองและแสวงหาความรู ้ดา้ นต่าง ๆ ซึ่งนาไปสู่
การประดิษฐ์คิดค้นสิ่ งใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง และเป็ นพื้นฐานของการปฏิวตั ิ
อุตสาหกรรมในสมัยต่อมา
4 ทาให้ชาวตะวันตกมีทศั นคติเป็ นนักคิด ชอบสังเกต ชอบซักถาม ชอบ
ค้นคว้าทดลอง เพื่อหาคาตอบ และนาความรู ้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต
การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ ในระยะแรก
การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ในระยะแรก เป็ นการค้นพบความรู ้ทางดารา
ศาสตร์ ทาให้เกิดคาอธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ซึ่งเป็ นการ
ท้าทายความเชื่อดั้งเดิมของคริ สต์ศาสนา สรุ ปได้ดงั นี้
1.การค้นพบทฤษฎีระบบสุ ริยจักรวาลของนิโคลัส (Nicholaus
Copernicus) ชาวโปแลนด์ ในต้นพุทธศตวรรษที่ 23 สาระสาคัญ คือ ดวงอาทิตย์
เป็ นศูนย์กลางของจักรวาล โดยมีโลกและดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ โคจรโดยรอบ
ทฤษฎีของโคเปอร์นิคสั ขัดแย้งกับหลักความเชื่อของคริ สต์จกั รอย่าง
มากที่เชื่อว่าโลกเป็ นศูนย์กลางของจักรวาล แม้จะถูกประณามอย่างรุ นแรง แต่ถือ
ว่าความคิดของโคเปอร์นิคสั เป็ นจุดเริ่ มต้นของการปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ ทาให้
ชาวตะวันตกให้ความสนในเรื่ องราวลี้ลบั ของธรรมชาติ
2 การประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ (Telescope) ของกาลิเลโอ (Galileo
Galilei) ชาวอิตาลีในปี ค.ศ. 1609 ทาให้ความรู ้เรื่ องระบบสุ ริยจักรวาลชัดเจน
ยิง่ ขึ้น เช่น ได้เห็นจุดดับในดวงอาทิตย์ได้สังเกตการเคลื่อนไหวของ
ดวงดาว และได้เห็นพื้นขรุ ขระของดวงจันทร์ เป็ นต้น
3 การค้นพบทฤษฎีการโคจรของดาวเคราะห์ ของโจฮันเนส เคปเลอร์
(Johannes Kepler) ชาวเยอรมัน ในช่างต้นคริ สต์ศตวรรษที่ 23 สรุ ปได้
ว่า เส้นทางโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์เป็ นรู ปไข่หรื อรู ปวงรี มิใช่เป็ น
วงกลมตามทฤษฎีขอโคเปอร์นิคสั
การจัดตั้งสถาบันวิทยาศาสตร์ แห่ งชาติ
1.การเสนอทฤษฏีการศึกษาค้นคว้าด้วย “ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ”
ทาให้เกิดความตื่นตัวในหมู่ปัญญาชนของยุโรป มีการจัดตั้งสถาบัน
วิทยาศาสตร์แห่งชาติข้ ึนในประเทศต่าง ๆ หลายแห่ง ในช่วงปลายพุทธ
ศตวรรษที่ 23 เพื่อสนับสนุนงานวิจยั การประดิษฐ์อุปกรณ์เครื่ องมือเครื่ องใช้
ต่าง ๆ และแลกเปลี่ยนความรู ้ซ่ ึงกันและกัน ทาให้วิทยาศาสตร์เจริ ญก้าวหน้า
โดยลาดับ
2.ความร่ วมมือระหว่างนักวิทยาศาสตร์กบั นักประดิษฐ์นาไปสู่การ
พัฒนาสิ่ งประดิษฐ์ต่าง ๆ มากมาย ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์จึงเป็ นรากฐานของ
ความเจริ ญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ จึงมีผกู ้ ล่าวว่าการปฏิวตั ิ
วิทยาศาสตร์ในพุทธศตวรรษที่ 23 เป็ นยุคแห่งอัจฉริ ยะ (The Age of Genius)
เพราะมีการค้นพบความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ใหม่ ๆ เกิดขึ้นมากมาย
แหล่งที่มา: http://school.obec.go.th/saod_rs/p007/p02.doc
• การปฏิวัตทิ างวิทยาศาสตร์
1. เดิมมนุษย์ มีความเชื่อเกี่ยวกับจักรวาลอย่ างไร ?
2. ใครเป็ นผู้อธิบายว่ า "ดวงอาทิตย์ เป็ นศูนย์ กลางของจักรวาล" ?
3. การค้ นพบทฤษฎีใหม่ เกี่ยวกับสุริยจักรวาลในระยะแรกได้ รับการ
คัดค้ านจากฝ่ ายใด ?
[email protected]