วัชรินทร์ จำปี รองเลขำธิกำร กศน. มุมมองเรื่อง การนิเทศ 1. ไปเยี่ยม / ไปตรวจ / ไปศึกษา 2.

Download Report

Transcript วัชรินทร์ จำปี รองเลขำธิกำร กศน. มุมมองเรื่อง การนิเทศ 1. ไปเยี่ยม / ไปตรวจ / ไปศึกษา 2.

วัชรินทร์ จำปี
รองเลขำธิกำร กศน.
มุมมองเรื่อง การนิเทศ
1. ไปเยี่ยม / ไปตรวจ / ไปศึกษา
2. ดู / พูดคุย / ประชุม / สาธิต / บันทึก
3. สั่งการ / แนะนา / ให้ คาปรึกษา /
ตอบคาถาม
4. รวบรวม / วิเคราะห์ / สรุ ป / รายงาน
มุมมองเรื่อง บทบาทของศึกษานิเทศก์
1. เป็ นผู้ให้ การสนับสนุน (Supporting)
2. เป็ นผู้ให้ ความช่ วยเหลือ (Assisting)
3. เป็ นผู้มีส่วนร่ วม (Sharing)
คิมบอลล์ ไวลส์ (wiles, 1967)
มุมมองเรื่อง คุณสมบัตขิ องศึกษานิเทศก์
1. เป็ นผู้ท่ มี องเห็นโดยรอบ (a super vision)
2. เป็ นผู้ท่ มี ีเหตุผลและสติปัญญา
3. ไม่ เป็ นผู้ท่ มี ีความคิดแคบ
4. ไม่ เป็ นผู้ท่ ยี ดึ มั่นอยู่แต่ สภาพการณ์ อย่ างเดียว
5. ไม่ เป็ นผู้ท่ มี องเห็นการสอนและวัตถุประสงค์ ของการ
สอนเพียงมุมเดียว
(ดร.ภิญโญ สำธร ,2514)
องค์ ประกอบที่สาคัญของศึกษานิเทศก์
1. “มีใจรัก” ในการเป็ นศึกษานิเทศก์
2. “มีความรู้” เกี่ยวกับงานนิเทศ
3. “มีทกั ษะ” ที่จาเป็ นต่ อการปฏิบัตงิ าน
นิเทศ
ทักษะที่จาเป็ นสาหรับศึกษานิเทศก์
1. ทักษะด้ านมนุษยสั มพันธ์ (Human Relation)
2. ทักษะในการเป็ นผู้นา (Leadership)
3. ทักษะในเรื่องกระบวนการกลุ่ม (Group Process)
4. ทักษะในเรื่องการบริหารงานบุคคล
(Personal Administration)
5. ทักษะในเรื่องการประเมินผล (Evaluation)
คิมบอลล์ ไวลส์ (Wiles, 1967)
ทาไมต้ องมีทักษะ “มนุษยสั มพันธ์ ”
1. การนิเทศเกีย่ วข้ องกับคนจานวนมากหลาย
ประเภท หลายระดับ
2. คนแต่ ละคนมีความแตกต่ างกัน
3. การนิเทศจาเป็ นต้ องได้ รับความร่ วมมือที่ดี
จากบุคคลทีเ่ กีย่ วข้ องกับทุกฝ่ าย
ทัศนคติพนื้ ฐานของมนุษยสั มพันธ์
1. ความเชื่อมัน่ ในคุณค่ าของคนทุกคน
2. การมีนา้ ใจไมตรีจิตทีแ่ ท้ จริง (Good will) และมีความจริงใจ
3. มีความนับถือและเข้ าใจซึ่งกันและกัน (Mutual
understanding and respect)
(ดร.นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์ ,จากหนังสือบริหารการศึกษา
คณะครุศาสตร์ จฬ
ุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย)
มนุษยสั มพันธ์ หมายถึง…?
“การทาให้ คนปฏิบัตงิ านร่ วมกันโดยมุ่ง
ให้ เกิดควำมร่ วมมือ กำรประสำนงำน
และความริเริ่มสร้ างสรรค์ เพื่อให้
เกิดผลตามเป้าหมายของหน่ วยงาน”
ฟลิปโป (Edwin Flippo)
ปรัชญามนุษยสั มพันธ์
1. การปฏิบัติงานเป็ นการรวมพลังให้ คนร่ วมมือ
ร่ วมใจกันทางาน
2. ความร่ วมมือ ร่ วมใจจะดีเพียงใดขึน้ อยู่กบั “คน”
3. “คน” เรานั้น แตกต่ างกัน
(ดร.สุรัฐ ศิลปอนันต์ ,
มนษุ ยสัมพันธ์ ในการบริ หาร : 2523)
การสร้ างมนุษยสั มพันธ์ ทดี่ ี
ทฤษฎีความสมดุลของไฮเดอร์
(Heider’s Balance Theory)
“หากทราบว่ าบุคคลใดชอบสิ่ งใด
เราก็ชอบสิ่ งนั้นด้ วย
โอกาสทีเ่ รากับเขาจะผูกมิตรกันจะมีมากขึน้ ”
ทฤษฎีลงิ 3 ตัว ของขงจือ้
1. ปิ ดหู หมายถึง การควบคุมการฟังการได้ ยนิ
2. ปิ ดตา หมายถึง การควบคุมการดู การเห็น
3. ปิ ดปาก หมายถึง การควบคุมการพูด
การแสดงออก
ทาอย่ างไรให้ คนอืน่ มีสัมพันธ์ ที่ดกี บั เรา
1. ให้ เกียรติ และเคารพในศักดิ์ศรีผู้อนื่
2. จริงใจต่ อผู้อนื่ ทั้งวาจาและการกระทา
3. ยอมรับในความแตกต่ างของบุคคล
4. รับฟังความคิดเห็นทีแ่ ตกต่ าง
5. มองผู้อนื่ ในแง่ ดี
ทาอย่ างไรให้ คนอืน่ มีสัมพันธ์ ที่ดกี บั เรา
6. ให้ ความช่ วยเหลือผู้อนื่ ตามความเหมาะสม
7. ประสานประโยชน์ ไม่ ขดั ผลประโยชน์ ผู้อนื่
8. ยิม้ มีอารมณ์ ขัน เป็ นกันเอง
9. กล่าว “ขอโทษ” เมื่อผิด / “ขอบคุณ” เมื่อได้ รับ
คนดีของเรา คือใคร…?
1. คนที่ดีต่อเรา
2. คนที่ดีต่อเรา และดีต่อสังคม
3. คนที่ดีต่อเรา แม้ จะไม่ ดีต่อสังคม
4. คนที่ไม่ ดีต่อเรา แต่ ดีต่อสังคม
ท่ านมีความเชื่ออย่ างไร
1. ถ้ าต้ องการได้ รับสิ่งใดจากคนอื่น
จงให้ ส่ งิ นัน้ ต่ อคนอื่นก่ อน
แล้ วเราจะได้ รับสิ่งนัน้ ตอบคืนมา
2. ถ้ าต้ องการได้ รับสิ่งใดจากคนอื่น
จงให้ ในสิ่งที่คนอื่นต้ องการก่ อน
แล้ วเราจะได้ รับสิ่งที่เราต้ องการตอบคืนมา
ไม่ มใี ครดีหมดทุกด้ าน
เขามีส่วนเลวบ้ างช่ างหัวเขา
จงเลือกเอาส่ วนดีเขามีอยู่
เป็ นประโยชน์ โลกบ้ างยังน่ าดู
ส่ วนที่ช่ ัวอย่ าไปรู้ของเขาเลย
การจะหาคนดีโดยส่ วนเดียว
อย่ าไปเที่ยวค้ นหาสหายเอ๋ ย
เหมือนมองหาหนวดเต่ าตายเปล่ าเลย
ฝึ กให้ เคย มองดี มีคุณจริง
(ท่ ำนพุทธทำสภิกขุ)
การปรับตัวเพือ่ สร้ างมนุษยสั มพันธ์
1. ปรับตัวเราไปหาผ้ ูอ่ ืน
2. ปรับตัวเราและผ้ ูอ่ ืนให้ เข้ าหากัน
3. ปรับผ้ ูอ่ ืนมาหาตัวเรา
การติดต่ อสื่ อสาร (Communication)
ความหมาย
“เป็ นกระบวนการส่ งข่ า วสารและความ
เข้ าใจจากบุ ค คลหนึ่ ง ไปสู่ บุ ค คลหนึ่ ง
จากหน่ วยงานหนึ่งไปสู่ หน่ วยงานหนึ่ง”
การประสานงาน (Co-ordination)
ความหมาย
“เป็ นกระบวนการเชื่อมสัมพันธ์ เกี่ยวกับบุคคล
วัสดุ และทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อให้ การปฏิบตั งิ าน
บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์
ของหน่ วยงาน โดยจะเกิดขึน้ ระหว่ างบุคคลกับ
บุคคล บุคคลกับหน่ วยงานหรือหน่ วยงานหนึ่งกับ
อีกหน่ วยงานหนึ่ง”
ความเชื่อมโยงกับมนุษยสั มพันธ์
“การติดต่ อสื่อสาร และการประสานงาน
มีผลต่ อการสร้ างความสัมพัน์ท่ ดี ี หรื อ
การทาลายความสัมพันธ์ ของคน หรือ
หน่ วยงานและจะส่ งผลต่ อความสาเร็จ
หรื อความล้ มเหลวของหน่ วยงานได้ ”
จุดม่ ุงหมายของการติดต่ อสื่ อสาร
1. เพื่อให้ ข่าวสารข้ อเท็จจริงและความ
เข้ าใจ
2. เพื่อสร้ างหรือกระตุ้นให้ เกิดทัศนคติ
ที่ดี แรงจูงใจ ความร่ วมมือและความ
พึงพอใจต่ อหน่ วยงาน
องค์ ประกอบของการติดต่ อสื่ อสาร
1. ข่ าวสาร
2. ผ้ ูส่งข่ าวสาร
3. เครื่ องมือที่ใช้ ส่งข่ าวสาร
4. ผ้ ูรับข่ าวสาร
5. ผลของการติดต่ อสื่อสาร
ประเภทของการติดต่ อสื่ อสาร
1. สื่อสารทางเดียว (One way communication)
ไม่ ต้ อ งมี ก ารตอบรั บ ผู้ รั บ ได้ แ ต่ รั บ ทราบและ
นาไปสู่การปฏิบัตเิ ท่ านัน้
2. สื่อสารสองทาง (Two way communication) เมื่อ
ผู้รับได้ รับข่ าวสารแล้ วมีการโต้ ตอบระหว่ างผู้รับ
กับผู้ส่ง
วิธีการที่ใช้ ติดต่ อสื่ อสาร
1. การพูด
2. การเขียน
3. อากัปกิริยาท่ าทาง
4. ตัวเลข
5. รูปภาพ
6. รหัสหรือสัญญาณต่ าง ๆ
ปัญหาสาคัญของการติดต่ อสื่ อสาร
1. ความไม่ ชัดเจนของข่ าวสาร
2. ความผิดพลาดของผู้ส่ง
3. เครื่ องมือที่ใช้ ไม่ มีคุณภาพ
4. ความผิดพลาดของผู้รับ
ปัญหาสาคัญอาจอย่ ูที่ …
ถ้ าพูดไป เขาไม่ ร้ ู อย่ าขู่เขา
ว่ าโง่ เง่ า งมเงอะ เซอะนักหนา
ตัวเขาเรา ทาไม ไม่ โกรธา
ว่ าพูดจา ให้ เขา ไม่ เข้ าใจ
โลกภายนอก กว้ างไกล ใครใครรู้
โลกภายใน ลึกซึง้ อยู่ รู้ บางใหม
จะมองโลก ภายนอก มองออกไป
จะมองโลก ภายใน ให้ มองตน
(ภำษิตอุทำนธรรม)
ข้ อคิด คาคม
ไม่ มีใครที่จะมีแต่ ส่วนดี โดยไม่ มีส่วนเสีย
 ไม่ มีของฟรี ในโลกนี ้
 เมื่อได้ บางสิ่งมา ก็อาจต้ องยอมเสีย
บางสิ่งไป (ได้ อย่ างก็ต้องเสียอย่ าง)
 ประสานประโยชน์
 จะทุกข์ หรื อสุข อยู่ท่ ใี จเรา
