By chotika Thamviset มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง  เอ็ดวิน บี ฟลิปโป (Flippo 1966:15 อ้างถึงในจรูญ ทองถาวร 2536:2) ให้ความหมายไว้ ว่า มนุ ษยสัมพันธ์คือ การรวมคนให้ทางานร่วมกันในลักษณะที่มุง่ ให้เกิดความร่วมมือ ประสานงาน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้บงั.

Download Report

Transcript By chotika Thamviset มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง  เอ็ดวิน บี ฟลิปโป (Flippo 1966:15 อ้างถึงในจรูญ ทองถาวร 2536:2) ให้ความหมายไว้ ว่า มนุ ษยสัมพันธ์คือ การรวมคนให้ทางานร่วมกันในลักษณะที่มุง่ ให้เกิดความร่วมมือ ประสานงาน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้บงั.

By chotika Thamviset
มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง
 เอ็ดวิน บี ฟลิปโป (Flippo 1966:15 อ้างถึงในจรูญ ทองถาวร 2536:2) ให้ความหมายไว้
ว่า มนุ ษยสัมพันธ์คือ การรวมคนให้ทางานร่วมกันในลักษณะที่มุง่ ให้เกิดความร่วมมือ
ประสานงาน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้บงั เกิดผลตามเป้าหมาย
 คีธ เดวิส (Davis 1957:9) กล่าวว่า มนุ ษยสัมพันธ์ เป็ นการจูงใจบุคคลในกลุ่มให้ร่วมมือ
กันเพื่อทางานอย่างมีประสิทธิภาพ บังเกิดผลเป็ นที่น่าพอใจทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม
 ประยูร ทองสุวรรณ อธิบายว่า มนุ ษยสัมพันธ์เป็ นเรื่องราวที่วา่ ด้วยพฤติกรรมของคนที่มา
เกี่ยวข้องกับ การทางานร่วมกับองค์การหรือหน่ วยงาน เพื่อให้การทางานร่วมกันดาเนิ นไป
ด้วยความราบรื่น บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมาย
สรุป มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่าง
กลุ่มบุคคลในองค์การใดองค์การหนึ่ ง
หรือสังคมใดสังคมหนึ่ ง เพื่อดาเนินการ
ให้องค์การนัน้ หรือสังคมนัน้ บรรลุผลตาม
เป้ าหมายที่วางไว้
R-E-L-A-T-I-O-N
=เป็ นตัวของเรา จริงใจ
=กระตือรือร้น สร้างความ
ประทับใจ
 L=Listening
= รู้จกั การรับฟัง
 A=Adaptability = รู้จกั การปรับตัว
 T=Tolerance = มีความอดทน อดกลัน้
 I =Integrity = ซื่อสัตย์ น่ าไว้ใจ
 O=Oral communication = วาจาไพเราะ
 N =Networking = สร้างเครือข่าย มิตรสัมพันธ์
 R=Reality
 E=Energetic
ขอบข่ ายมนุษยสัมพันธ์ มี 5 ประเด็น คือ
1.) การพัฒนาศักยภาพตนเอง (Self Development)
พัฒนาตน เพือ่ รูต้ วั + เข้าใจตัวเอง
การปรับปรุงตนเอง
2.) การเรียนรู้ ความรับผิดชอบ (Responsibility)
3.) การติดต่อสื่อสาร (Communication)
4.) การจูงใจ (Motivation) เป็นพลังผลักดันให้มนุษย์แสดงออกในพฤติกรรม
5.) การเอาใจเขามาใส่ใจเรา (Empathy) คือการแสดงความรูส้ กึ เห็นใจและเข้าใจ
คนอื่น
ความสาคัญของมนุษยสัมพันธ์ต่อการดาเนิน
ชีวิต
ทาให้มนุษย์มีความมันคงและปลอดภั
่
ย
ได้รบั ความรักและการยอมรับ
มีเพื่อน มีกลั ยาณมิตร มีการติดต่อ
เกิดความร่วมมือ
มีคณ
ุ ภาพชีวิตที่ดี ทางานมีความสุข
ทฤษฎีท่ เี กี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์
ทฤษฎีความสมดุลของไฮเดอร์
“หากทราบว่าบุคคลชอบสิ่งอะไร
เราก็ชอบสิ่งนัน้ ด้วย โอกาสที่เราและ
เขาจะผูกมิตรกันจะมีมากขึน้ ”
ทฤษฎีความสมดุลของไฮเดอร์
ส
ร
ร คือ ตัวเรา
ข คือ ตัวเขา
ส คือ สิ่งที่เขาชอบ
ข
ทฤษฎีลิง 3 ตัวของขงจือ้
 ถ้าจะผูกมิตร เราต้องปิดหูเป็ น ควบคุมตนเองให้ได้ว่าอะไรควรฟังหรือไม่ควรฟัง
อะไรควรได้ยินหรือไม่ควรได้ยิน แม้ได้ยินแล้วก็ต้องควบคุมตนเองให้ได้ว่าอะไรควร
เก็บไปคิดหรือไม่ควรเก็บไปคิด อะไรควรเชื่อหรือไม่ควรเชื่อ “อย่าเป็ นคนหูเบา.”
ตัวที่ 1 ปิดหู หมายถึง
ควบคุมการฟงั
ตัวที่ 2 ปิดตา หมายถึง
ควบคุมการดู
ตัวที่ 3 ปิดปาก
หมายถึง ควบคุมการ
พูด การแสดงออก
ปัจจัยของมนุษยสัมพันธ์
เข้าใจตนเอง
 วิเคราะห์ตน
 เข้าใจตน
 ยอมรับข้อดีขอ้ ด้อย
 ปรับเปลีย่ นและพัฒนาตนให้เข้ากับกลุม่ ได้
คนสุข
ปัจจัยของมนุษยสัมพันธ์
เข้าใจผูอ้ ื่น
 วิเคราะห์ผรู้ ว่ มงาน
 เข้าใจผูร้ ว่ มงาน
 ยอมรับความแตกต่าง
 ปรับเปลีย่ นพัฒนาตนให้เข้ากับผูอ้ ่นื
ผูอ้ ื่นสุข
ปัจจัยของมนุษยสัมพันธ์
เข้าใจสภาวะ
แวดล้อม
 วิเคราะห์สงั คมแวดล้อม
 วิเคราะห์งาน วิเคราะห์กลุ่ม
 เข้าใจสังคม เข้าใจงาน เข้าใจกลุ่ม
 ปรับเปลี่ยนพัฒนาตนให้เข้ากับสภาวะแวดล้อม
และบริหารจัดการภาวะแวดล้อมให้เหมาะสม
สภาวะแวดล้อมดี
การสร้างมนุษยสัมพันธ์
 การทางานร่วมกันแบบประชาธิปไตย
 ความไว้วางใจและเชือ่ ในความสามารถของกันและกัน
 การติดต่อสือ่ สารทีด่ ใี นกลุ่ม
 การช่วยเหลือในขอบเขตทีเ่ หมาะสม
 ทางานร่วมกันอย่างเป็ นระบบ
 การร่วมมือทีด่ ี
 ผูร่ ว่ มกลุ่มมีลกั ษณะเอือ้ ต่อการมีมนุ ษยสัมพันธ์
การพัฒนาตนเองเพื่อมนุษยสัมพันธ์
 ปรับปรุงตนเอง
ภายนอก
แต่งกาย
สุขภาพอนามัย
การพูด
การฟัง
การมอง
การนัง่
การยืน
การเดิน การแสดงกริยา
การพัฒนาตนเองเพื่อมนุษยสัมพันธ์
1 ปรับปรุงตนเอง ภายใน
สังคหวัตถ 4 เช่น รู้จกั ให้ พูดจาไพเราะ เกื้อกูล
คนอื่น ไม่แบ่งชัน้ วรรณะ เสมอต้นเสมอปลาย
สัปปุริสธรรม 7 เช่น รู้จกั หลักการ รู้จกั ผล รู้จกั
ตน รู้จกั ประมาณ รู้จกั เวลา รู้จกั ชุมชน รู้จกั บุคคล
2.การประสานคน
3. การพิชิตใจคน ยกย่องชมเชยเมื่อเขาทาดี ช่วยเพื่อนร่วมงานเมื่อเขาเดือดร้อน
ยอมรับความคิดเห็นคนอื่น ไม่ก้าวก่ายเรื่องส่วนตัว ซื่อสัตย์ อารมณ์ เยือกเย็น ตื่นตัว
มีความคิดสร้างสรรค์
4. การมีทศั นคติต่อตนเองและต่อผูอ้ ื่น
การสร้างมนุ ษยสัมพันธ์กบั ผูบ้ งั คับบัญชา
 ยกย่องผูบ
้ งั คับบัญชาตามฐานะ
 รับคาวิพากวิจารณ์ด้วยความสงบ
 ปฏิบตั ิ งานด้วยความตัง้ ใจ
 ทาตามกฎและคาสังขององค์
่
กร
 เสนอความคิดเห็นอย่างสุภาพอ่อนน้ อม
 หลีกเลี่ยงการบ่นเรือ่ งงาน
 หลีกเลี่ยงการนินทาผูบ้ งั คับบัญชา
 หลีกเลี่ยงการตอบรับหรือปฏิเสธตลอดเวลา
 หลีกเลี่ยงการแข่งขันหรือทาตัวแข่งกับผูบ้ งั คับบัญชา
มนุษยสัมพันธ์ กับเพื่อนร่ วมงาน
- ให้เกียรติเพื่อน และปรับทุกข์ ผูกมิตร / ยิ้มแย้ม
แจ่มใส / เสมอต้นเสมอปลาย
- หลีกเลี่ยงการทาตัวเหนื อเพื่อนร่วมงาน /ศึกษา
ธรรมชาติของเพื่อน
- ใช้หลักมนุษยสัมพันธ์แบบผสมผสาน / อย่า
วิพากษ์วิจารณ์ เพื่อน / มีศิลปการพูด
มนุษยสัมพันธ์ ท่ ดี ีในครอบครั ว
1.) บิดา – บุตร
- ให้ความรัก เมตตา อบอุ่น
- ให้เวลาอยู่กบั บุตร ให้คาปรึกษา
- อบรม เลีย้ งดู
- ประพฤติตนเป็ นแบบอย่าง
- เลีย้ งดูแบบประชาธิปไตย
- ให้การศึกษาแก่บตุ ร
- อบรมแก่บตุ รทาตัวไม่เหมาะสม
เป้ าหมาย
2.) บุตร - บิดา
- กตัญญู กตเวที
- เคารพ เชื่อฟังบิดา มารดา
- ช่วยเหลืองานบ้าน ตามสมควร
- ประหยัด ออมทรัพย์
- เลียนแบบ ตัวอย่างที่ดี
- กิริยา มารยาทที่ดี
- ตัง้ ใจ ศึกษา เล่าเรียน ชีวิตมี
มนุษยสัมพันธ์ ท่ ดี ีในสังคม “สังคมแห่ งความ
เอือ้ อาทร”
1.) เจ้าของบ้าน – เพื่อนบ้าน
- แสดงความเอื้อเฟื้ อ เผือ่ แผ่ ในกาล เทศะ อันควร
- ช่วยเหลือ ในโอกาสอันควร รับส่ง บุตร หลาน ....
- ไม่เห็นแก่ได้ ไม่เอาเปรียบ เพื่อนบ้าน
- ไม่ส่งเสียงดัง รบกวน เพื่อนบ้าน - ควบคุมสัตว์เลีย้ งในบ้าน
- แสดงมิตรภาพ โดยวิธีการ ยิ้มแย้มแจ่มใส สอบถามทุกข์ –สุข ตามสมควร
- ปรึกษา หารือกรณี ใช้บริการ สาธารณูปโภคร่วมกัน