บทที่ 5

Download Report

Transcript บทที่ 5

จริยธรรมของพนักงานทีม่ ตี ่ อธุรกิจ
ผูท้ ี่ มีจริ ย ธรรมย่อมเป็ นคนที่ ย กย่องสรรเสริ ญของสังคมและ
เป็ นที่ตอ้ งการขององค์การธุ รกิ จทุกแห่ ง บุคคลทุกคนและทุกฝ่ ายงาน
จะต้องมีจริ ยธรรมกากับอยู่ใต้จิตสานึ ก ดังนั้นจริ ยธรรมของพนักงานที่
พึงมี ต่อธุ รกิ จ ในบางประการจะมี ลกั ษณะใกล้เคียงกับจริ ยธรรมของ
ผูบ้ ริ หาร จริ ยธรรมของพนักงานอาจสรุ ปเป็ นประเด็นต่าง ๆ ได้ ดังนี้
จริยธรรมของพนักงานมีดงั ต่ อไปนี้
- ปฏิบตั ิงานด้วยความวิริยะอุตสาหะตามที่ได้รับมอบหมายจาก บั งคับ
บัญ ชาเพื่ อ บรรลุ ว ตั ถุ ป ระสงค์ตามนโยบายขององค์การที่ กาหนดไว้อ ย่า ง
ชัดเจน
ปฏิ บตั ิ งานด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ต เป็ นที่ ไว้วางใจแก่ เพื่อนร่ วมงาน
ผูบ้ งั คับบัญชา และองค์การ
จริยธรรมของพนักงาน(ต่ อ)
- ปฏิบตั ิตนให้อยูใ่ นระเบียบกฎข้อบังคับขององค์การและปฏิบตั ิตามคาสั่ง
ของผูบ้ งั คับบัญชา โดยไม่ขดั ต่อกฎระเบียบขององค์การ
- มี ความสมานฉันท์กลมเกลียว อดทน อดกลั้น ในการที่ จะไม่ก่อให้เกิ ด
การทะเลาะวิวาทในองค์การ
- รักษาทรัพย์สินขององค์การเพื่อไม่ให้ทรัพย์สินนั้นเสื่ อมเสี ยก่อนเวลาอัน
ควร และเป็ นการสร้างความมัง่ คัง่ ให้กบั องค์การอีกทางหนึ่ ง
จริยธรรมของพนักงาน(ต่ อ)
- พัฒนาประสิ ทธิ ภาพของตน ทั้งทางด้านความรู ้และความสามารถใน
อันจะเป็ นประโยชน์ท้ งั ทางตรงและทางอ้อมแก่องค์การ
- ปฏิบตั ิตนให้พร้อมที่จะได้รับมอบหมายภารกิจตามสภาวะการต่าง ๆ
ที่เกิดขึ้นตามความรู ้และความสามารถที่ผบู ้ งั คับบัญชาเห็นควร
การแสวงหาพนักงานที่มีจริยธรรม
การแสวงหาพนักงานที่มีคุณธรรมและจริ ยธรรม โดยวิธีการ
ดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1.การกาหนดคุณสมบัติของพนักงาน แยกเป็ นคุณสมบัติ 3 ด้าน คือ
1.1 การกาหนดคุณสมบัตเิ ชิงคุณภาพ
1.1.1 วุฒิการศึกษา
1.1.2 สาขาวิชาที่สาเร็ จการศึกษา
1.1.3 เพศและอายุ
1.1.4 บุคลิกภาพและสุ ขภาพ
1.2 การกาหนดคุณสมบัตเิ ชิงคุณธรรม
1.2.1 การมีส่วนร่ วมกิจกรรมทางสังคม
1.2.2 การเป็ นผูน้ ากลุ่มหรื อคณะบุคคล
1.2.3 ทัศนคติที่มีต่อองค์การ
1.3 การกาหนดคุณสมบัตเิ ชิงคุณประโยชน์ ต่อองค์ การ
1.3.1 ประสบการณ์ในการทางาน
1.3.2 การช่วยเหลือสังคม
1.3.3 พื้นฐานความรู ้เกี่ยวกับสภาพธุรกิจ
2.การคัดเลือกพนักงาน
- กระบวนการสรรหาพนักงานที่มีคุณภาพ คุณธรรม และจริ ยธรรม สามรถ
กระท าได้ผ ลระดับ หนึ่ ง ด้ว ยวิ ธี ก ารคัด เลื อ กพนั ก งานที่ เ หมาะสมต าม
คุณสมบัติที่ตอ้ งการ แต่บุคคลที่มาสมัครงานกับองค์การนั้น อาจมีคุณสมบัติที่
ไม่ครบถ้วน
- ถ้าจาเป็ นต้องเลื อกคนที่ ยงั มี คุณสมบัติไม่ครบถ้วนตามต้องการ ควรจะ
เลือกใครก่อนหลัง พอลาดับได้ดงั นี้ (ไชย ณ พล , 2536 : 172)
3.การกาหนดค่ าตอบแทน
3.1 ค่าจ้างเดือนประจากฎหมายได้มีการกาหนดอัตราค่าแรง ขั้นต่าไว้
อย่างชัด เจน และจะต้อ งปรั บ เปลี่ ย นตามประกาศของทาง ราชการอย่า ง
เคร่ งครัด
3.2 การจัดสวัสดิการ การส่ งเสริ มให้ชีวิตความเป็ นอยูข่ อง
พนักงานดี ขึ้ นด้วยการจัดสรรสวัสดิ การที่ ดี เป็ นสิ่ งจู งใจ ให้พนักงานเกิ ด
ขวัญ และกาลังใจในการปฏิบตั ิงาน การจัดสวัสดิการที่ดีกว่าข้อกาหนดของ
กฎหมายเช่น
3.2.1 กาหนดวันหยุดตามประเพณี ประจาปี มากกว่า 13 วัน
3.2.2 เวลาปฏิบตั ิงานน้อยกว่า 8 ชัว่ โมง ต่อวัน
3.2.3 การลาพักผ่อน มากกว่า 6 วันต่อปี ตามอายุแรงงาน
3.2.4 การเบิกค่ารักษาพยาบาล บิดา มารดา และบุตร
3.2.5 การจัดรถ รับ-ส่ ง ในเวลาปฏิบตั ิงาน
3.2.6 การจ่ายเงินบาเหน็จบานาญ
4.การฝึ กอบรม
การฝึ กอบรมทั้งทางด้านการปฏิบตั ิงานภายนอกและการปลูก
จิตสานึก และจริ ยธรรมภายในจุดมุ่งหมายของการฝึ กอบรม อาจแยกได้ด้ งั นี้
4.1 ทาให้เกิดความกระตือรื อร้นในการปฏิบตั ิงาน
4.2 ช่วยขจัดปั ญหาในการปฏิบตั ิงาน
4.3 เพิม่ ทักษะในการปฏิบตั ิงาน
4.4 ลดอุบตั ิเหตุในการปฏิบตั ิงาน
4.5 เพิ่มพูนความรู ้ใหม่ๆ
4.6 ช่วยให้การใช้อุปกรณ์เครื่ องมือ เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ
4.7 ทาให้เกิดการประหยัดได้ในระยะยาว
4.8 ทาให้พนักงานมีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
4.9 เสริ มสร้างจริ ยธรรมในการปฏิบตั ิงาน
4.10 ทาให้เกิดความภักดีต่อองค์การ
5..การพัฒนาตนเอง
ลักษณะของการพัฒนาตนเองของพนักงานอาจสรุ ปได้ดงั นี้
5.1 ประสิ ทธิภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย
5.2 คุณภาพของงานที่ได้พฒั นาขึ้น
5.3 มนุษย์สัมพันธ์ระหว่างพนักงานและผูบ้ งั คับบัญชา
5.4 ทักษะในการแก้ไขปั ญหา
5.5 ความรับผิดชอบในหน้าที่
5.6 พัฒนาการด้านความคิดสร้างสรรค์
5.7 ความมีคุณธรรมและยุติธรรมในการตัดสิ นปัญหา
5.8 จิตสานึกที่ดีที่มีต่อองค์การ
จริยธรรมระหว่ างเพือ่ นร่ วมงาน
-
แสดงความคุน้ เคยและไว้เนื้อเชื่อใจ
ให้เกียรติและรับฟังความคิดเห็น
เป็ นผูใ้ ห้ตามโอกาสอันควร
มีความจริ งใจต่อกัน
ช่วยเหลือเมื่อมีโอกาสอันสมควร
พบปะสังสรรค์เมื่อมีโอกาสอันควร
ไม่นินทาว่าร้ายเพื่อนทั้งต่อหน้าและรับหลัง
เก็บความลับของเพื่อนได้ดีมีความสุ ขมุ รอบคอบและ อดทน
-
มีเจตคติเป็ นประชาธิปไตย
มีใจคอกว้างขวาง
มีความเสมอต้นเสมอปลายอยูเ่ สมอ
ยกย่องชมเชยเพื่อนในโอกาสอันควร
ยอมรับและให้ความสาคัญเพื่อนร่ วมงาน
ไม่ก่อศัตรู และสร้างปั ญหาขัดแย้ง
ให้คาแนะนา ข้อคิดเห็นแก่เพื่อนตามโอกาส
ร่ วมมือและช่วยเหลือเพื่อนในการทางาน
การมีมนุษย์ สัมพันธ์ ทดี่ ีระหว่ างเพือ่ นร่ วมงานเป็ นการเพิม่
ประสิ ทธิภาพในการปฏิบัติงานและสร้ างบรรยากาศในการปฏิบตั ิงานทีม่ ี
ความอบอุ่นและความสุ ข วิธีการเข้ ากับเพือ่ นร่ วมงาน
- เข้าไปหาเขาก่อน
- มีความจริ งใจต่อเขา
- มีความอดทน มีอารมณ์มนั่ คง เยือกเย็น และสุ ขมุ
- หลีกเลี่ยงการนินทาเขา การทาตัวเหนือกว่า การขอหยุมหยิม
- มีเจตคติเป็ นประชาธิปไตย
- อย่าซัดทอดความคิดผิดให้แก่ผอู ้ ื่น
-
ให้ ความร่วมมือด้ วยความเต็มใจเสมอ
รับฟั งความคิดเห็นของผู้อื่นบ้ าง
เสมอต้ นเสมอปลาย
ใจคอกว้ างขวาง
ยกย่องชมเชยผู้อื่น ในกรณีที่เห็นควร
แจ้ งให้ เขาทราบในเรื่ องที่เกี่ยวข้ องกับความรับผิดชอบของเขาโดยด่วน
มีพรหมวิหาร 4
ไม่ก่อศัตรูกบั เพื่อนร่วมงาน
ท่ านเจ้ าคุณปัญญานันทภิกขุ ได้ เขียนถึงหน้ าทีข่ องเพือ่ นไว้ ใน
หนังสื อหน้ าที่ของคนลักษณะของเพือ่ นชั่ว เพือ่ นดีไว้ เป็ นเครื่องพิจารณา
บุคคลทีเ่ ราจะคบเป็ นเพือ่ นต่ อไป เพือ่ นชั่ว นั้นมี 4 จาพวก คือ
จาพวกที่ 1 เพือ่ นปอกลอก ประกอบด้วยลักษณะ 4 อย่างนี้ คือ
1. คิดเอาแต่ได้ฝ่ายเดียว
2. เสี ยให้นอ้ ย
3. เมื่อมีภยั เกิดขึ้นแก่ตน้
4. คบเพื่อนเพราะเห็นแก่ประโยชน์ของตัว
จาพวกที่ 2 เพือ่ นดีแต่ พดู มีลกั ษณะ 4 อย่างดังนี้ คือ
1. ชอบเก็บเอาของที่ล่วงแล้วมาปราศรัย
2. อ้างเอาของที่ไม่มีมาปราศรัย
3. สงเคราะห์ดว้ ยสิ่ งที่ไม่มีประโยชน์
4. เมื่อเพื่อนมีกิจธุระเกิดขึ้น ก็อา้ งความเสื่ อมเสี ย
จาพวกที่ 3 เพือ่ นหัวประจบ มีลกั ษณะ 4 อย่างดังนี้ คือ
1. กระทาชัว่ ก็คล้อยตาม
2. ทาดีกค็ ล้อยตาม
3. ต่อหน้าก็สรรเสริ ญ
4. ลับหนังก็นินทา
จาพวกที่ 4 เพือ่ นชักชวนในทางฉิบหาย มีลกั ษณะ 4 อย่าง คือ
1. ชักชวนดื่มน้ าเมา
2. ชักชวนเที่ยวกลางคืน
3. ชักชวนมัวเมาในการเล่น
4. ชักชวนเล่นการพนันต่างๆ
ส่ วนเพือ่ นดี คือ เพือ่ นแท้ ผู้มีนา้ ใจประกอบด้ วย
เมตตา ซื่อสั ตย์ ต่อเพือ่ นจริงๆ มี 4 จาพวก ดังนี้
จาพวกที่ 1 เพือ่ นมีอุปการะ มีลกั ษณะ 4 อย่าง คือ
1. ป้ องกันเพื่อนผูป้ ระมาทแล้ว
2. ป้ องกันทรัพย์สมบัติของเพื่อนที่ประมาทแล้ว
3. เมื่อมีภยั ก็เป็ นที่พ่ งึ ได้
4. เมื่อมีธุระช่วยออกทรัพย์เกินกว่าที่ออกปาก
จาพวกที่ 2 เพือ่ นร่ วมสุ ขร่ วมทุกข์ มีลกั ษณะ 4 อย่าง คือ
1. ขยาบความลับของตนแก่เพื่อน
2. ปิ ดความลับของเพื่อนไม่ให้แพร่ หลาย
3. ไม่ละทิ้งในยามวิบตั ิ
4. แม้ชีวิตก็อาจสละแทนได้
จาพวกที่ 3 เพือ่ นแนะนาประโยชน์ มีลกั ษณะ 4 อย่าง คือ
1. ห้ามไม่ให้ทาความชัว่
2. แนะนาให้ต้ งั อยูใ่ นความดี
3. ให้ฟังสิ่ งที่ยงั ไม่เคยฟัง
4. บอกทางสรรค์ให้
จาพวกที่ 4 เพือ่ นมีความรักใคร่ มีลกั ษณะ 4 อย่าง คือ
1. ทุกข์ทุกข์ดว้ ย
2. สุ ขสุ ขด้วย
3. โต้ถียงคนที่พดู ติเตือนเพื่อน
4. รับรองคนที่พดู สรรเสริ ญเพื่อน
เราต้ องปฏิบัติหน้ าทีข่ องเราให้ ถูกต้ อง ตามหลักที่
พระพุทธเจ้ าตรัสไว้ 5 ประการ คือ
1. การให้ปัน
2. การกล่าวถ้อยคาอันเป็ นที่รัก
3. ประพฤติสิ่งที่เป็ นประโยชน์แก่เพื่อน
4. ความเป็ นผูม้ ีตนเสมอ
5. ไม่แกล้งกล่าวให้พลาดจากความจริ ง
พระพุทธองค์ กไ็ ด้ ตรัส หน้ าทีอ่ นั เพือ่ นแท้ ปฏิบัติ
ตอบด้ วยธรรมะ 5 ประการ คือ
1. รักษาเพื่อนผูป้ ระมาทแล้ว
2. รักษาทรัพย์สมบัติของเพื่อนผูป้ ระมาทแล้ว
3. เป็ นที่พ่ งึ แก่เพื่อนเวลามีอนั ตราย
4. ไม่ละทิ้งเพื่อนเวลามีอนั ตราย
5. นับถือตลอดวงศ์ตระกูลของเพื่อน
กุญแจสาคัญ 3 ข้อ ซึ่ งสามารถจะเพิ่มพูน
ประสิ ทธิภาพของคุณคือ
ประสบการณ์ ความรู้ และทักษะความชานาญ
ไม่มีสิ่งใดแทนที่ประสบการณ์ได้ เพราะ
ประสบการณ์คือโอกาสของการเรี ยนรู ้ และการ
ค้นคว้าหาความรู ้ แม้แต่ในหมู่ผเู ้ ชี่ยวชาญเองการ
เรี ยนรู ้กถ็ ือเป็ นเรื่ องที่ไม่มีวนั สิ้ นสุ ด