บทที่ 1

Download Report

Transcript บทที่ 1

1. บอกความหมายมารยาทและการสมาคมได้
2. นาความรู้ที่ได้ไปศึกษาและปฏิบตั ิใช้ในชีวิตประจาวันได้
3. ปรับตัวเข้ากับสังคมในปัจจุบนั ได้
Exit
ความหมายของ”มารยาท”
 มารยาทไทย คือ ขอบเขต หรื อระเบียบข้อบังคับที่ให้ประพฤติปฏิบตั ิ
ในสังคมไทย ซึ่งบรรพบุรุษ ได้กาหนดขึ้น และได้นามาปรับปรุ งใช้ในปัจจุบนั
การสมาคม คือ การประชุมกันเป็ นหมู่คณะ การพบปะ ตลอดจนการอบรม
สัมมนาต่าง ๆ ตามจุดประสงค์ที่กาหนด
สรุ ปได้ ว่า มารยาทและการสมาคม หมายถึง กิ ริยาถ้อยคาที่เหมาะสมจะ
ประพฤติปฏิบตั ิ สาหรั บบุคคลที่ เจริ ญแล้วได้นาไปใช้ในการพบปะหรื อ
ประชุมในหมู่คณะ เพื่อประโยชน์ในการเข้าสมาคม
ดังนั้น มารยาทในการสมาคม ถือว่าเป็ นวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่ งบุคคลที่
เจริ ญแล้ว ต้องศึกษาสิ่ งที่นามาใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสมกับเวลาโอกาสและ
สถานที่ เนื่ อ งจากมารยาทในการสมาคมเป็ นสิ่ ง ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง
บุคลิกภาพของบุคคลนั้นว่าได้รับการศึกษามาเพียงใด หรื อมารยาทในการ
สมาคมเป็ นตัววัดวัฒนธรรมของบุคคลเหล่านั้น
มารยาทไทย เป็ นการเจาะจงชี้แจงให้
ทราบถึงขอบเขตหรื อระเบียบแบบแผน
แห่งการประพฤติปฏิบตั ิแบบไทย ที่
บรรพบุรุษของเราได้พิจารณากาหนด
ขึ้นและดัดแปลงแก้ไขใช้สืบทอดกันมา
กลับไปรายการเลือก
มารยาทกับวัฒนธรรม
วัฒนธรรม หมายถึง การดาเนิ นชีวิตของ
สังคมตามข้อประพฤติปฏิบตั ิที่บ่งชัด ซึ่งเป็ น
ความรู ้สึกนึ กคิดในสภาวะต่าง ๆ ที่สมาชิ ก
ใ น ก ลุ่ ม ไ ด้ เ ห็ น พ้ อ ง ต้ อ ง กั น ดั ง นั้ น
วัฒนธรรมไทยจึงหมายถึง วิถีชีวิตที่ คนไทย
สร้างสรรค์ และประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับ
สภาพแวดล้ อ ม และยัง ใช้ เ ป็ นแนวทาง
ป้ องกันและแก้ไขปัญหาสังคม
วัฒนธรรมย่อมเกิ ดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทั้งนี้ ข้ ึนอยู่กบั การคิดค้นสิ่ ง
ใหม่ ๆ แนวทางใหม่ที่ใช้ในการแก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของ
สังคมให้ดี ยิ่งขึ้ น ทาให้เ กิ ด ค่านิ ย มใหม่ ๆ จึ งจ าเป็ นต้องเลิ กใช้ว ฒ
ั นธรรม
ดั้งเดิมในที่สุด การอนุรักษ์วฒั นธรรมดั้งเดิมไว้จึงต้องพัฒนาวัฒนธรรมนั้น ๆ
ให้ทนั กับความเจริ ญตามยุคปัจจุบนั ที่เปลี่ยนแปลงไป
กลับไปรายการเลือก
ขอบข่ายของวัฒนธรรม
พระราชบัญญัติวฒั นธรรมแห่งชาติพทุ ธศักราช 2485-2486 ได้กาหนด
ขอบข่ายของวัฒนธรรมแห่งชาติออกมา 2 ประเภท ดังต่อไปนี้
1. วัฒนธรรมทางจิตใจ คือ สิ่ งจรรโลงปัญญา และจิตใจ ซึ่งได้แก่ ระเบียบ
ประเพณี ภาษา กฎหมาย ศาสนา และวรรณคดี
2. วัฒนธรรมทางวัตถุ คือ ปัจจัยต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดความสะดวกสบาย
ทางร่ างกาย
ขอบข่ายทางวัฒนธรรมยังแบ่งได้ตามลักษณะความสัมพันธ์ต่อการดารงชีวิต
โดยทัว่ ไปแบ่งออกได้ 4 ชนิด คือ
1. สหธรรม (Social Culture) คือวัฒนธรรมทางสังคมที่ใช้ติดต่อสื่ อสาร
กับกลุ่มในสังคม เช่น มารยาทในการพูด และการปฏิบตั ิตนให้เข้ากับสังคม
2.วัตถุธรรม (Material Culture) คือวัฒนธรรมทางวัตถุ เช่น เครื่ องนุ่งห่ม
ที่อยูอ่ าศัย ยารักษาโรค และศิลปกรรมต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น
3. เนติธรรม (Legal Culture) คือ วัฒนธรรมทางจิตใจ และศีลธรรม
ถือเป็ นวิธีการดาเนินชีวิตให้อยูร่ ่ วมกันอย่างสงบสุ ข
4. คติธรรม (Moral Culture) คือวัฒนธรรมทางจิตใจ และศีลธรรม
ถือเป็ นวิธีการดาเนินชีวิตให้อยูร่ ่ วมกันอย่างสงบสุ ข
กลับไปรายการเลือก
มารยาททางใจ
ผูม้ ี ม ารยาททางใจ คื อ ผูท้ ี่ พ ฒ
ั นาจิ ต ใจของตนให้ อ ยู่ใ น
ศี ล ธรรม รวมไปถึ ง คุ ณ งามความดี ดัง นั้น การวางตัว จึ ง ควรใช้
ความคิ ด เสมอ ซึ่ งมี ห ลัก ธรรมเป็ นแบบอย่า งในการปฏิ บ ัติ คื อ
พรหมวิหาร 4
1. เมตตา คือ ความหวังดี มีมิตรไมตรี ตลอดจนการช่วยเหลือเกื้อกูล
ซึ่ งกันและกัน
พรหมวิหาร 4
ประกอบด้วย
2. กรุ ณา คือ ความสงสาร ปรารถนาให้บุคคลอื่นพ้นจากความทุกข์
3. มุทิตา คือ ความยินดี เมื่อเห็นคนอื่นมีความสุ ข ด้วยใจที่แจ่มใส
เบิกบาน
4. อุเบกขา คือ การทาใจเป็ นกลาง ราบเรี ยบ ไม่ลาเอียง
มารยาทในการสมาคมที่สาคัญแบ่งได้ 2 ประการ มีลกั ษณะดังนี้
บุคลิกลักษณะ (Personally)
จรรยามารยาท (Etlquette)
บุคลิกลักษณะ (Personally)
บุคลิกลักษณะ คือ ลักษณะนิสยั ของแต่ละบุคคล ซึ่งมีกิริยาท่าทางที่
แตกต่างกันไปนับเป็ นคุณสมบัติและความเป็ นมาของบุคคลนั้น ๆ
บุคลิกลักษณะทีด่ ี มีดงั ต่ อไปนี้
หมัน่ ศึกษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ที่ยงั ไม่รู้ดว้ ยการสังเกต จะทาให้เพิ่ม
คุณลักษณะในตัวเอง ซึ่ งจะทาให้บุคลิกภาพของเราดีข้ ึน
 ปฏิบตั ิให้เป็ นคนมีระดับในการสมาคมด้วยการปฏิบตั ิตวั เป็ นแบบอย่างให้กบั
สังคม
 ปฏิบตั ิตวั ด้วยความตั้งใจจริ ง เพื่อพัฒนาบุคลิกให้ดีข้ ึน
 ดาเนินงานด้วยการมีใจคอกว้างขวาง ไม่คบั แคบ
จรรยามารยาท (Etlquette)
จรรยามารยาท ที่ แสดงถึ งความสุ ภาพเรี ยบร้ อยถื อเป็ น
ลักษณะสาคัญ คืออากัปกิริยาที่เรี ยบร้อย นอกจากแสดง
ถึงนิ สัยใจคอแล้วยังแสดงถึง การมีวฒั นธรรมของบุคคล
นั้นด้วย ซึ่งถือเป็ นลักษณะพิเศษของจรรยามารยาท
ของคนในการสมาคม
ความสุ ภาพในกิริยา
คือ การวางตัวที่เหมาะสม ดาเนินงานเหมาะกับเวลา สถานที่ และบุคคลที่เรา
สามาคมด้วยอากัปกิริยาที่สุภาพเรี ยบร้อย เช่น ให้ความเคารพผูใ้ หญ่
ความสุ ภาพในวาจา
คือ การพูดด้วยวาจาที่สุภาพอ่อนโยน ด้วยคาพูดที่เหมาะสมกับกาลเทศะต่าง ๆ
กลับไปรายการเลือก
จุดมุ่งหมายของการมีมารยาท
มารยาทเป็ นคุณธรรมที่ทุกคนควรยึดเป็ นแนวทางในการดาเนินชีวิต
ปฏิบตั ิตนเพื่อให้เข้ากับสังคม มารยาทนับเป็ นส่ วนหนึ่งของการดาเนินชีวิต
เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมและเป็ นรู ปแบบแห่งพฤติกรรม รู ปแบบความคิด
ความรู ้ มีการจัดรู ปแบบทางสังคม เพื่อควบคุมความประพฤติของสมาชิกให้
อยูร่ ่ วมกันอย่างสงบสุ ข โดยมีกฎเกณฑ์และระเบียบต่าง ๆ เป็ นบรรทัดฐาน
Exit
กลับไปรายการเลือก