การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของโครงการ

Download Report

Transcript การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของโครงการ

การวิเคราะห์ ความคุ้มค่ า
และความเป็ นไปได้ ของโครงการ
ณดา จันทร์ สม
คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
[email protected]
1
ความสาคัญ
ความสาคัญของการประเมินความคุ้มทุนและคุ้มค่ าของ
การลงทุน
• การลงทุนต้ องคานึงถึงความคุ้มทุนและความคุ้มค่ าของ
ทรั พยากรที่มีอยู่อย่ างจากัด
• โครงการภาครัฐใช้ งบประมาณที่ได้ มาจากภาษีอากร
ของประชาชน ถ้ าดาเนินการขาดทุนก็ต้องกู้เงิน หรือ
ขายทรั พยากรธรรมชาติท่ มี ีอยู่
• การวิเคราะห์ ความคุ้มค่ าจึงเป็ นเรื่องที่สาคัญมากใน
การตัดสินใจลงทุน
2
ความคุ้มค่ าของโครงการ คืออะไร (1)
ความคุ้มค่ า vs ความคุ้มทุน
ความคุ้มทุนของโครงการ คือ การ
เปรียบเทียบผลประโยชน์ และ ต้ นทุนของ
โครงการ ณ จุดที่ผลประโยชน์ เท่ ากับ ต้ นทุน
ของโครงการ จะถือเป็ นจุดคุ้มทุน ทางด้ าน
การเงิน
3
ความคุ้มค่ าของโครงการ คืออะไร (2)
ความคุ้มค่ าของโครงการ คือ ผลที่ได้ รับจากการดาเนิน
โครงการ ตามลักษณะของแต่ละโครงการ (เศรษฐกิจ สังคม
สิ่งแวดล้ อม สุขภาพ และความมัน่ คง) โดยโครงการจะมี
ความคุ้มค่าก็ต่อเมื่อ ผลทีไ่ ด้ รับมีมูลค่ า สูงกว่ า ต้ นทุน
ของทรั พยากรทีต่ ้ องใช้ เพื่อการลงทุนในโครงการ และ
รวมกับผลกระทบด้ านลบทีเ่ กิดขึ้น ตลอดจน เป็ นที่
ยอมรั บแก่ ทุกฝ่ ายทีเ่ กี่ยวข้ อง
4
การวิเคราะห์ ความความคุ้มค่ าของ
โครงการ
การวิเคราะห์ ความคุ้มค่ าของโครงการ เกิดขึน้ จากกระบวนการในการวิเคราะห์ ความเป็ นไปได้ ของโครงการ
ที่ต้องมีการศึกษาด้ านต่ าง ๆ ได้ แก่
•
การศึกษาด้ านอุปสงค์ (ตลาด)
•
การศึกษาด้ านเทคนิค
•
การศึกษาด้ านการจัดการ
•
การศึกษาด้ านสิ่งแวดล้ อม
•
การศึกษาด้ านการเงิน
•
การศึกษาด้ านสังคมและการเมือง
•
การศึกษาด้ านเศรษฐศาสตร์
5
การศึกษาด้ านอุปสงค์ (ตลาด) (1)
คือ การศึกษาความต้ องการ/ความจาเป็ นของกลุ่มเป้าหมายต่ อ
ผลผลิตของโครงการ
• วิเคราะห์ ปัญหาและความต้ องการของประชาชนในแต่ ละ
กลุ่มเป้าหมาย
• การกาหนดกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน เพื่อนาไปสู่การกาหนด
ขอบเขตของโครงการ
• ศึกษาปั ญหา และความต้ องการของกลุ่มเป้าหมาย เช่ น
ประชาชนผู้รับบริการ โดยเปิ ดรั บฟั งความคิดเห็น การจัด
ประชุมระดมสมอง การสัมภาษณ์ การสารวจ ฯลฯ
6
การศึกษาด้ านอุปสงค์ (ตลาด) (2)
กรณีทสี่ ามารถระบุความต้ องการเชิงปริมาณ
• ประมาณการปริมาณความต้ องการของผลผลิต (Output Demand)
“ความผิดพลาดสาคัญของการวิเคราะห์ ความคุ้มค่ าโครงการนั้น มีสาเหตุมาจาก
ความผิดพลาดในการคาดการณ์ ความต้ องการผลผลิตของโครงการ”
กรณีทไี่ ม่ สามารถระบุความต้ องการเชิงปริมาณ
หน่ วยงานผู้รับผิดชอบโครงการ จะต้ องสามารถบรรยาย อธิบายและระบุถึงผลที่
คาดว่ าจะได้ รับให้ ถูกต้ อง สมเหตุผล ชัดเจน และเชื่อถือได้
• โครงการแก้ปัญหาและตอบสนองความต้ องการของประชาชนเมื่อบรรลุผล
สั มฤทธิ์ ก็จะเกิดคุณค่ าเพิม่ ขึน้ เป็ นผลประโยชน์ ของโครงการ
7
การศึกษาด้ านเทคนิค (1)
คือ การวิเคราะห์ รายละเอียดถึงกระบวนการใน
การได้ มาของผลผลิตของโครงการ โดยเน้ นที่
ปัจจัยนาเข้ าในการผลิต (input) และกระบวนการ
(process) ตลอดจนกระบวนการนาส่ งผลผลิต
(output) ของโครงการ เพือ่ ไปสู่ ผลลัพธ์
(outcome) ของโครงการ
8
การศึกษาด้ านเทคนิค (2)
Input
ความพร้ อม
ปั จจัยในการ
ผลิต
- พื ้นที่โครงการ
- ระบบ
สาธารณูปโภค etc.
- วัตถุดิบ
- กาลังคนที่ต้องการ
ทังปริ
้ มาณและ
คุณภาพ
- ประมาณการ
ต้ นทุน
Process
ทางเลือกของ
กระบวนการ
ผลิต รู ปแบบ
เทคนิค
- วิเคราะห์ความ
เหมาะสมของ
กระบวนการผลิต
หรื อรูปแบบการ
ให้ บริ การ ขันตอนใน
้
การดาเนินการและ
เทคนิคที่จะใช้
- ประมาณการ
ต้ นทุน
Output
Outcome
กระบวนการ
นาส่ งผลผลิต
เข้ าสู่กระบวนงานประจา เพื่อให้
มีผ้ ูรับผิดชอบดาเนินการ และ
ส่ งผลให้ เกิดผลลัพธ์ ตาม
เป้าหมายของโครงการ
9
การศึกษาด้ านเทคนิค (3)
10
การศึกษาด้ านเทคนิค (4)
ความพร้ อมปัจจัยในการผลิต
-
พืน้ ที่โครงการ
ความเหมาะสมและข้ อจากัดของพื ้นที่ พื ้นที่มีความแตกต่างด้ านต่าง ดังต่อไปนี ้
• ด้ านกายภาพ เช่น ระบบสาธารณูปโภค การคมนาคม ฯลฯ
• ด้ านชีวภาพและระบบนิเวศน์
• ความเหมาะสมทางด้ านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เชื ้อชาติ และ
ศาสนา
• ความแตกต่างด้ านการเมือง และการปกครอง (ระดับท้ องถิ่น)
- วัตถุดบ
ิ กาหนดแหล่งวัตถุดิบหลัก และสารอง
- กาลังคนที่ต้องการ ทังปริ
้ มาณและคุณภาพ
- ประมาณการต้ นทุน
11
การศึกษาด้ านเทคนิค (5)
ทางเลือกในกระบวนการผลิต
ระบุทางเลือกเทคโนโลยี
ศึกษาและระบุรายละเอียดของทางเลือก
วิเคราะห์ เปรียบเทียบและตัดสินใจเลือก
ประมาณการต้ นทุน
12
การศึกษาด้ านการจัดการ (1)
• รูปแบบโครงสร้ างองค์กรโครงการที่เหมาะสม
• ความเพียงพอของทรัพยากรที่เกี่ยวข้ องกับการดาเนินงาน
• ศักยภาพของบุคลากร ทังฝ่้ ายบริ หาร ฝ่ ายปฏิบตั ิการ รวมถึงการ
ยอมรับโครงการ และการรับรู้ถึงข้ อจากัดในการบริ หารโครงการ
• ศักยภาพของทรัพยากรที่ใช้ ในการดาเนินงานโครงการให้ แล้ ว
เสร็จตามวัตถุประสงค์ เครื่ องมือ อุปกรณ์ วัตถุดิบ
งบประมาณ รวมถึง มวลชนสัมพันธ์
13
การศึกษาด้ านการจัดการ (2)
ความเหมาะสม/ความพร้ อมทางด้ านกฎหมาย
กฎระเบียบ ข้ อบังคับ
• การศึกษากฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ อย่างละเอียด
รอบคอบ ตลอดวัฎฐจักรของโครงการ
• กาหนดแนวทางในการลดอุปสรรคในการดาเนินงานจาก
ข้อจากัดทางด้านกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ ต่าง ๆ
14
การศึกษาด้ านการจัดการ (3)
15
การศึกษาด้ านการจัดการ (4)
ความพร้ อมในการบริหารจัดการ
• การบริ หารทรัพยากรบุคคล
• ประมาณการค่าใช้จ่ายในการบริ หารจัดการ
16
การศึกษาด้ านการเงิน (1)
ประเด็นสาคัญ
• การกาหนดต้นทุนของโครงการ
- ต้องสอดคล้องกับกิจกรรมหลัก และกิจกรรมย่อยใน
การดาเนินเงิน และประมาณการต้นทุนของโครงการ
ทั้งหมด
• มี ก ารก าหนดค่ า ใช้จ่ า ยตามต้น ทุ น มาตรฐาน (Standard
Cost) และถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของสานักงบประมาณ
17
การศึกษาด้ านการเงิน (2)
18
การศึกษาด้ านการเงิน (3)
กิจกรรม
จานวนปั จจัยการผลิตที่ใช้
x ราคาต่ อหน่ วย
รวมค่ าใช้ จ่ายทัง้ หมด
กิจกรรมหลักที่ 1
1.1 กิจกรรมย่อย 1
1.2 กิจกรรมย่อย 2
กิจกรรมหลักที่ 2
1.2 กิจกรรมย่อย 1
รวมต้นทุนโครงการทั้งหมด
XXXXX
19
การจัดลาดับความสาคัญของโครงการ
• เครื่ องมือในการจัดลาดับความสาคัญของ
โครงการ สามารถใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ได้
• การเลือกโครงการตามเกณฑ์ความคุ้มค่าและคุ้ม
ทุน
• โครงการที่ให้ ผลตอบแทนสูงสุดไล่เรี ยงลงมา
ตามลาดับตามทรัพยากรที่มีอยู่ในช่วงเวลาที่
ตัดสินใจเลือกโครงการ
20
การประเมินทางด้ านเศรษฐศาสตร์ (1)
แนวคิดพืน้ ฐาน
1. การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่ างจากัด ได้ แก่ ที่ดนิ แรงงาน ทุน
และทรัพยากรธรรมชาติ ไปอย่ างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้ อง
กับความต้ องการหรือวัตถุประสงค์ ของส่ วนรวมมากที่สุด
2. การวิเคราะห์ โครงการของรัฐจะต้ องนิยามผลตอบแทนในลักษณะที่
สะท้ อนถึงจุดมุ่งหมายของการพัฒนา ได้ แก่
• การเพิ่มรายได้ ของชาติให้ สูงขึน้
• การประหยัดค่ าใช้ จ่ายของชาติลง
โดยวิเคราะห์ ออกมาในรูปของผลตอบแทนส่ วนเพิ่มและค่ าใช้ จ่าย
ส่ วนเพิ่ม
21
การประเมินทางด้ านเศรษฐศาสตร์ (2)
แนวคิดพืน้ ฐาน
3. การนิยามค่ าใช้ จ่ายของโครงการใช้ หลักค่ าเสียโอกาส(Opportunity
Cost) ซึ่งหมายถึงผลตอบแทนที่ดที ่ สี ุดที่สูญเสียไป จากการใช้
ทรัพยากรไปในทางอื่น
22
สรุปประเด็นการวิเคราะห์ โครงการด้ านเศรษฐศาสตร์
• มุมมองของสังคมโดยส่ วนรวม
• เน้ นผลกาไรทางสังคม (Social Profit)
• ค่ าใช้ จ่ายที่ไม่ ทราบมูลค่ าเป็ นตัวเงินต้ องใช้ วิธีประเมินค่ า
เช่ น อุบัตเิ หตุ
• การตีค่าโครงการจะใช้ ราคาที่สะท้ อนมูลค่ าที่แท้ จริง เช่ น
ราคาเงา ราคาทางบัญชี ราคาตลาด
• ประโยชน์ จากโครงการต้ องประเมินมูลค่ าทางเศรษฐศาสตร์
เช่ นกัน
23
สรุปประเด็นการวิเคราะห์ โครงการด้ านเศรษฐศาสตร์
• การคิดผลตอบแทน
– เศรษฐศาสตร์
• คิดทัง้ ผลตอบแทนที่มีตัวตนและไม่ มีตัวตน
• ไม่ รวมเงินอุดหนุน
– การเงิน
• คิดเฉพาะผลตอบแทนที่มีตัวตน
• รวมเงินอุดหนุนด้ วย
24
สรุปประเด็นการวิเคราะห์ โครงการด้ านเศรษฐศาสตร์
• การคิดค่ าใช้ จ่าย
– เศรษฐศาสตร์
• ใช้ ค่าใช้ จ่ายที่แท้ จริงของสังคมจากการมีโครงการ
• คิดค่ าเสียโอกาสของการใช้ แรงงานและทุนของตนเอง
• ไม่ รวมค่ าดอกเบีย้ และค่ าภาษี
– การเงิน
• คิดเฉพาะค่ าใช้ จ่ายภายในโครงการ ไม่ รวมค่ าใช้ จ่ายทางอ้ อม
อื่นๆที่ตกแก่ สังคม
• ไม่ คดิ ในรู ปค่ าเสียโอกาส
• รวมค่ าดอกเบีย้ และค่ าภาษี
25
26