The market share
Download
Report
Transcript The market share
การแบ่ งส่ วนตลาดและการกาหนดตลาด
เป้ าหมาย
Marketing Process
กระบวนการทางการตลาด
แบ่งตลาด
segmenting
เลือกกลุ่ม
เป้ าหมาย
Targeting
วางตาแหน่ง
ทางการตลาด
Positioning
Market Segmentation
การแบ่ งส่ วนตลาด
การแบ่ งส่ วนตลาดและการกาหนดตลาดเป้ าหมาย
การแบ่ งส่ วนตลาด (Market Segmentation) หมายถึง
กระบวนการแบ่ งตลาดทั้งหมด ซึ่ งมีลักษณะแตกต่ า งกัน
สาหรับผลิตภัณฑ์ ใดผลิตภัณฑ์ หนึ่งออกเป็ นส่ วนเล็กๆ ที่มี
ลั ก ษณะคล้ า ยคลึ ง กั น และจะเลื อ กก าหนดเป็ นตลาด
เป้าหมายเพื่อที่จะวางแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ และกาหนด
ส่ วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix-4Ps) อืน่ ๆ ให้
สอดคล้ องกับเป้าหมายทีเ่ ลือกไว้ แล้ ว
เมื่อแบ่ งส่ วนตลาดแล้ วจะได้
ส่ วนของตลาด (Market Segment) กลุ่มของผูซ้ ้ื อที่มีความต้องการ
ผลิตภัณฑ์ที่เหมือนกัน
ตลาดเป้าหมาย (Tarket Market) กลุ่มผูบ้ ริ โภคที่ธุรกิจวางแผนที่จะ
เข้าไปตอบสนองความต้องการ
ส่ วนถือครองตลาด (Market Share) ส่ วนของตลาดที่ธุรกิจสามารถ
เข้าควบคุมได้ หรื ออัตราส่ วนยอดขาย
การกาหนดตาแหน่ งผลิตภัณฑ์ ในตลาด (Market Positioning)
กิ จกรรมการสร้ างตาแหน่ งทางการแข่งขันสาหรั บผลิ ตภัณฑ์และ
รายละเอียดของส่ วนประสมการตลาดสาหรับผลิตภัณฑ์
การแบ่ งส่ วนตลาดในอุตสาหกรรมท่ องเทีย่ ว
หมายถึง การแบ่ งกลุ่มนักท่ องเที่ยวออกเป็ นหลายๆ กลุ่มตาม
ลั ก ษณะความต้ อ งการ ความสนใจ และตามลั ก ษณะที่
คล้ ายคลึงกันของนักท่ องเที่ยวออกเป็ นตลาดย่ อยเพื่อกาหนด
เป็ นตลาดเป้าหมาย แล้ ววางแผนพัฒ นาผลิตภัณฑ์ และใช้
วิธีการหรือกิจกรรมทางการตลาดที่เหมาะสมเพือ่ ตอบสนอง
ความต้ อ งการนั้ นๆ ให้ นัก ท่ อ งเที่ยวได้ รับความพอใจ และ
เพือ่ ให้ ธุรกิจประสบความสาเร็จ
วิวฒ
ั นาการของแนวความคิดในการแบ่ งส่ วนตลาด
ตลาดรวม (Market aggregation) ลักษณะนี้จะไม่มีการแบ่งส่ วนตลาด
โดยใช้กฏเกณฑ์ใดๆทั้งสิ้ น
การแบ่ งส่ วนตลาด (Market Segmentation) เป็ นการแบ่งส่ วนตลาด
หนึ่งๆ เป็ นตลาดย่อยๆ โดยเมื่อแบ่งเป็ นตลาดย่อยแล้วจะเห็นถึงความ
แตกต่างและความหมายในแต่ละส่ วน
ลักษณะของการแบ่ งส่ วนตลาดทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ
ต้อ งสามารถหาข้อ มู ล เกี่ ย วกับ จ านวนลู ก ค้า ในแต่ ล ะส่ ว นได้ไ ม่ ย าก
(Measurability)
สามารถมุ่งการตลาดไปยังกลุ่มตลาดเป้ าหมายได้ (Accessibility)
เมื่อแบ่งตลาดแล้วควรมีจานวนลูกค้าในแต่ละส่ วนมากพอที่จะทากาไร
ให้แก่บริ ษทั ได้คุม้ ค่า (Substantial)
เมื่อแบ่งตลาดแล้ว แต่ละกลุ่มต้องการบริ การที่แตกต่างกัน (Defensible)
ความต้องการบริ การของนักท่องเที่ยวในแต่ละส่ วนแบ่งตลาด ต้องคงทน
ถาวรอย่างน้อย 5 ปี (Durable)
การแข่งขัน ต้องพิจารณาจานวนคู่แข่งขันในตลาดส่ วนนั้น
ประโยชน์ ของการแบ่ งส่ วนตลาด
สามารถใช้งบประมาณการตลาดได้คุม้ ค่าตรงกับความพอใจของ
นทท. แต่ละกลุ่ม
สามารถมองเห็นความต้องการของลูกค้าได้ชดั เจนขึ้น
วางตาแหน่งสิ นค้าบริ การได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพเหมาะกับลูกค้า
เป้ าหมาย
เลือกเครื่ องมือวิธีการส่ งเสริ มการจาหน่าย เพื่อจูงใจนักท่องเที่ยว
ให้ใช้บริ การได้
วิธีการแบ่ งส่ วนตลาดในอุตสาหกรรมการท่ องเทีย่ ว
พิจารณาจากเกณฑ์ ต่อไปนี้
ตามลักษณะทางภูมศิ าสตร์ (Geographic Segmentation) การแบ่ง
ตามถิ่นที่อยู่ ของนักท่องเที่ยวจากภูมิภาคต่างๆ ของโลก
ตามลักษณะของประชากร (Demographic Segmentation) การแบ่ ง
ตามลักษณะรวมหน่ วย (profile) ของนักท่ องเที่ยว ได้แก่ อายุ เพศ
การศึกษา ศาสนา อาชีพ ขนาดครอบครัว ฯลฯ
ตามลักษณะจิตวิทยา (Psychographic Segmentation) การแบ่งตาม
ลักษณะความสนใจ ทัศนคติ ค่านิยม ความชอบ ความรู ้สึกนึกคิด
แรงจูงใจ บุคลิกภาพ วัฒนธรรม แบบแผนการดารงชีวิต
ทัศนคติที่ดีต่อประเทศไทย (ททท.,2533)
อัธยาศัยไมตรีของคนไทย
ความสะดวกสบายของโรงแรมที่พกั
อาหารในร้ านอาหาร
ความสะดวกสบายและการบริการในการซื้อสิ นค้ า
การอานวยความสะดวกของสนามบิน
การบริการของโรงแรม
แหล่งบันเทิงยามราตรี
สถานทีท่ ่ องเทีย่ ว
การแสดงทางศิลปวัฒนธรรม
การบริการในร้ านอาหาร
การแบ่ งส่ วนตลาดตามพฤติกรรมการบริ โภคผลิตภัณฑ์
(Behavioristic Segmentation) การแบ่ งตามลักษณะ
พฤติกรรมการบริโภคของนักท่ องเทีย่ ว ได้ แก่
โอกาสในการซื้ อ (Purchase Occasion) แยกตามวัตถุประสงค์การ
เดินทาง เช่น ทางธุรกิจ การพักผ่อน
การแสวงหาผลประโยชน์ (Benefits Sought) ที่ควรได้รับมากที่สุด
จากการบริ โภคสิ นค้าการท่องเที่ยว เช่น นักธุรกิจต้องการการบริ การ
ระดับสู ง บริ การส่ วนตัวที่หรู หรา รวดเร็ ว สะดวกสบายถูกต้อง และ
ตรงเวลา ลูกค้ากลุ่มครอบครัว แสวงหาประโยชน์ที่จะได้รับร่ วมกัน
และจะขึ้ น อยู่กับ เด็ ก มากกว่ า ผูใ้ หญ่ ใ นการเลื อ กสถานที่ แ ละการ
บริ การการท่องเที่ยว
การแบ่ ง ส่ วนตลาดตามระดั บ ราคาของการบริ ก าร
(Price Segmentation) แบ่ งออกเป็ น 3 ระดับ คือ
ระดับหรู หรา (Delux Tourism) ต้องการการเอาใจใส่ มาก มีอานาจการ
ซื้อสูง ผูป้ ระกอบธุรกิจสามารถทากาไรได้มาก
ระดับปานกลาง (Middle Class Tourism) สามารถตอบสนองความ
ต้องการครบถ้วน ต้องการการบริ โภคที่เหมาะสม ผูป้ ระกอบการทากาไร
ได้ค่อนข้างมาก
ระดับมวลชน (Mass Tourism) นักท่องเที่ยวบริ โภคสิ นค้าและบริ การ
แบบเรี ยบง่าย ราคาถูก ไม่ตอ้ งเอาใจมาก ผูป้ ระกอบการทากาไรได้นอ้ ย
การแบ่ งส่ วนตลาดของการท่ องเที่ยวแห่ งประเทศไทย
ใช้ การพิจารณาจากจานวนนักท่ องเทีย่ ว ภาวะเศรษฐกิจและสั งคมของนักท่ องเที่ยว
ที่ เ ป็ นตลาดหลั ก นโยบายการบิ น พาณิ ช ย์ อั ต ราแลกเปลี่ย นเงิ น แนวโน้ ม และ
ศักยภาพของแต่ ละตลาด ดังนี้
ตลาดหลักที่มีศักยภาพสู ง (Hight Potential Markets) ได้แก่ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้
เยอรมนี ออสเตรเลีย อังกฤษ ฝรั่งเศล อิตาลี อเมริ การ
ตลาดใหม่ ที่มีศักยภาพสู ง (New Prime Markets) ได้แก่ จีน เนเธอร์ แลนด์ กรี ซ
บราซิล สหรัฐอาหรับเอมิเรต คูเวต ออสเตรี ย อัฟริ กาใต้
กลุ่มตลาดอื่นๆ (Other Prime Markets) มีการเดินทางมาบริโภคสิ นค้ าและ
บริ ก ารในระดั บ คงที่ ได้แ ก่ มาเลเซี ย ไต้ห วัน ฮ่ อ งกง สิ ง คโปร์ อิ น โดนี เ ซี ย
นิวซีแลนด์
การแบ่ งส่ วนตลาดของททท. (ต่ อ)
การแบ่งตามสภาพภูมิศาสตร์ และลักษณะของประชากร ได้แก่
ภูมิภาคเอเชียตะวันออก (East Asia)
ภูมิภาคยุโรป (Europe)
ภูมิภาคอเมริ กา (The Americas)
ภูมิภาคเอเชียใต้ (South Asia)
ภูมิภาคโอเซียเนีย (Oceania)
ภูมิภาคตะวันออกกลาง (Middle East)
ภูมิภาคอัฟริ กาใต้ (Africa)
กลุ่มตลาดเป้ าหมายทีส่ าคัญของธุรกิจโรงแรม
กลุ่มลูกค้านักธุรกิจ (Corporate/Business Clients)
กลุ่มลูกค้าจากบริ ษทั ทัวร์ (Group Tour)
กลุ่มลูกค้าที่เดินทางมาเอง (Free Individual Travellers)
กลุ่มลูกค้าโปรแกรมเหมารวมระหว่างและสุ ดสัปดาห์ของโรงแรม
(Weekend/Midweek package clients)
กลุ่มลูกค้าผูม้ าร่ วมงานประชุม (Conference Delegates)
กลุ่มลูกค้าสายการบิน (Crew Members)
กลุ่มลูกค้าที่ได้รับรางวัลจากบริ ษทั ตนเองให้มาเที่ยว (Incentive Group)
กลุ่มลูกค้าที่มากับคณะรัฐบาลต่างๆ เพื่อเจรจาธุรกิจ (Trade Mission)
กลุ่มตลาดเป้ าหมายทีส่ าคัญของธุรกิจการจัดนาเที่ยว
นิยมแบ่งกลุ่มจากลักษณะประชากร สถานภาพ พฤติกรรมการ
บริ โภค กิจกรรมการท่องเที่ยวและระดับราคา ดังนี้
กลุ่มตลาดชั้นดี
กลุ่มตลาดค่อนข้างดี จัดบริ การ Package Tour แบบพิเศษ
กลุ่มตลาดปานกลาง จัดบริ การ Package Tour แบบธรรมดา ระยะ
สั้น
กลุ่มตลาดประหยัด เดินทางระยะสั้น และมีงบประมาณจากัด
กลุ่มอิสระ หมายถึง บุคคลทัว่ ไปที่มาซื้ อบริ การบางจาก
กลุ่มตลาดเป้ าหมายทีส่ าคัญของธุรกิจการขนส่ ง
นิยมแบ่งตามระดับอัตราค่าโดยสาร และกลุ่มนักท่องเที่ยว ดังนี้
ผูโ้ ดยสารชั้นหนึ่ง (First Class Passengers)
ผูโ้ ดยสารชั้นธุรกิจ (Business Class)
ผูโ้ ดยสารชั้นประหยัด (Economy Class)
ผูโ้ ดยสารชั้นนักท่องเที่ยว (Tourist Class)
ผูโ้ ดยสารเช่าเหมาลา (Charter Groups)
ผูโ้ ดยสารภายในประเทศและระหว่างประเทศ (Domestic and
International Travellers)
กลุ่มตลาดเป้ าหมายทีเ่ กีย่ วข้ องในแหล่งท่ องเที่ยว
ธุรกิจที่เกี่ยวข้องได้แก่ ร้านค้า สวนสนุก และสถานที่ท่องเที่ยว
รู ปแบบต่างๆ กลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย ได้แก่
ประชาชนในท้องถิ่น (Local residents in the area)
นักทัศนาจรจากท้องถิ่นอื่นๆ (Day visits from outside local
area)
นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศ (Foreign Tourists)
นักท่องเที่ยวภายในประเทศ (Domestic Tourists)
นักเรี ยน นักศึกษา (School Parties)
เทคนิคของการแบ่ งส่ วนตลาดในอุตสาหกรรมการ
ท่ องเที่ยว
เป็ นการหาปัจจัยต่างๆ ที่เป็ นจุดร่ วมของความพอใจของนักท่องเที่ยว ดังนี้
ความชอบเหมือนหรื อคล้ายคลึงกัน
กิจกรรมการท่องเที่ยวตามศักยภาพของทรัพยากร
ศึกษาพฤติกรรมการบริ โภคของนักท่องเที่ยว
วัดจากจานวนนักท่องเที่ยวที่มีความสนใจเหมือนกัน
การเข้าถึงส่ วนแบ่งตลาด โดยใช้วิธีการส่ งเสริ มการตลาด
การป้ องกันให้พน้ จากคู่แข่ง พิจารณาจากลักษณะพิเศษของกลุม่
Target Marketing
การเลือกตลาดเป้ าหมาย
การเลือกตลาดเป้ าหมาย
(Target Market Selection)
คือ การเลือกส่ วน
ตลาดหนึ่งส่ วน หรือ
มากกว่ านั้น เป็ น
เป้ าหมาย สาหรับการใช้
ส่ วนประผสมทาง
การตลาด
Targeting
Market
(No Segment)
4P
Company
4P 1
Company
4P 2
Company
4P 3
A. Mass Marketing
Segment 1
Segment 2
Segment 3
B. Multi-Segmented Marketing
Company
4P1
Segment 1
C. Niche Marketing
กลยทุ ธ์ ตลาดรวม (Mass Marketing)
(Same product to all consumers, Use only one 4 Ps)
Marketing Mix
(4P)
No
Segment
ข้ อดี ประหยัดต้ นทุนการผลิต ค่ าใช้ จ่ายการตลาด ราคาสิ นค้ าถูกลง
จุดอ่อน สิ นค้ าอาจไม่ เป็ นทีพ่ อใจของลูกค้ าทุกราย คู่แข่ งอาจตอบสนองความ
ต้ องการลูกค้ าบางกลุ่มได้ ดกี ว่ า
Mass Marketing
กลยทุ ธ์ ตลาดหลายส่ วน (Multi-segment)
Different products to each segments
Company
4P 1
Company
4P 2
Company
4P 3
Segment 1
Segment 2
Segment 3
ข้ อดี กระจายความเสี่ ยง เพิม่ ส่ วนแบ่ งทางการตลาด
ข้ อเสี ย ต้ องสร้ างผลิตภัณฑ์ หลายชนิด ค่ าใช้ จ่ายทางการตลาดสู ง
Segment Marketing
กลยทุ ธ์ ม่ งุ เฉพาะตลาดส่ วนเดียว
(Single segment or Niche Marketing)
Company
4P1
ข้ อดี
Segment 1
- เข้ าใจในกลุ่มเป้าหมายเป็ นอย่ างดี
- เหมาะกับบริษทั ขนาดเล็ก
- ประหยัดทรัพยากร
ข้ อเสี ย - ขนาดของลูกค้ า
- มีความเสี่ ยงสู ง
Niche Marketing
การวางตาแหน่ งทางการตลาด
Market Positioning
การวางตาแหน่ งทางการตลาด
การหาจุดเด่ นของการค้ าหรือกิจการ การเข้ าไปครอบครอง
ตาแหน่ งหังใจของผู้บริโภคโดยเข้ าครอบครองไปในตาแหน่งที่
คู่แข่ งเข้ าไปไม่ ถงึ
Singha
Singha
Gold
Leo
Thai
Beer