HA &clinical tracer

Download Report

Transcript HA &clinical tracer

Hospital accreditation
Facilitator: รศ.นพ. ภาวิน พัวพรพงษ์
• Reference : สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
(องคการมหาชน)
www.ha.or.th
์
Hospital accreditation
การพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
กลไกกระตุ้นให้ เกิดการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล ควบคูไ่ ป
กับการเรี ยนรู้แลกเปลี่ยน และการรับรองจากองค์กรภายนอก
หลักการของ HA
ยึดผ้ ูป่วยเป็ นศูนย์ กลาง
ทางานเป็ นทีม
พัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
ขัน้ ตอนของ HA
การพัฒนาระบบงานภายในของโรงพยาบาลจะเป็ นไปอย่างเป็ น
ระบบทังองค์
้ กร ทาให้ องค์กรเกิดการเรี ยนรู้ มีการประเมินและพัฒนา
อย่างต่อเนื่องโดยใช้ แนวทางที่กาหนดไว้ ในมาตรฐาน
โรงพยาบาล (อนุวฒ
ั น์ ศุภชุติกลุ และคณะ 2542)
โดยมีกิจกรรมหลัก 3 ขัน้ ตอน คือ
1. การพัฒนาคุณภาพ
2. การประเมินคุณภาพ
3. การรับรองคุณภาพ
1.Quality Improvement
การพัฒนาคุณภาพ คือ การจัดระบบบริหารและระบบการทางานใน
โรงพยาบาลตามแนวทางที่กาหนดไว้ ในมาตรฐานโรงพยาบาล ซึง่ มุง่ เน้ น
การทางานด้ วยใจที่มงุ่ มัน่ ต่อคุณภาพของเจ้ าหน้ าที่, การทางานเป็ นทีม,
การตอบสนองความต้ องการของผู้ป่วยและผู้รับผลงาน, มีระบบตรวจสอบ
เพื่อแก้ ไขปรับปรุงด้ วยการประสานกิจกรรมการบริหารความเสี่ยง การ
ประกันคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องเข้ าด้ วยกัน
2.Quality assessment
การประเมินคุณภาพ โดย การตรวจสอบระบบงานและสิ่งที่
ปฏิบตั ิ กับข้ อกาหนดในมาตรฐานโรงพยาบาล ซึง่ จะทาโดย
1. โรงพยาบาล (Self assessment)
2. ผู้ประเมินภายนอก (External survey)
2.Quality assessment
1. Self assessment
เป็ นการประเมินตนเองเพื่อตรวจสอบความก้ าวหน้ าในการพัฒนา
คุณภาพ และตรวจสอบความพร้ อมที่จะได้ รับการประเมินและรับรอง
จากภายนอก
เพื่อค้ นหาโอกาสพัฒนา, การตรวจเยี่ยมเพื่อสังเกตการปฏิบตั ิงาน
จริง, การทบทวนแนวคิด แนวทางปฏิบตั ิ การปฏิบตั ิงานจริง และผลลัพธ์
ที่เกิดขึ ้น เพื่อนาไปสูก่ ารแก้ ปัญหาและพัฒนาวิธีการทางานอย่าง
ต่อเนื่อง
2.Quality assessment
2. External survey
การประเมินโดยผู้ประเมินภายนอกมี 3 ลักษณะ คือ
1. การประเมินความพร้ อมของโรงพยาบาล(Preparation Survey)
2. การประเมินเพื่อพิจารณารับรอง(Accreditation Survey)
3. การประเมินหลังการรับรอง
3. การรั บรองคุณภาพ
มีความมุงมั
่ ตอการพั
ฒนาคุณภาพ
่ น
่
มีกระบวนการทางานทีเ่ ป็ นมาตรฐาน
มีการบริหารงานทีเ่ ป็ นระบบ
มีระบบตรวจสอบตนเองทีน
่ ่ าเชือ
่ ถือ
มีกาลังคน สถานที่ และเครือ
่ งมือ เหมาะสม
เป้ าหมายของ HA
คือการส่งเสริมให้ ระบบบริการสุขภาพเกิดการพัฒนาคุณภาพอย่าง
ต่อเนื่อง เพื่อให้ เกิดคุณภาพ ความปลอดภัย และผลลัพธ์ สุขภาพ
ที่ดี
เริ่มจากบริการสุขภาพในโรงพยาบาล และบูรณาการเข้ ากับแนวคิด
การสร้ างเสริมสุขภาพ
อนาคตอาจจะขยายขอบเขตกว้ างขวางกว่าบริการสุขภาพใน
โรงพยาบาล ดังนัน้ HA จึงมีโอกาสที่ปรับจาก Hospital Accreditation
ไปสู่ Healthcare Accreditation
สถาบันรับรองคุณภาพ
องค์กรที่รับรองจะต้ องเป็ นองค์กรที่มีความเป็ นกลางและเป็ นที่เชื่อถือ
ของทุกฝ่ ายซึง่ เกิดจากความร่วมมือของหน่วยงาน/องค์กรที่เกี่ยวข้ อง
และผู้ทรงคุณวุฒิที่สงั คมยอมรับ ปั จจุบนั คือ สถาบันพัฒนาและรับรอง
คุณภาพโรงพยาบาล (สรพ.)
มิติของ HA
1) มิตขิ องลาดับขัน้ การพัฒนา
2) มิตขิ องพืน้ ที่การพัฒนา
3) มิตขิ องกระบวนการพัฒนา
4) มิตขิ องการประเมิน
มิติของ HA
1) มิตขิ องลาดับขัน้ การพัฒนา
ขัน้ ที่ 3
คือการสร้ างวัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรม
ความปลอดภัย และวัฒนธรรมการเรี ยนรู้ มีการนา
มาตรฐานมาปฏิบตั ิตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้
ขัน้ ที่ 2 คือการพัฒนาในส่วนต่างๆ ได้ แก่ หน่วยบริการ ระบบงาน
กลุม่ ผู้ป่วย และองค์กรของโรงพยาบาลอย่างเป็ นระบบ
ขัน้ ที่ 1
คือการเรี ยนรู้จากปั ญหาและเหตุการณ์ที่ไม่พงึ ประสงค์ โดยใช้ หลัก
คิด “ทางานประจาให้ ดี มีอะไรให้ คยุ กัน ขยันทบทวน”
มิติของ HA
2) มิตขิ องพืน้ ที่การพัฒนา
พืน้ ที่การพัฒนา 4 วง
เพื่อความครอบคลุมของระบบย่อยในองค์กร
มิติของ HA
3) มิตขิ องกระบวนการพัฒนา
4) มิตขิ องการประเมิน
Clinical tracer
PDSA
•Clinical Tracer มุง่ เน้ นการประเมินและ
เรี ยนรู้ (Learning & Improvement) เพื่อ
นาไปสูก่ ารปรับปรุงระบบ
ประโยชน์ ที่ได้รบั จาก HA
สังคม :
สังคมเกิดความเชื่อมัน่ ว่าโรงพยาบาลมีระบบการ
ทางานที่ไว้ ใจได้
ประชาชน :ทราบว่าควรให้ ความไว้ วางใจกับโรงพยาบาลใด
ผู้ป่วย : ได้ รับบริการที่มีคณ
ุ ภาพ ไม่เสี่ยงต่อการดูแลรักษาที่ไม่ได้
มาตรฐานหรื อถูกละเลย
ผู้ประกอบวิชาชีพ : ทางานภายใต้ ความเสี่ยงในระดับต่าที่สดุ
มีความราบรื่ นและคล่องตัวในการทางาน
ประโยชน์ ที่ได้รบั จาก HA
โรงพยาบาล : มีชื่อเสียงเป็ นที่ยอมรับ
องค์ กรผู้บริหารเงินกองทุนเพื่อสุขภาพ : มีข้อมูลเพื่อคัดเลือก
โรงพยาบาลที่จะให้ การดูแลผู้ป่วยซึง่ องค์กรนันดู
้ แลอยู่
องค์ กรวิชาชีพ : มีหลักประกันว่ามาตรฐานวิชาชีพ/ข้ อกาหนดต่างๆ
ถูกนาไปปฏิบตั ิ
Clinical tracer
Clinical tracer
ตัวตามรอยทางคลินิก คือสภาวะทางคลินิก (โรค หัตถการ
ปั ญหาสุขภาพ หรื อกลุม่ เป้าหมายก็ได้ ) ที่ใช้ ติดตามประเมิน
คุณภาพในแง่มมุ ต่างๆ
กระบวนการดูแลผู้ป่วย หรื อกระบวนการทางานในเรื่ องนัน,
้
กระบวนการพัฒนาคุณภาพ และองค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับ
คุณภาพ
สรุ ปแล้ วคือสามารถตามรอยได้ ในทุกองค์ ประกอบของ
มาตรฐานโรงพยาบาล
Clinical tracer
Clinical tracer
Clinical tracer
เป็ นหน้ าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้ องโดยตรงในการดูแลสภาวะทางคลินิกนัน้
เริ่มด้ วยการค้ นหาสิ่งดีๆ ที่มีอยู่แล้ วเป็ นอันดับแรก จากนันจึ
้ งทบทวน
เทียบกับเป้าหมายว่ามีอะไรที่สามารถพัฒนาให้ ดีขึ ้นได้
บันทึกเรื่ องราวการเกี่ยวกับคุณภาพของการดูแลผู้ป่วยในแง่มมุ ต่างๆ
ที่สาคัญ
ประโยชน์คือทาให้ โรคหรื อหัตถการที่เราสนใจเป็ นรูปธรรมที่
ชัดเจน จึงสามารถพิจารณาและพัฒนาคุณภาพด้ านคลินิกได้ โดยง่าย
Clinical tracer
การใช้ Clinical Tracer ตามรอยคุณภาพอย่ างง่ ายๆ
ให้ พิจารณาตามลาดับขันต่
้ อไปนี ้อย่างเชื่อมโยงกัน
1. โรค/หัตถการ/กลุม่ เป้าหมาย/สิ่งของ/ข้ อมูล อะไร
2. เรื่ องนี ้กับ รพ.ของเรา มีอะไรน่าสนใจ
3. ประเด็นสาคัญของเรื่ องนี ้ 2-5 ประเด็น
4. เป้าหมายของการดูแลผู้ป่วยกลุม่ นี ้/งานนี ้ (ตามประเด็นสาคัญ)
Clinical tracer
6. กระบวนการดูแลผู้ป่วยเพื่อบรรลุเป้าหมาย ขันตอนใดส
้
าคัญมาก ทา
ได้ ดีหรื อไม่ ดีอย่างไร จะทาให้ ดีขึ ้นได้ อย่างไร
7. กระบวนการพัฒนาคุณภาพ ใช้ แนวคิดและเครื่ องมืออะไรไปบ้ าง
อะไรยังไม่ได้ ใช้ ควรจะนามาใช้ หรื อไม่ อย่างไร
8. ระบบหรื อองค์ประกอบอื่นๆ ที่สาคัญเพื่อบรรลุเป้าหมาย มีอะไร ควร
ปรับปรุงอย่างไร
Clinical tracer
หัวข้ อหลักในการทบทวนได้ แก่
1) บริบท
2) ประเด็นสาคัญ
3) เป้าหมายและเครื่ องชี ้วัด สาคัญ
4) กระบวนการเพื่อให้ ได้ คณ
ุ ภาพ
5) แผนการพัฒนาต่อเนื่อง
Clinical tracer
หัวข้ อหลักในการทบทวนได้ แก่
1) บริบท
2) ประเด็นสาคัญ
3) เป้าหมายและเครื่ องชี ้วัด สาคัญ
4) กระบวนการเพื่อให้ ได้ คณ
ุ ภาพ
5) แผนการพัฒนาต่อเนื่อง
Clinical tracer
หัวข้ อหลักในการทบทวนได้ แก่
1) บริบท
2) ประเด็นสาคัญ
3) เป้าหมายและเครื่ องชี ้วัด สาคัญ
4) กระบวนการเพื่อให้ ได้ คณ
ุ ภาพ
5) แผนการพัฒนาต่อเนื่อง
Clinical tracer
หัวข้ อหลักในการทบทวนได้ แก่
1) บริบท
2) ประเด็นสาคัญ
3) เป้าหมายและเครื่ องชี ้วัด สาคัญ
4) กระบวนการเพื่อให้ ได้ คณ
ุ ภาพ
5) แผนการพัฒนาต่อเนื่อง
Clinical tracer
หัวข้ อหลักในการทบทวนได้ แก่
1) บริบท
2) ประเด็นสาคัญ
3) เป้าหมายและเครื่ องชี ้วัด สาคัญ
4) กระบวนการเพื่อให้ ได้ คณ
ุ ภาพ
5) แผนการพัฒนาต่อเนื่อง
ตัวอย่างClinical tracer
Postpartum hemorrhage
Prevention / Management
นพ.อมรินทร ์
นาควิเชียร
คณะแพทยศาสตร ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ตัวอย่างClinical tracer
1) บริบท
- จากสถิติขององค์การอนามัยโลกในปี 2006 ภาวะเลือดออก
รุนแรง ของมารดาในช่วงระหว่างคลอด เป็ นสาเหตุตายอันดับหนึ่งคิด
เป็ น 24% อัตราตายของมารดาทัว่ โลก
- จากสถิติของภาควิชาพบว่าภาวะนี ้พบได้ ประมาณ 1 % ของการ
คลอดทังหมด
้
แต่เมื่อเกิดขึ ้นแล้ วมีความรุนแรง เป็ นสาเหตุที่ทาให้
ผู้ป่วยเป็ นอันตรายถึงแก่ชีวิตเป็ นอันดับแรกของผู้ป่วยสูติศาสตร์
ตัวอย่างClinical tracer
1) บริบท
ในกรณีที่มีการตกเลือดหลังคลอด กาหนดแนวทางการปฏิบตั ิดงั นี ้
ตัวอย่างClinical tracer
1) บริบท
- ผลการดาเนินงานมีผ้ คู ลอดที่มีการตกเลือดหลังคลอดได้ รับการ
ดูแลตามขันตอนที
้
่กาหนดทุกราย แต่อย่างไรก็ตามในปี 2551 – 2552
ยังมีผ้ ปู ่ วยเสียชีวิตจากปั ญหาตกเลือดในระหว่างคลอดและหลังคลอด
เฉลี่ยปี ละ 1-2 ราย
- ภาควิชาและทีมนาทางคลินิกได้ ทบทวนเหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ ้น
จึงได้ จดั ทา Clinical tracer และ Clinical practice guideline (CPG)
เพื่อ การป้องกันและดูแลการตกเลือดหลังคลอดขึ ้น
ตัวอย่างClinical tracer
2) ประเด็นสาคัญ
จากกระบวนการทบทวนจากเหตุการณ์สาคัญ (กรณีมารดาตกเลือด
เป็ นอันตรายถึงชีวิต) ทาให้ พบความเสี่ยงสาคัญดังนี ้
1. รพ.ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพฯ เป็ นรพ.ระดับตติยภูมิ มีผ้ ปู ่ วย
ที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดปั ญหาตกเลือดหลังคลอด ทังที
้ ่เดินทางมาเอง
และรับส่งต่อจากรพ.ใกล้ เคียง แม้ จะมีการคัดกรองแยกความเสี่ยงของ
มารดาที่แผนกฝากครรภ์ แต่การสื่อสารระหว่างหน่วยงาน (แผนกฝาก
ครรภ์ ห้ องคลอด อาจารย์แพทย์ แพทย์ใช้ ทนุ ) ยังไม่มีความชัดเจน
เพียงพอ
ตัวอย่างClinical tracer
2) ประเด็นสาคัญ
2.พบผู้ป่วยที่มีปัญหาตกเลือดรุนแรง ในผู้ป่วยผ่าตัดคลอดเพิ่มขึ ้น ทังที
้ ่
ในระหว่างผ่าตัด และหลังผ่าตัดที่หอผู้ป่วย แต่มีมาตรการการเตรี ยมการตัง้
รับเฉพาะในห้ องคลอดดังนันจึ
้ งไม่ครอบคลุมผู้ป่วยที่ได้ รับการผ่าตัด
3. การหมุนเวียนของบุคลากรทังพยาบาล
้
นิสิตแพทย์ แพทย์ใช้ ทนุ
ชันปี
้ ที่1 เนื่องจากเป็ นระบบโรงเรี ยนแพทย์มีการหมุนเวียนของนิสิตแพทย์
และแพทย์ใช้ ทนุ ตลอดทังปี
้
4. ปั ญหาในการเก็บข้ อมูลที่ยงั ไม่ครบถ้ วน ทาให้ มีความยากลาบากใน
การนามาวิเคราะห์
ตัวอย่างClinical tracer
3) เป้าหมายและเครื่ องชี ้วัด สาคัญ
อ้ างอิงจาก ข้ อมูลระดับทีมนาคลินิก (Service Profile) ภาควิชาสูติศาสตร์ -นรี เวช
วิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ
(28 ธ.ค.2551) ตัวชี ้วัดสาคัญมีดงั นี ้
ตัวอย่างClinical tracer
4) กระบวนการเพื่อให้ ได้ คุณภาพ
ตัวอย่างClinical tracer
5) แผนการพัฒนาต่ อเนื่อง
Click for link
Clinical Practice
Guideline
Clinical practice guideline
CPG is a document with the aim of guiding decisions
and criteria regarding diagnosis, management, and
treatment in specific areas of healthcare.
Include summarized consensus statements on best
practice in healthcare.
Clinical practice guideline
Some guidelines contain decision or computation
algorithms to be followed.
Additional objectives of clinical guidelines are to
standardize medical care, to raise quality of care, to
reduce several kinds of risk
Clinical practice guideline
Example
LINK
CPG VS Clinical tracer
Tracer มุง่ ที่การวิเคราะห์สถานการณ์ การติดตามผลลัพธ์ เพื่อ
นามาสูก่ ารวางแผนพัฒนาต่อ หรื อเพื่อปรับวิธีการทางาน วิธีการ
พัฒนาคุณภาพในเรื่ องนันๆ
้
CPG มีเป้าหมายเพื่อนาความรู้ที่ถกู ต้ องมาใช้ ให้ เป็ นประโยชน์ตอ่
การดูแลผู้ป่วยCPG คือข้ อมูลชุดหนึ่งที่ช่วยในการตัดสินใจของผู้
ประกอบวิชาชีพ ถือว่าเป็ นเครื่ องมือในการช่วยดูแลผู้ป่วย
CPG เป็ นส่วนหนึง่ ของการ trace
• Reference :
>>สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องคการมหาชน)
์
www.ha.or.th
>>ภาควิชาสูต-ิ นรีเวช มหาวิทยาลัยศี รนตรินทรวิโรฒ
THANK YOU