PowerPoint Template

Download Report

Transcript PowerPoint Template

LOGO
ศูนย์ การเรียนรู้ทางการวิจัย
สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติ
การ Try Out แบบสอบถาม
และการคัดเลือกคาถามการวิจัย
#2
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุ ข
หัวหน้าศูนย์วจิ ยั เทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา
สานักวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
การคัดเลือกแบบสอบถามเพือ่ การวิจัย
1. ความตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity)
2. ความตรงเชิงโครงสร้ าง (Construct Validity)
3. ความตรงตามสภาพ (Concurrent Validity)
4. ความตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive Validity)
Content Validity
เครื่องมือ/แบบสอบถามที่สร้ างขึน้
ให้ ตรงตามโครงสร้ างนั้น มีความสอดคล้ อง
ระหว่ างเนือ้ หาสาระของเครื่องมือ
ที่สร้ างขึน้ กับเนือ้ หาสาระของสิ่ งที่ต้องการวิจยั /
วัตถุประสงค์ การวิจยั โดยแบบสอบถามที่
สร้ างขึน้ มานั้น ต้ องครอบคลุมกรอบของเนือ้ หา
(ตรงตามวัตถุประสงค์ กรอบแนวคิด/นิยามศัพท์ )
Construct Validity
การเครื่องมือ/แบบสอบถามที่สร้ างขึน้ นั้น สามารถวัด
คุณลักษณะ/ขอบเขตตามโครงสร้ างของเรื่องที่ทาการวิจัยได้
หรือไม่ โดยมีข้นั ตอนดาเนินการสร้ างเครื่องมือวิจัย ดังนี้

1. ผู้วจิ ัยพิจารณาจากวัตถุประสงค์ และกรอบแนวคิดการวิจัย เป็ นหลัก





2. การพิจารณาแนวคิด/ทฤษฎีและนิยามศัพท์ เฉพาะแนวทางฯ
3. การพิจารณาจากแบบสอบถามของผลงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ องด้ วย
4. การพิจารณาจากจานวนประชากรหรือขนาดกลุ่มตัวอย่ างทีใ่ ช้ ฯ
5. การพิจารณาสถิติทจี่ ะนามาใช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล/ตัวอย่ างฯ
ซึ่งทั้ง 5 ข้ อจะต้ องพิจารณาไปพร้ อม ๆ กันด้ วย
การตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ
การตรวจสอบโดยใช้ ผ้ ูเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง อย่ างน้อย 3
ท่ าน ตรวจสอบว่ า มีความครอบคลุมเนือ้ หาสาระ? โดย
สามารถใช้ แบบตรวจสอบเพือ่ ทดสอบว่ า ผู้เชี่ยวชาญมี
ความเห็นสอดคล้ องกันหรือไม่ (IOC : Index
Objective Congruence)
IOC หรือ ดัชนีความเห็นสอดคล้ องของผู้เชี่ยวชาญ
ถ้ าค่ า > 0.5 ถือว่ าข้ อคาถามนั้นสามารถนาไปใช้ ได้
การตรวจสอบคาถามตามวัตถุประสงค์ วจิ ัย
การจัดทาแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
แบบสารวจ หน้ า 1- 2
แบบสารวจหน้ า 3
กรอบความคิดของการวิจยั
 ตัวแปรต้ น
คณะ/สาขา/เพศ/ ...
 ตัวแปรตาม
 ด้าน 1
 ด้าน 2
 ด้าน 3
 ด้าน 4
 ด้าน 5
การวิเคราะห์ IOC ผิดพลาดนิดหน่ อย
การคัดเลือกคาถามการวิจัย
ท่ านอายุ .............. ปี
อายุระหว่ าง
 20 – 30 ปี
 31 – 40 ปี
 41 – 50 ปี
 สู งกว่ า 50 ปี
ควรจะเลือกลักษณะ
คาถามแบบใด ???
สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ การวิจัยและตัวแปรการวิจัย
ข้ อความ หรือภาษาที่ใช้ ในข้ อความต้ องชั ดเจน
หน่ วยงานของท่ านสั มผัสได้
ถึงปัญหาความอ่อนไหวทาง
อารมย์ ของผู้ปฏิบัตงิ าน
ผู้ปฏิบัตงิ านในหน่ วยงานของ
ท่ านมีปัญหาด้ านอารมย์
ข้ อคาถามไม่ ควรมากเกินไป
แบบสอบถามชุดนีม้ ีจานวน 5 ตอน 12 หน้ า
120 ข้ อ โปรดทาทุกหน้ าและตรวจสอบว่ าได้ ทา
ครบถ้ วนหรือไม่ คาถามของท่ านจะเป็ นประโยชน์
แก่ หน่ วยงาน
ไม่ ถามเรื่องทีเ่ ป็ นความลับ
ผู้บังคับบัญชาของท่ านเคยให้ ท่านเบิกจ่ ายเบีย้ เลีย้ ง
เกินจานวนที่ควรได้ รับ
เพือ่ นร่ วมงานของท่ านเคยมีปัญหาทางด้ านชู้ สาว
กับเพือ่ นร่ วมงานด้ วยกัน
ท่ านเคยพบว่ าหน่ วยงานมีการปิ ดบังซ่ อนเร้ น
อาพรางเอกสารสาคัญบางอย่ าง
ไม่ ควรใช้ ข้อความที่มีความหมายกากวม
หน่ วยงานอาจจะหรือไม่ แน่ ว่าจะปรับ
โครงสร้ างองค์ กรเร็ว ๆ นี้
ท่ านคิดว่ าไอคิวเด็กไทยต่าลงไม่ จริงเสมอไปที่
ขาดอะไรบางอย่ าง
ไม่ ถามในเรื่องทีร่ ู้ แล้ ว
ท่ านเห็นว่ าควรมีการขึน้ เงินเดือนโดยเร็วที่สุด
ท่ านทราบดีว่าการสู บบุหรี่เป็ นบ่ อเกิดของโรค
ร้ ายแรงต่ าง ๆ
คาถามต้ องเหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่ าง
กรณี กลุ่มตัวอย่างเป็ น นักเรี ยนชั้นประถมปี ที่ 3
นักเรียนเห็นว่ าควรให้ มีการทาแท้ งเสรีหรือไม่
นักเรียนคิดว่ าความขัดแย้ งทางโครงสร้ างสั งคมเกิด
จากปัญหาทางการเมืองเป็ นส่ วนใหญ่
คาถามควรถามเพียงประเด็นเดียว
ท่ านคิดว่ าปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อการเรียนรู้ ของนักเรียน
ประกอบด้ วยครู ผู้ปกครอง เพือ่ นและ
สภาพแวดล้ อมในชุมชน
ครูเป็ นปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อการเรียนรู้ของนักเรียน
ผู้ปกครองเป็ นปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อการเรียนรู้ของนักเรียน
เพือ่ นเป็ นปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อการเรียนรู้ของนักเรียน
สิ่ งแวดล้อมในชุ มชนเป็ นปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อการเรียนรู้ของนักเรียน
คาถามมีทิศทางเดียวกัน
สถานที่มีความเหมาะสม
อากาศถ่ ายเทได้ สะดวก
อุปกรณ์ มีความพร้ อมใช้ งาน
อาหารมีรสชาติแย่
บริการมีความเป็ นกันเอง
พืน้ ห้ องรักษาความสะอาดดี
มาก มาก พอใช้ น้ อย น้ อย
ทีส่ ุ ด
ทีส่ ุ ด
คาถามต้ องตรงกับการแปลผล
ผู้อานวยการมีพรหมวิหารสี่ ในการทางาน
การแปลผล





เห็นด้ วยมากทีส่ ุ ด
เห็นด้ วยมาก
เห็นด้ วยปานกลาง
เห็นด้ วยน้ อย
เห็นด้ วยน้ อยทีส่ ุ ด
มาตราวัดเหมาะสม
บทสรุป
การทดสอบแบบสอบถามเพือ่ การวิจยั
 แบบสอบถาม
 แบบทดสอบ
การคัดเลือกแบบสอบถาม
 การคัดเลือกโดยผู้เชี่ยวชาญ
 การคัดเลือกโดยการทดสอบ
 การใช้ วจิ ารณญาณของผู้วจิ ยั
LOGO
ศูนย์ การเรียนรู้ทางการวิจัย
สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุ ข
081-7037515
[email protected]
http://www.prachyanun.com