เอกสาร ประกอบ

Download Report

Transcript เอกสาร ประกอบ

ผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ผา่ นเว็บต่อพฤติกรรม
การเรียนรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุเนตร สืบค้า
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
[email protected]
facebook.com/sunate
twitter@AjSunate
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ
กลุ่มที่ผลิตเพื่อการค้า
• Education
Sphere
• Blackboard
• Desire2Learn
• ฯลฯ
Open Source
•
•
•
•
•
•
•
•
Moodle
ATutor
LearnSquare
Sakai
Claroline
Drupal
WordPress
ฯลฯ
Edu.Tools; http://www.edutools.info/index.jsp?pj=1
2
Moodle e-Learning?
ย่อมาจากคาว่า “Modular Object-Oriented Dynamic
Learning Environment”
พัฒนาโดย Dr.Martin Dougiamas ชาวออสเตรเลีย
ในปี ค.ศ. 2008 Google ได้มอบรางวัล Google-O’Reilly Open
Source Award Winners ประเภท Best Education
Enabler
ข้อมูลเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2554 พบว่าปจั จุบนั Moodle มีภาษารองรับ
ทัง้ สิน้ 86 ภาษา (http://download.moodle.org/lang16/)
3
Moodle e-Learning?
http://www.google.com/trends
4
Moodle vs. open source อืน่ ๆ
http://www.google.com/trends
5
Moodle vs. กลุ่มที่ผลิตเพื่อการค้า
http://www.google.com/trends
6
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
การเรียนการสอนแบบออนไลน์อย่างเดียว ผูเ้ รียนขาดการพัฒนาการทางอารมณ์
(EQ)
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานขึน้ เรียกว่า “Blended/Hybrid
Learning” อันเป็ นการผสมผสานวิธกี ารทีห่ ลากหลายเพือ่ ใช้ในการจัดการ
เรียนการสอน ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้โดยการสอนในชัน้ เรียนร่วมกับการสอน
ผ่านเว็บ เชื่อว่าการเรียนในรูปแบบผสมผสานนี้จะช่วยให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูไ้ ด้
อย่างมีประสิทธิภาพมากทีส่ ดุ
7
Generation Y Children
Y ย่อมาจาก Why I was Born
8
วัตถุประสงค์ของการวิจยั
เพื่ อศึ กษาความมี ประสิ ทธิ ภาพของ บทเรี ย น
คอมพิ ว เตอร์ผ่า นเว็บ ด้ ว ยโปรแกรมมูเ ดิ้ ล ในวิ ช า
วก 341 หลักกระบวนทางการวิศวกรรมเกษตร
9
10
1. ประชากร
ประชากรนักศึกษาทุกคน (40 คน) ทีล่ งทะเบียนเรียนวิชา วก 341
หลักกระบวนการทางวิศวกรรมเกษตร สาขาวิศวกรรมเกษตร คณะ
วิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในภาค
การศึกษาที่ 2/2553
 วิชาบังคับก่อน วก 206 กลศาสตร์ของไหล
 บรรยาย 2 ชม ปฏิบตั ิ 3 ชม./สัปดาห์
11
2. เครือ่ งมือการวิจยั
2.2
2.1
แผนการสอนมีการ
จัดกิจกรรมการเรียน
การสอนที่เน้ นให้
ผูเ้ รียนเกิดทักษะ และ
มีการศึกษาดูงาน
นอกสถานที่
การสอนปกติในชัน้
เรียนร่วมกับการใช้
บทเรียนคอมพิวเตอร์
ผ่านเว็บด้วย
โปรแกรมมูเดิ้ล
12
13
2.3
การเก็บรวบรวมข้อมูล
 ขอความร่วมมือจากประชากรนักศึกษา เพือ่ ขอให้ผเู้ รียนกรอกแบบสอบถาม
ในห้องเรียน ในสัปดาห์สดุ ท้ายของภาคการศึกษา
 ใช้ความถี่ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน โดยแบ่งระดับความ
พึงพอใจออกเป็ น 5 ระดับ ตามเกณฑ์ของ John W. Best (Best,
1978 อ้างถึงใน วิภาวรรณ และคณะ, 2552)
 1.00 – 1.49 หมายถึงระดับความพึงพอใจน้อยทีส่ ุด
 1.50 – 2.49 หมายถึงระดับความพึงพอใจน้อย
 2.50 – 3.49 หมายถึงระดับความพึงพอใจปานกลาง
 3.50 – 4.49 หมายถึงระดับความพึงพอใจมาก
 4.50 – 5.00 หมายถึงระดับความพึงพอใจมากทีส่ ุด
14
15
1. ลักษณะส่วนบุคคลของผูเ้ รียน
 การวิเคราะห์แบบสอบถามชีใ้ ห้เห็นว่า
นักศึกษาส่วนใหญ่เป็ นเพศชาย คิดเป็ นร้อยละ 72.50
อายุเฉลีย่ 21.39 0.97 ปี
ศึกษาในสาขาวิศวกรรมเกษตร ชัน้ ปีท่ี 3 คิดเป็ นร้อยละ 67.4
เกรดเฉลีย่ ในภาคการศึกษาทีผ่ า่ นมา 2.45  0.33
นักศึกษาส่วนใหญ่มคี อมพิวเตอร์สว่ นตัวใช้ คิดเป็ นร้อยละ 97.50
16
1. ลักษณะส่วนบุคคลของผูเ้ รียน (ต่อ)
ความสะดวกสะบายในการท่องเว็บ จากที่พกั คิดเป็ นร้อยละ 62.50
และจากมหาวิทยาลัย คิดเป็ นร้อยละ 50.00
ระยะเวลาในการท่องเว็ป 1 – 3 ชัวโมงต่
่
อวัน คิดเป็ นร้อยละ 42.50
ระยะเวลาศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บด้วยโปรแกรมมูเดิล้ น้อย
กว่า 2 ชัวโมงต่
่
อสัปดาห์ คิดเป็ นร้อยละ 35.0
นักศึกษาร้อยละ 75.0 ไม่เคยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บ ด้วย
โปรแกรมมูเดิล้ มาก่อน
17
ตารางที่ 1 กิจกรรมทีผ่ ้ เู รียนนิยมใช้ ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ ผ่านเว็บด้ วยโปรแกรมมูเดิล้
กิจกรรม
ทำแบบทดสอบหลังเรี ยน
ดำวน์โหลดเอกสำรประกอบกำรสอน
ส่ งงำนผ่ำน Moodle
ดูคะแนนสอบ / แบบทดสอบ / รำยงำน / กำรบ้ำน
ศึกษำจำกแหล่งควำมรู ้ต่ำง ๆ ที่แนะนำในบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ผำ่ นเวบ
ถำม-ตอบปั ญหำเกี่ยวกับกำรเรี ยนกำรสอน (กระดำนเสวนำ)
ร้ อยละ
47.8
21.7
11.6
11.6
4.3
2.9
18
ตารางที่ ก.1 ทัศนคติต่อการใช้ Moodle e-Learning
19
ตารางที่ ก.1 ทัศนคติต่อการใช้ Moodle e-Learning (ต่อ)
20
ตารางที่ ก.1 ทัศนคติต่อการใช้ Moodle e-Learning (ต่อ)
21
ตารางที่ ก.1 ทัศนคติต่อการใช้ Moodle e-Learning (ต่อ)
22
งานวิจยั ที่สอดคล้องกับประเด็นที่พิจารณา
 เชษฐา (2552) และ Whattananarong (2005) ทีศ่ กึ ษาการรับรูข้ อง
นักศึกษาต่อการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ผา่ นเว็บทีพ่ ฒ
ั นาบนโปรแกรมมูเดิล้ ใน
รายวิชา ชีวสถิติ ระดับปริญญาตรี ชัน้ ปี 2 จานวน 51 คน แสดงให้เห็นว่า
ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนไม่ได้ขน้ึ อยูก่ บั คุณภาพของสือ่ การเรียนการสอนแบบ
ออนไลน์อย่างเดียว ยังขึน้ อยูก่ บั การเข้าถึงบทเรียนออนไลน์ ลักษณะส่วนบุคคล
ของผูเ้ รียน และคุณภาพการสอนของผูส้ อนซึง่ มีอทิ ธิพลอย่างยิง่ ต่อการยอมรับ
ของผูเ้ รียน
23
การสังเกตุการเปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรม
การสังเกตแบบทดสอบหลังเรียน 25 ครัง้ การบ้านทัง้ งานกลุ่มและงานเดีย่ ว พบว่า
 นักศึกษาเข้ามาทาแบบทดสอบและส่งการบ้านตรงตามเวลา
 นักศึกษาส่งงานมากขึน้
 คุณภาพของงานดีขน้ึ
ชีว้ า่ บทเรียนคอมพิวเตอร์ผา่ นเว็บด้วยโปรแกรมมูเดิล้ มีสว่ นช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการ
เรียนการสอน
24
 ควรใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ผา่ นเว็บด้วยโปรแกรมมูเดิล้ เป็ นสือ่ เสริมเท่านัน้ โดยงานวิจยั ของ
กาญจนา (2548) แนะนาว่าควรเรียนกับอาจารย์เป็ นหลัก (ร้อยละ 80) และเรียนกับ elearning เป็ นสือ่ เสริม (ร้อยละ 20) หากจะใช้เป็ นสือ่ หลักทัง้ หมดสือ่ ทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ และผูส้ อน
จะต้องผ่านการประเมินจากผูท้ รงคุณวุฒ ิ ครูและผูเ้ รียนทีเ่ กีย่ วข้องก่อน [ปรัชญนันท์ และคณะ
, 2551]
การศึกษาอิทธิพลของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ผา่ นเว็บควรมีการใช้บทเรียน
คอมพิวเตอร์ผา่ นเว็บอย่างน้อยติดต่อกันประมาณ 1 ภาคการศึกษาขึน้ ไป
วิธกี ระตุน้ ให้ผเู้ รียนสนใจใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ผา่ นเว็บยิง่ ขึน้ ควรมีการเพิม่ เติม
เครือ่ งมือ / อุปกรณ์ต่าง ๆ ดังตารางที่ 2
25
ตารางที่ 2 เครื่ องมือ/อุปกรณ์ที่ตอ้ งกำรให้เพิ่มเติมบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ผำ่ นเวบด้วยโปรแกรมมูเดิ้ล
ข้ อเสนอแนะ
เลือก
ไม่ เลือก
มีเวบช่องทำงให้ผเู้ รี ยนสำมำรถพูดคุย / แชร์ขอ้ มูลกันได้
97.4
2.6
มีฟังก์ชนั่ ฟังเพลงออนไลน์ / วิทยุออนไลน์
82.1
17.9
มีเครื่ องมือค้นหำ (Search engines) หน้ำเวบ Moodle
92.3
7.7
มีเกมส์คล้ำยคลึงกับเกมส์ใน Facebook
53.8
46.2
มีโปรแกรมต่ำง ๆ ให้ download
97.5
2.5
มีปฏิทินกิจกรรมว่ำแต่ละชัว่ โมงจะเรี ยนอะไรบ้ำง เพื่อเตรี ยมตัวล่วงหน้ำ
95.0
5.0
มีแกลอรี่ รูปภำพภำพกิจกรรมเพื่อให้นกั ศึกษำเข้ำมำ Upload files
88.1
11.9
มีแกลอรี่ VDO บันทึกกำรสอนเพื่อให้นกั ศึกษำมำทบทวนกำรเรี ยนกำรสอน
97.4
2.6
มีหอ้ งสนทนำกับผูส้ อน (Chat room)
94.9
5.1
26
27
1. สรุปผลการวิจยั
กำรใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ผ่ำนเวบด้วยโปรแกรมมูเดิ้ล มี ส่วนช่วย
เพิ่มประสิ ทธิ ภำพกำรเรี ยนกำรสอน
ผูเ้ รี ยนชอบและเหนประโยชน์ของกำรใช้สื่อเสริ มผ่ำนเทคโนโลยีเวบ
ด้วยโปรแกรมมูเดิ้ล แต่ไม่ได้ช่วยทำให้ผลสัมฤทธิ์ ทำงกำรเรี ยนดีข้ ึน
28
2. ข้อเสนอแนะ
ควรมี ก ำรจัด เตรี ย มควำมพร้ อ ม ด้ำ นอุ ปกรณ์ และระบบเครื อ ข่ ำ ยอิ น เทอร์ เ น ต หำก
อุปกรณ์และระบบเครื อข่ำยไม่มีประสิ ทธิ ภำพ หรื อมีกำรจัดกำรไม่ดี อำจส่ งผลล่ำช้ำใน
กำรเข้ำสู่บทเรี ยน ทำให้ควำมสนใจและตั้งใจของผูเ้ รี ยนลดลง
ไม่ ค วรจะใช้บ ทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ผ่ำ นเว บเป นสื่ อ หลักอย่ำ งเดี ย ว แต่ ค วรใช้บ ทเรี ย น
คอมพิ ว เตอร์ ผ่ำ นเว บเป นสื่ อ กำรสอนเพิ่ ม เติ ม จำกกำรเรี ย นกำรสอนปกติ ใ นชั้น เรี ย น
เนื่องจำกผูเ้ รี ยนจะไม่สำมำรถสื่ อควำมรู ้สึก หรื ออำรมณ์ในกำรเรี ยนรู ้ได้อย่ำงแท้จริ ง ทำให้
ผูเ้ รี ยนขำดกำรพัฒนำทำงด้ำนควำมเฉลียวฉลำดทำงอำรมณ์ (Emotional Quotient, EQ)
และจริ ยธรรมในกำรเข้ำเรี ยนเนื่องจำกสำมำรถให้ผอู้ ื่นเข้ำเรี ยน หรื อทำข้อสอบแทนตนเอง
ได้โดยกำร log in เข้ำมำในระบบซึ่ งไม่สำมำรถตรวจสอบได้
29
 ขอขอบคุณนักศึกษาทุกคนทีใ่ ห้ความร่วมมือในการตอบ
แบบสอบถาม
 อาจารย์ภาคศิร ิ ทองเสน สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ทีช่ ว่ ยตรวจพิสจู น์
บทคัดย่อ
30
31
[email protected]
facebook.com/sunate
twitter@AjSunate