Literacy, Numeracy *** Reasoning

Download Report

Transcript Literacy, Numeracy *** Reasoning

การพัฒนาและการประเมินความสามารถของ
ผูเ้ รียน: Literacy, Numeracy และ Reasoning
ดร.สมพงษ์ ปั ้นหุ่น
ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์ คณะศึกษศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา
กรอบการนาเสนอ
• ทาไมเด็กไทยต้องพัฒนา Literacy
• Literacy, Mathematical literacy, Reasoning Skills คืออะไร
• การพัฒนาเด็กไทยให้เกิด Language Literacy, Mathematical
literacy, Reasoning Skills นั้นทาอย่างไร
• จะรูไ้ ด้อย่างไรว่าจะต้องพัฒนาอะไร และอย่างไร
• การประเมิน Language Literacy, Mathematical literacy,
Reasoning Skills ทาอย่างไร
• การแปลผลและการนาผลการประเมินไปใช้
มองอดีต ปั จจุบนั อนาคตการศึกษาไทยที่ทาให้เด็กไทยด้อย Literacy
นโยบายการศึกษาของชาติแบบไม้หลักปั ก
ขี้เลน พวกมากลากไปและยุคใครสมัยใคร
ต้องตามใจฉัน สั ่งการ
การนาผลการประเมิน
ไปใช้ในทางที่มีส่วนได้
ส่วนเสียสูง จับผิด โยน
ความผิด ก่นด่า โทษ
กันไปมา
ปรากฏการณ์
ไฟไหม้ฟาง
เก่งพูดไม่เก่งทา เก่ง
คิดไม่กล้าทา คิดดี
แต่หน้าที่ไม่ใช่
วัฒนธรรมแบบเห็น
ช้างขี้ตามช้าง ใคร
ทาดีฉนั ตาม แฟชั ่น
นิยม อยากได้แต่ไม่
ลงทุน ฝันกลางวัน
ผูร้ บั กรรม(เหยื่อ): นักเรียน ครู โรงเรียน ผูป้ กครอง
ความจาเป็ นที่เด็กไทยต้องมี LNR
• ผลการประเมินของ OECD (PISA) ด้าน Scientific Literacy,
Mathematical Literacy และ Reading Literacy ของนักเรียนไทยปี 2000
– 2009 ต ่ากว่าค่าเฉลี่ย
• สมรรถภาพวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และการอ่านของนักเรียนไทย
ประมาณ 70% อยูใ่ นระดับพื้นฐานและต ่ากว่าพื้นฐาน
• ผล PISA ตกต ่าซ้ าซาก (สมรรถภาพฯ ขั้นสูง นักเรียนไทยมีไม่ถึง 1%)
• คะแนน NT สมรรถภาพด้านการรูห้ นังสือ คณิตศาสตร์และเหตุผลของ
นักเรียนชั้น ป.3 ปี 2555 มีคะแนนเฉลี่ยไม่ถึง 50%
• เป้าหมาย สพฐ.ยกระดับคะแนน ONET ทุกระดับ มุ่งการอ่านออก เขียน
ได้ คิดเลขเป็ น (ป.3) อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่องและมีทกั ษะ
การคิดพื้นฐาน (ป.6)
Defining and conceptualizing literacy
1. literacy as an autonomous set of
skills;
2. literacy as applied, practised and
situated;
3. literacy as a learning process;
4. literacy as text.
Literacy is the ability to read and use written information
and to write appropriately and legibly, taking account
of different purposes, contexts, conventions and
audiences.
Literacy is defined in PISA as the ability to understand,
use and reflect on written texts in order to achieve
one’s goals, to develop one’s knowledge and potential,
and to participate effectively in society. (OECD, 2009,p14)
It involves the development of:
a) an integrated approach to the acquisition of
talking, listening, reading and writing skills across
the curriculum;
b) knowledge that allows a speaker, writer and
reader to use language appropriate to different
social situations;
c) formal and informal language across all areas of
social interaction; and
d) the ability to read, understand and use
information in multiple formats and platforms,
including traditional print and on-screen material.
นิยามของ Numeracy
• Numeracy is the ability to apply appropriate mathematical
skills and knowledge in familiar and unfamiliar contexts
and in a range of settings throughout life, including the
workplace.
• Mathematical literacy is mathematical knowledge,
methods, and processes applied in various contexts in
insightful and reflective ways (de Lange). According to de
Lange, mathematical literacy is the overarching literacy
that includes numeracy, quantitative literacy and spatial
literacy.
• Numeracy is the ability to access, use, interpret and
communicate mathematical information and ideas, in order
to engage in and manage the mathematical demands of a
range of situations in adult life. (OECD, 2012)
It involves the development of:
a) an understanding of key mathematical
concepts and their inter-connectedness;
b) appropriate reasoning and problemsolving skills;
c) the proficient and appropriate use of
methods and procedures (formal and
informal, mental and written); and
d) active participation in the exploration of
mathematical ideas and models.
“Mathematical literacy is an individual’s capacity to identify
and understand the role that mathematics plays in the world,
to make wellfounded Judgements and to use and engage
with mathematics in ways that meet the individual’s life as a
constructive, concerned and active citizen.”
Importantly, this description goes beyond mere
computation – it includes essential skills such as
*solving problems,
*understanding and explaining the solutions,
*making decisions based on logical thinking and
reasoning,
*interpreting data, charts and diagrams.
The age of information technology presents us with
more data than ever before and puts an ever greater
premium on numeracy skills and understanding.
(National numeracy for life: UK, 2013)
นิยามของ Reasoning Ability
The ability to reason systematically and carefully develops when students
are encouraged to make conjectures, are given time to search for evidence
to prove or disprove them, and are expected to explain and justify their
ideas.“(NCTM, 2000, p. 122)
มาตรฐานการ
เรียนรู ้
O
การจัดการ
เรียนรู ้
L E
การวัดและ
ประเมิน
วงจรกระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเ้ รียน
แนวทางการพัฒนาและส่งเสริม Literacy, Numeracy, Reasoning skills
• พ่อแม่ตอ้ งมีขอ้ มูลสาคัญเกี่ยวกับกิจกรรมหรือสิ่งที่ช่วยส่งเสริมและพัฒนา
numeracy and literacy
• พ่อแม่ตอ้ งเข้าใจระดับความสาเร็จของ numeracy and literacy ของนักเรียน
• พ่อแม่ตอ้ งมีการประสานงานกับโรงเรียนเพื่อศึกษาวิธีการเรียนรูข้ องเด็ก
• ครูตอ้ งมีความรูแ้ ละความเข้าใจโปรแกรมการพัฒนา numeracy and literacy
อย่างชัดเจน
•ครูให้คุณค่ากับการประเมินและการวิเคราะห์ผลการประเมินที่ถูกต้องเพื่อนาไปใช้
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน
• ครูให้ความสาคัญกับการประเมินเชิงวินิจฉัยผูเ้ รียนเพื่อจะใช้เป็ นข้อมูลสาหรับ
การพัฒนาผูเ้ รียนได้ตรงและตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนของนักเรียนเป็ น
รายบุคคล
• ครูตอ้ งมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน มีความเป็ นมืออาชีพในการ
สอนเพื่อพัฒนาผลการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน
• นักเรียนต้องระบุสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู ้
ตัวอย่าง แนวการสอนคาศัพท์ใหม่และความคิดรวบยอดใหม่
•หาหรือกาหนดคาศัพท์ใหม่
•ทบทวนความรูท้ ี่มีอยูเ่ ดิม
•จาลองการใช้คาใหม่ในบริบทต่าง ๆ ที่หลากหลาย
•ให้ตวั เลือกหลาย ๆ อย่างหรือรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับคาศัพท์ยาก
•ใช้แผนที่คาหรือแผนภาพแสดงความเชื่อมโยงระหว่างคาศัพท์ใหม่กบั ความรูเ้ ดิม
•ระดมสมองนักเรียนเกี่ยวกับคาศัพท์หรือความคิดรวบยอดใหม่
•ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับคาศัพท์ใหม่ อาจนาเสนอเป็ นรูปภาพ
•เสนอรายละเอียดหรือตัวอย่างเกี่ยวกับศัพท์หรือความคิดรวบยอดใหม่ 3-4 ประเด็น บนกระดาน
•ให้ขอ้ มูลเพิ่มเติม เช่น คู่มือ หรือใบความรูท้ ี่ทาเครื่องหมายคาศัพท์ใหม่ให้สงั เกตเห็นดด้ชดั เจน
•จาลองกลยุทธ์ที่ทาให้เข้าใจเรื่องราวใหม่ดว้ ยการอ่าน
•ค้นหาคาจากสื่อต่าง ๆ เช่น เว็บ พจนานุ กรม อภิธานศัพท์
•เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รียนฝึ กใช้คาใหม่เป็ นคู่หรือเป็ นกลุ่มย่อย
•ใช้เทคโนโลยีช่วยเพื่อให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูอ้ ย่างลึกซึ้ ง เช่น คลิปวิดีโอ หรือรูปภาพ
•ให้ขอ้ มูลป้อนกลับด้วยการชี้ แนะในการฝึ กหรือฝึ กใช้คาใหม่ซ้า ๆ
•หาคาที่อยูใ่ นกลุ่มเดียวกัน ความหมายใกล้คียงกัน แล้วพิจารณาความเหมือน ความต่างของคาเหล่านั้น
•ชี้ หรืออธิบายส่วนประกอบของคา (เช่น prefixes and suffixes) และอภิปรายความหมายที่เปลี่ยนดป
การวิเคราะหคุ
่ การสอนและการ
์ ณลักษณะเพือ
ประเมิน
กลุมสาระฯ............ชั
น
้ ....ปี การศึ กษา......
่
มาตรฐา Literacy/
น/
คุณลักษ
ตัวชีว้ ด
ั
แนวการ
สอน/
พัฒนา
(กิจกรรม)
O
L
ณะ
รายการที่
มุงวั
่ ด
วิธ ี
ประเมิน
E
เครือ
่ งมือ
ประเมิน
การวิเคราะหคุ
่ การสอนและการประเมิน LNR
์ ณลักษณะเพือ
กลุมสาระฯ...ภาษาไทย.........ชั
น
้ ...ป.1.....ปี การศึ กษา...2556...
่
Literacy/ มาตรฐาน/
คุณลักษ ตัวชีว้ ด
ั ตาม
ณะ
หลักสูตร
Reading
Literacy
ตาม
ตัวชีว้ ด
ั
1-3
ท1.1 ใช้
กระบวนการ
อานสร
่
้าง
ความรู้
ความคิดฯ
ตัวชีว้ ด
ั
ป.1/2-1/4
แนวการสอน/
พัฒนา
(กิจกรรม)
รายการที่
มุงวั
่ ด
วิธป
ี ระเมิน
1.สอดแทรก
การสอนในวิชา
ภาษาไทยเรือ
่ ง
.....................
(จัดเป็ นกิจกรรม
เสริมในชุมนุม
เช่น กิจกรรม
รักการอานฯ)
่
2. สอนสอดแรก
ในวิชาสั งคม
เรือ
่ ง......แผนที่
..........
การรู้
ความหมาย
คา
เครือ
่ งหมาย
เรือ
่ งราว
ข้อเท็จจริง
การทดสอบ
ประเมินผล
งาน
ซักถาม
เครือ
่ งมือ
ประเมิน
แบบสอบ
เลือกตอบ
แบบประเมินผล
งาน
แบบสอบปาก
เปลา่
วิเคราะห์ครบทุกตัวชี้วัดทั้ง ป. 1-3 จากนั้นนาไปปรับ/สอดแทรกลงในแผนการสอน
ปกติในแต่ละชั้นปี หรือเขียนแผนขึ้นมารองรับ
การประเมินเพื่อการเรียนรู ้ (Assessment for Learning)
การตรวจสอบความก้าวหน้าของผูเ้ รียนในการจัดการเรียนการสอน
ใช้วิธีการประเมินทั้งเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการตามสภาพจริง เน้น
การให้ขอ้ มูลป้อนกลับเพื่อการปรับปรับปรุงการสอนของครูและผลการ
เรียนรูข้ องผูเ้ รียน เกิดขึ้นตลอดเวลาในระหว่างการจัดการเรียนการสอน
เช่น การสังเกต การซักถาม การสะท้อนการทางาน การสอบย่อยฯลฯ
การประเมินที่ทาให้
เกิดการเรียนรู ้
(Assessment as Learning)
เป็ นการตรวจสอบ
ความก้าวหน้าทางการ
เรียนของผูเ้ รียนเมื่อ
ผูเ้ รียนมีการสะท้อนผล
การประเมินของตนเอง
และเรียนรูว้ ่าจะต้อง
พัฒนาอะไรที่เป็ นอ่อน
และส่งเสริมจุดแข็ง เช่น
กาหนดเป้าหมายของ
ตนเองหลังจากการ
การประเมินตัดสินการเรียนรู ้ (Assessment of Learning)
ประเมิน การบันทึกการ
การตรวจสอบผลสรุปรวมที่เกิดขึ้นจาการจัดการเรียนการสอนของ
ผูเ้ รียนเพื่อตัดสินผลการเรียนรู ้ ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลจากหลายแหล่ง เรียนรู ้ การตรวจสอบ
ผลงานของตนตามเกณฑ์
เพื่อยืนยันความสาเร็จของผูเ้ รียนตามวัตถุประสงค์ เช่น การสอบที่เป็ น
มาตรฐาน การตรวจผลงานตามเกณฑ์ หรือวิธีการอื่น ๆ ที่มุ่งเน้นสรุปผล การให้คะแนนหรือแฟ้ ม
สะสมงาน
รวม
เป็ นทักษะ
สาคัญของ
วิชาชีพครู
เป็ นหัวใจ
สาคัญของการ
เรียนการสอน
ในห้องเรียน
ไวตอ
่
ความรูสึ้ ก
และ
สร้างสรรค ์
เสริมสราง
้
แรงจูงใจ
ส่งสริมความ
เข้าใจเกีย
่ วกับ
เป้าหมาย
เกณฑ ์
ช่วยให้ผู้
เรียนรูว
้ าต
่ อง
้
พัฒนา
อยางไร
่
พัฒนา
ความสามาร
ถ ในการ
วัดและ
ประเมิน
การวัดและประเมินเพือ
่ การเรียนรู้
(assessment for learning)เป็ น
เน้นวิธก
ี าร
กระบวนการในการคนหาและ
้
เรียนรูของ
้
ตีความหมายหลักฐานตาง
ๆ ที่
่
ผู้เรียน
เกีย
่ วกับการเรียนรูโดยนั
กเรียนและครู
้
เพือ
่ นาไปใช้ในการตัดสิ นใจเกีย
่ วกับ
รับรู้ผล
ระดั
บ
การเรี
ย
นรู
ของนั
ก
เรี
ย
น
เป็ นส่วน
้
สั มฤทธิทาง
์
เป้าหมายการเรียนรูที
่ ้เรี
ู ยนจะตอง
การศึ กษา
้ ผ
้
หนึ่งของ
ทัง้ หมด
บรรลุ และการบรรลุเป้าหมายทีต
่ อง
้
างไร
หลักการของการวัไปให
ดและประเมิ
นเพื
่ การเรียนรูส
้ถึงนั้นทาอย
่ อ
้ าหรับใช้
เป็ นแนวทางการปฏิบต
ั ใิ นห้องเรียนบนฐานของผลการวิจย
ั
การวัดและประเมินเพือ
่ การเรียนรู้
การสร้างข้อสอบวัดLNR
ประเภทของแบบทดสอบ
• Summative testing
►Achievement tests
► Proficiency tests
► Placement tests
•  Formative Testing
► Diagnostic tests
► Progressive tests
35
ประเภทของคาถาม
1. คาถามวัดความรู้ ทักษะและผลการปฏิบตั งิ าน
Knowledge, Skill, Performance
2. คาถามวัดความรอบรู้ วัดศักยภาพและวัดความเร็ว
Mastery, Power and Speed
3. คาถามแบบเลือกตอบและเขียนตอบ Selected
Response and Constructed Response
36
รู ปแบบของข้ อสอบ




แบบเลือกตอบ (MC)
แบบเลือกหลายคาตอบ
(Multiple
Response)



แบบจับคู่
แบบเติมคาสัน้
(Filling gap)
แบบความเรี ยง
แบบเรี ยงและจัดอันดับ
แบบถูก-ผิด
Olsen, J.B., 2000
37
ตารางวิเคราะหโครงสร
างข
อสอบ
(Test Blueprint)
์
้
้
สาระการเรียนรู/ความสามารถ….................………ชั
น
้
้
......................
สาระ/
ระดับพฤติกรรม
รูปแบบขอสอบ (จานวนขอ)
มาตรฐานการ
เรียนรู้ /
ตัวชีว้ ด
ั /
ความสามารถ
ความสามารถดาน
้
การอาน
่
ความสามารถใน
การเขียน
ความสามารถใน
การพูด
ความสามารถใน
การสื่ อสาร
ความสามารถดาน
้
การฟัง
้
จา ใจ ใช้
้
วิ ปร สราง
แบบเลือกตอบ
้
เติม ตอบ
ะเมิ สรร
ตัวเลือก หลาย เลือกตอ คาสั้ น อิสร รวม
น ค์
ถูกทีส
่ ุด ตัวเลือ
บ
ะ
ก
เชิงซ้อน
บัตรข้อสอบ
รหัส
รายละเอียดของขอสอบ
้
ชือ
่ วิชา/ กลุมสาระ
่
ระดับชัน
้
มาตรฐาน/ตัวชีว้ ด
ั
ตัวชีว้ ด
ั
ชนิดข้อสอบ
พฤติกรรมทีว่ ด
ั
รูปแบบขอสอบ
้
ข้อที.่ .......
เกณฑการให
้คะแนน
์
อค
ขัน
้ ตอนการสรางข
้ าถาม
้
Curriculum
Test
Map
Blueprint
Specificatio
ร
าง
่
ns
เขียนข้อสอบ
ตรวจสอบ
ทบทวน
ขอสอบ
้
การตรวจสอบ
เนื้อหา/
ความลาเอียง
ขอสอบ
้
ข้อสอบสาหรับ
การทดลองใช้
การวิเคราะห ์
คุณภาพ
ข้อสอบ/แบบ
สอบ
ตัวอย่างข้อสอบวัด Literacy
ความสามารถ: literacy
ตัวชี้วัด 1.วิเคราะห์เรื่องราวที่อ่านดด้ถกู ต้อง
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด ท 1.1 ป.3/5
พฤติกรรม การวิเคราะห์
ข้อสอบ
การปรุงอาหารด้วยวิธีการทอด เป็ นการทาอาหารให้สุกโดยใส่
เนื้ อสัตว์หรือผักลงในกระทะที่ต้งั จนน้ ามันร้อน เมื่อทอดเสร็จแล้ว
ควรให้อาหารที่ทอดสะเด็ดน้ ามัน ใช้กระดาษซับน้ ามันดูดซับน้ ามัน
ออกจากอาหารที่ทอดดด้ อาหารที่ผ่านการสะเด็ดน้ ามันเป็ นอย่างดี
จะคงความกรอบให้ยาวนานดด้อีกด้วย
จากเนื้อเรื่องข้อใดเกี่ยวข้องกับเรื่องราว
ก. อาหารทอดรับประทานมากดม่ดี
ข. อาหารทอดต้องกรอบอร่อย
ค. การปรุงอาหารด้วยการทอดสุดยอด ง. อาหารทอดที่อร่อยต้องดม่อมน้ ามัน
ความสามารถ: literacy
ตัวชี้วัด 1.บอกความหมายของคาและประโยคจากเรื่องที่อ่าน
มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชีว้ ัด ท 1.1 ป.3/2
พฤติกรรม เข้ าใจ
ข้ อสอบ
มีคากล่ าวว่ า “ทัง้ ที่ร้ ูว่าไม่ มีใครหนีพ้น เมื่อพูดถึงความตาย ต่ างก็
เกิดทุกข์ ใจ ความกลัวที่สุดของมนุษย์ คือความตาย เพราะยังไม่
อยากตาย” ข้ อความนีอ้ ธิบายได้ ตรงกับข้ อใดมากที่สุด
ก. ความตายเป็ นทุกข์
ข. ไม่ มีผ้ ูใดอยากตาย
ค. ความทุกข์ หนีไม่ พ้น
ง. ความกลัวคู่กับมนุษย์
1. บทความเรื่อง อึสุขภาพดี หน้าตา
เป็ นอย่างไร? มีจดุ ประสงค์อย่างไร
ก.เพื่อบอกวิธีเลือกรับประทานอาหาร
ข.เพื่อให้ดแู ลรักษาสุขภาพตนเอง
ค.เพื่อให้สงั เกตและดูแลผูป้ ่ วย
ง.เพื่อติดตามอาการป่ วยของตนเอง
3. อึสุขภาพดี หน้าตาเป็ น
อย่างไร? บอกว่าอึมีกี่สี
ก. 2 สี
ข. 3 สี
ค. 4 สี
ง. 5 สี
2. ข้อใดไม่ใช่ อาการอึของคนสุขภาพดี 4. อึสุขภาพดี หน้าตาเป็ น
อย่างไร? มีประโยชน์กบั ใคร
ก. ขับถ่ายลื่นไหลไม่สะดุด
ก. คนไข้
ข. ไม่ตอ้ งเบ่งจนหน้าดาหน้าแดง
ข. แพทย์
ค. หลังถ่ายรูส้ ึกสบายตัวสบายใจ
ค. พยาบาล
ง. เกิดความรูส้ ึกอยากถ่ายตลอดเวลา
ง.คนทั ่วไป
อ่านบทร้อยกรองต่อไปนี้ แล้วตอบคาถามข้อ 5 – 6
ลูกไก่ลกู แกะ
ลูกแพะเพื่อนกัน
ลูกหมาเพื่อนฉัน
เพื่อนกันมาเจอะ
เราทาดีดี
จะมีเพื่อนเยอะ
ไม่ทาเลอะเทอะ
พอเถอะไม่ดี
5. จากบทกลอนกล่าวถึงสัตว์ท้งั หมดกี่ตวั
ก. 3 ตัว
ข. 4 ตัว
ค. 5 ตัว
ง. 6 ตัว
6. บทร้อยกรองนี้หมายความว่าอย่างไร
ก. ให้ทาดีกบั เพื่อน
ข. ให้เพื่อนทาดีกบั เรา
ค. ต้องมีเพื่อนเยอะ
ง. มีเพื่อนเยอะเลอะ
ตัวอย่างข้อสอบวัด Numeracy
ความสามารถ: numeracy
ตัวชี้วัด ทักษะการคิดคานวณ
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การบวก การลบ
พฤติกรรม การนาดปใช้
ข้อสอบ
มีนักเรียนทั้งหมด 15 คน ขาดเรียนดป 4 คน นักเรียนมาโรงเรียน
มีจานวนมากกว่าคนดม่มากี่คน
ก. 5 คน
ข. 6 คน
ค. 7 คน
ง. 11 คน
ตัวอย่างข้อสอบ Numeracy
1. ต้องวาดรูป
เพิ่มอีก
เท่าใด จึงจะได้จานวน 9
ก. 5 จุด
ค. 7จุด
ข. 6 จุด
ง. 8 จุด
2. 18= 5
ตัวเลขที่หายไปทั้งสองคือ
ข้อใด
ก. 7, 6
ข. 7, 7
ค. 8, 6
ง. 8, 7
ตัวอย่างข้อสอบวัดความมีเหตุผล
1. เครื่องดีด : จะเข้ เครื่องสี : …………….. จงเลือกคาที่
เหมาะสมมาเติมในช่ องว่ าง
ก. ซอด้ วง
ข. ระนาดเอก
ค. ขลุ่ยเพียงออ
ง. ปี่ มอญ
2. เครื่องดีด : กีตาร์ เครื่องเป่ า : …………….. จงเลือกคาที่
เหมาะสมมาเติมในช่ องว่ าง
ก. เปี ยโน
ข. ฮาร์ ป
ค. แซกโซโฟน
ง. กลองใหญ่
ตัวอย่างข้อสอบวัดความมีเหตุผล
กาหนดให้
1) สุนขั ทุกตัวมีความซื่อสัตย์
2) ………?…………
ผล : เจ้าแดงมีความซื่อสัตย์
ประโยคที่ 1 ฟั กทองเป็ นพืชล้มลุก
ประโยคที่ 2 พืชล้มลุกทุชนิดเป็ น
วัชพืช
สรุป
ฟั กทองเป็ นวัชพืช
ถ้าผลสรุปเป็ นเช่นข้างต้นแล้ว เหตุในข้อ
ข้อสรุปถูกต้องหรือไม่
ที่ 2 ตรงกับข้อใด
ก) ถูก
ก.
เจ้
า
แดงไม่
ใ
ช่
ส
ุ
น
ข
ั
ข) ผิด
ข. เจ้าแดงเป็ นสุนขั
ค) ไม่แน่ใจ
ค. เจ้าแดงเป็ นสิ่งมีชีวิต
ง) ข้อมูลไม่เพียงพอต่อการสรุป
ง. เจ้าแดงเป็ นสิ่งไม่มีชีวิต
ตัวอย่างข้อสอบวัดความมีเหตุผลด้านภาษา
ตัวอย่างข้อสอบวัดความมีเหตุผล
คาชี้แจงสาหรับคาถามข้อ 1-2
ให้ท่านพิจารณาข้อความในคาถามในข้อ 11 ถึงข้อ 13 แล้วตัดสินว่าข้อความในข้อนั้น
ๆ ใช้ขอ้ ตกลงเบื้องต้นในข้อใดอธิบายได้ชดั เจน โดยเลือกคาตอบจากตัวเลือกต่อไปนี้
ก. ข้อตกลงเบื้องต้นข้อ 1 ช่วยขยายความได้ชดั เจนเพียงข้อเดียว
ข. ข้อตกลงเบื้องต้นข้อ 2 ช่วยขยายความได้ชดั เจนเพียงข้อเดียว
ค. ข้อตกลงเบื้องต้นข้อ 1 หรือ 2 ไม่ช่วยขยายความให้ชดั เจน
ง. ข้อตกลงเบื้องต้นทั้งสองข้อช่วยขยายความได้ชดั เจน
1. ข้อความ การประชุมคณะบริหารของสถาบันในครั้งต่อไปจะเป็ นปี ถัดไป
ข้อตกลงเบื้องต้น 1. สถาบันจะยังคงมีการดาเนินงานหลังจากนี้ไปอีก 1 ปี
2. คณะกรรมการบริหารจะหมดวาระในปี หน้า (ง)
2. ข้อความ
เงินเป็ นรากเหง้าของปั ญหาครอบครัว
ข้อตกลงเบื้องต้น 1. ปั ญหาทุกปั ญหาจะมีสาเหตุมาจากสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
2. มีปัญหาเกิดขึ้นเสมอในครอบครัว (ก)
Qualitative Fluency Rubric
• Rubric Score 1:
– All reading is done word by
word.
– Long pauses between words.
– Little evidence of phrasing.
– Little awareness of
punctuation.
– There may be 2 word phrases,
but word groupings are often
awkward.
• Rubric Score 3:
– Reading is done as a mixture
of word by word reading,
fluent reading, and phrased
reading.
– Attention to punctuation and
syntax with rereading for
problem solving
• Rubric Score 2:
– Most reading is done word by word.
– Some 2 word phrasing.
– Expressive interpretation may result
in longer examples of phrasing.
– Inconsistent application of
punctuation and syntax with
rereading for problem solving.
• Rubric Score 4:
– Reading is in large, meaningful
phrases.
– Few slow-downs for problem solving
of words or to confirm accuracy.
– Expressive interpretation is evident
throughout reading.
– Attention to punctuation and syntax
is present.
Writing About Reading Rubric
• Score 1:
– The drawing or
writing reflects little
or no understanding
of the text.
• Score 2:
– The drawing or
writing reflects some
understanding of the
text.
• Score 3:
– The drawing or writing
reflects sufficient
understanding of the
text.
• Score 4:
– The drawing or writing
reflects understanding
of the text beyond
grade level
expectations.
การแปลผลและการนาผลการประเมินไปใช้
•
•
•
•
•
•
•
แปลผลตามระดับความสามารถของผู้เรี ยน
ผลสะท้ อนความสามารถในการสร้ าง/แสวงหาความรู้ ของผู้เรี ยน
เน้ นรายบุคคลมากกว่ าอิงกลุ่ม
เน้ นการวินิจฉัยที่นาไปสู่การปรั บปรุ งแก้ ไขผู้เรี ยน
ทานายความสาเร็จในอนาคต
ไม่ ตัดสินได้ ตก
ผู้เรี ยนสามารถเรี ยนรู้ ได้ ด้วยตัวเอง ด้ วยวิธีการเรี ยนรู้ ของตนเอง