การพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย

Download Report

Transcript การพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย

บทที่ 2 แนวคิดหลักของการพยาบาล
อ.ดร.จันทร์ทิรา เจียรณัย
เค้ าโครงเนือ้ หา
• ตอนที่ 1 ขอบเขตวิชาชีพพยาบาล
– ลักษณะงานพยาบาล
– จรรยาบรรณวิชาชีพ
– การพิทกั ษ์สิทธิผปู้ ่ วย
• ตอนที่ 2 ภาวะสุ ขภาพ การเจ็บป่ วยและการพยาบาล
– ภาวะสุ ขภาพและการเจ็บป่ วย
– การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะเจ็บป่ วยวิกฤต
– การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะเจ็บป่ วยเรื้ อรัง
– การพยาบาลประคับประคอง
วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาบทที่ 2 จบแล้วนักศึกษาสามารถ
1. มีความรู ้ ความเข้าใจในขอบเขตของวิชาชีพพยาบาล
2. มีความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะสุ ขภาพ การเจ็บป่ วยและ
แนวคิดการพยาบาลผูป้ ่ วย
แนวคิดขอบเขตวิชาชีพพยาบาล
• วิชาชีพพยาบาลเป็ นวิชาชีพทีเ่ กีย่ วข้ องกับการดูแลมนุษย์ โดยการประยุกต์ ใช้
องค์ ความรู้ จากทฤษฎีไปสู่ การปฏิบัติ
• เป็ นวิชาชีพทีต่ ้ องได้ รับการศึกษาหรือฝึ กฝน มีค่านิยมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
มีอสิ ระในการทางานและมีความยึดมั่นผูกพันต่ อวิชาชีพ (Chitty, 2001) และมี
เอกสิ ทธิ์ (Autonomy) ทีถ่ ูกต้ องตามกฎหมายทีไ่ ด้ รับความเชื่อถือ
• วิชาชีพพยาบาล หมายถึง วิชาชีพทีใ่ ห้ บริการเพือ่ ตอบสนองความต้ องการของ
สั งคมในด้ านสุ ขภาพทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุ มชน ในภาพทีม่ สี ุ ขภาพดี
หรือเจ็บป่ วยเพือ่ ให้ การดูแลช่ วยเหลือ ฟื้ นฟูสภาพ ป้ องกันโรคและส่ งเสริม
สุ ขภาพ รวมทั้งการช่ วยเหลือแพทย์ ทาการรักษาโรค ทั้งนีต้ ้ องอาศัยความรู้ เฉพาะ
ทางการพยาบาลในการปฏิบัติงาน (Ellis & Hartley, 2002)
ขอบเขตวิชาชีพพยาบาล
เรื่องที่ 1 ลักษณะงานพยาบาล
– นิยามศัพท์เกี่ยวข้อง
– คุณลักษณะเฉพาะของวิชาชีพพยาบาล
– สมรรถนะวิชาชีพพยาบาล
เรื่องที่ 2 จรรยาบรรณวิชาชีพ
เรื่องที่ 3 การพิทกั ษ์ สิทธิผ้ ปู ่ วย
–
–
–
–
แนวคิดเกี่ยวกับสิ ทธิ
สิ ทธิมนุษยชน
สิ ทธิของผูป้ ่ วย
บทบาทพยาบาลในการพิทกั ษ์สิทธิผปู้ ่ วย
ลักษณะงานพยาบาล
• พยาบาลเป็ นบุคลากรด้านสุ ขภาพที่มีบทบาทสาคัญในการให้การพยาบาลที่
ครอบคลุมองค์ประกอบของงานบริ การสาธารณสุ ขทุกระดับ ทั้งบทบาทด้าน
การสร้างเสริ มสุ ขภาพ การป้ องกันโรค การบาบัดรักษาพยาบาล และการช่วย
ฟื้ นฟูสภาพ ทั้งในสถานพยาบาลและในชุมชน ผูร้ ับบริ การมุ่งหวังที่จะได้รับ
การตอบสนองความต้องการที่มีคุณภาพ ซึ่ งในทีมสุ ขภาพนั้นวิชาชีพ
• พยาบาลนับเป็ นวิชาชีพที่มีความสาคัญในการดูแล ช่วยเหลือรวมทั้งพิทกั ษ์
สิ ทธิ ผปู ้ ่ วยและช่วยอานวยความสะดวกให้ผรู ้ ับบริ การได้รับบริ การที่มี
มาตรฐาน
• ดังนั้นเพื่อทาความเข้าใจในลักษณะงานของพยาบาลที่ชดั เจนพยาบาลจึงต้อง
มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับนิ ยามที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและการ
ประกอบวิชาชีพ คุณลักษณะของพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาล
นิยามศัพท์ เกีย่ วข้ อง
•
•
"การพยาบาล" การกระทาต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือเมื่อ
เจ็บป่ วย การฟื้ นฟูสภาพ การป้ องกันโรค และการส่ งเสริ มสุ ขภาพ รวมทั้งการ
ช่วยเหลือแพทย์กระทาการรักษาโรค ทั้งนี้ โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์ และศิลปะ
การพยาบาล
"การประกอบวิชาชีพการพยาบาล" การปฏิบตั ิหน้าที่การพยาบาลต่อบุคคล
ครอบครัว และชุมชน โดยกระทาการสอน การแนะนา การให้คาปรึ กษาและการ
แก้ปัญหาเกี่ยวกับสุ ขภาพอนามัย บรรเทาอาการของโรค การลุกลามของโรค
และการฟื้ นฟูสภาพ การกระทาตามวิธีที่กาหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้นและ
การให้ภมู ิคุม้ กันโรค ช่วยเหลือแพทย์กระทาการรักษาโรค โดยใช้กระบวนการ
พยาบาล
นิยามศัพท์ เกีย่ วข้ อง
• “ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล" บุคคลซึ่งได้ข้ ึนทะเบียนและรับ
ใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาลจากสภาการพยาบาล
• “การผดุงครรภ์ " การกระทาเกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือ
หญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด และทารกแรกเกิด รวมถึงการตรวจ
การทาคลอด การส่ งเสริ มสุ ขภาพและป้ องกันความผิดปกติในระยะ
ตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด รวมทั้งการช่วยเหลือ
แพทย์กระทาการรักษาโรค ทั้งนี้โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์และ
ศิลปะการผดุงครรภ์
นิยามศัพท์ เกีย่ วข้ อง
•
•
“การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ " การปฏิบตั ิหน้าที่การผดุงครรภ์ต่อ
หญิงมีครรภ์หญิงหลังคลอด ทารกแรกเกิดและครอบครัว โดยการกระทา
ต่อร่ างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิด
เพื่อป้ องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยังหลัง
คลอด การตรวจ การทาคลอด และการวางแผนครอบครัวช่วยเหลือแพทย์
กระทาการรักษาโรค
"ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ " บุคคลซึ่ งได้ข้ ึนทะเบียนและรับ
ใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์จากสภาการพยาบาล
ใบประกอบวิชาชีพ
ใบประกอบวิชาชีพ
ใบประกอบวิชาชีพ
คุณลักษณะเฉพาะของวิชาชีพพยาบาล
• เป็ นการบริ การแก่สังคม ช่วยเหลือ และสนับสนุนให้มนุษย์ดารงรักษา
สุ ขภาพอนามัยที่ดี และความเป็ นอยูท่ ี่ดีในสังคม ซึ่ งต้องอาศัยทั้งหลักศิลปะ
และวิทยาศาสตร์ ในการปฏิบตั ิงาน และความรับผิดชอบต่อตนเองและ
วิชาชีพ
• เป็ นการปฏิบตั ิต่อมนุษย์โดยตรง และเป็ นการปฏิบตั ิต่อธรรมชาติของบุคคลที่
มีความแตกต่างกัน ดังนั้น กระบวนการพยาบาลจึงเป็ นกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ในการที่จะรวบรวมปั ญหา เผชิญปั ญหาและแก้ไข โดยพื้นฐาน
ความเข้าใจในลักษณะของบุคคลที่มีความแตกต่างกัน
คุณลักษณะเฉพาะของวิชาชีพพยาบาล
• เป็ นการปฏิบตั ิหน้าที่ตอ้ งเข้าไปมีส่วนร่ วมกับผูป้ ่ วย / ประชาชน /
ชุมชน ดังนั้นสิ่ งสาคัญในการปฏิบตั ิ คือ การเข้าไปสัมผัสรับรู ้
ข้อมูล ข่าวสาร ประสบการณ์ชีวิต ความเชื่อ ค่านิยม ทัศนคติ
รวมทั้งวัฒนธรรมของชุมชน สังคม ซึ่งต้องใช้ความรู ้ความสามารถ
ในหลายๆ ด้านเพื่อให้เข้าถึงสิ่ งเหล่านี้ และมีส่วนร่ วมในการทางาน
ออกความเห็นและการตัดสิ นใจ มีความคิดสร้างสรรค์ รับผิดชอบ
ต่อตนเองและสังคม
• มีความเป็ นอิสระควบคุมนโยบายและกิจกรรมการปฏิบตั ิของตนได้
คุณลักษณะเฉพาะของวิชาชีพพยาบาล
• มีองค์ความรู ้ของวิชาชีพตนเอง มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยการ
วิจยั อย่างเป็ นระบบ
• ผูป้ ระกอบวิชาชีพยึดถือปฏิบตั ิการบริ การด้วยจิตวิญญาณ ด้วยความ
เอื้ออาทร รับผิดชอบต่อตนเอง งานและวิชาชีพ มีการควบคุม
ลักษณะของการปฏิบตั ิอยูเ่ สมอ
• มีจรรยาบรรณวิชาชีพเป็ นแนวทางการพิจารณาตัดสิ นใจและการ
ปฏิบตั ิของผูป้ ระกอบวิชาชีพ
• มีองค์กรวิชาชีพที่ส่งเสริ ม สนับสนุน และพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ
และการประกอบวิชาชีพ
สมรรถนะวิชาชีพพยาบาล (Competency)
• พฤติกรรมที่เกิดจากผลรวมของความสามารถด้านความรู ้ ทักษะ เจตคติ ความชานาญ
แรงจูงใจและคุณลักษณะของบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ทาให้บุคคลนั้นสามารถปฏิบตั ิ
กิจกรรมได้สาเร็ จ หรื อคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่ทาให้บุคลากรในองค์กรปฏิบตั ิงาน
ได้ผลงานที่โดดเด่นกว่าคนอื่นๆ ในสถานการณ์ที่หลากหลายและได้ผลงานดีกว่าผูอ้ ื่น
• สมรรถนะวิชาชีพพยาบาล หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออกถึงความสามารถของ
พยาบาลวิชาชีพที่เกี่ยวกับความรู ้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ตลอดจนบุคลิกลักษณะใน
การปฏิบตั ิการพยาบาลอย่างมีประสิ ทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการของสังคม ตาม
ขอบเขตหน้าที่รับผิดชอบของพยาบาลได้อย่างมีประสิ ทธิภาพตามมาตรฐานที่ได้กาหนด
ไว้และผูร้ ับบริ การปลอดภัย
• และต้องอาศัยช่วงเวลาเพื่อเรี ยนรู้และสัง่ สมประสบการณ์ จนสามารถพัฒนาทักษะความ
ชานาญในการทางานให้พฒั นาขึ้นเรื่ อยๆ จากพยาบาลจบใหม่ที่สามารถเรี ยนรู้งานใน
ระดับง่ายไม่ยงุ่ ยากไปสู่ พยาบาลผูเ้ ชี่ยวชาญ (novice to expert)
สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ
•
•
•
•
•
•
•
•
สมรรถนะด้านจริ ยธรรม จรรยาบรรณและกฎหมาย
สมรรถนะด้านการปฏิบตั ิการพยาบาลและการผดุงครรภ์
สมรรถนะด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ
สมรรถนะด้านภาวะผูน้ า การจัดการและการพัฒนาคุณภาพ
สมรรถนะด้านวิชาการและการวิจยั
สมรรถนะด้านการสื่ อสารและสัมพันธภาพ
สมรรถนะด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศและการนาเสนอ
สมรรถนะเชิงสังคม
จรรยาบรรณแห่ งวิชาชีพ (Code of Ethics)
• จรรยาบรรณวิชาชีพถือเป็ นเอกภาพของวิชาชีพที่ครอบคลุมการปฏิบตั ิหน้าที่
ทางจริ ยธรรมสาหรับพยาบาลในทุกด้าน ทุกสถานที่และทุกตาแหน่งหน้าที่
• การประกาศจรรยาบรรณวิชาชีพจึงเป็ นการแสดงออกในความรับผิดชอบทาง
จริ ยธรรมของพยาบาลและเป็ นหลักในการประกอบวิชาชีพให้มีมาตรฐาน
เดียวกัน และยังเป็ นการสื่ อสารที่ช่วยให้ผรู ้ ับบริ การและทีมสหสาขาวิชาชีพ
ได้ทราบถึงจรรยาบรรณที่พยาบาลยึดถือในการประกอบวิชาชีพ
• และแสดงถึงความมุ่งมัน่ ของพยาบาลในการประกอบวิชาชีพ ซึ่ งเปรี ยบ
ประดุจเครื่ องมือประเมินผลพฤติกรรมของพยาบาลในการปฏิบตั ิวิชาชีพโดย
ผูใ้ ช้บริ การ ผูร้ ่ วมงาน และผูเ้ กี่ยวข้อง รวมทั้งใช้สาหรับการประเมินผล
ตนเอง
จรรยาบรรณวิชาชีพของสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย
•
•
•
•
•
จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อประชาชน
จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อสังคมและประเทศชาติ
จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อวิชาชีพ
จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อผูร้ ่ วมวิชาชีพและผูป้ ระกอบ
วิชาชีพอื่น
จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อตนเอง
การพิทกั ษ์ สิทธิผู้ป่วย
• สาหรับมนุษย์ทุกคนต่างต้องการที่จะมีศกั ดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ แม้แต่เมื่อเกิด
การเจ็บป่ วยที่ตอ้ งเข้ารับการรักษาในสถานบริ การสุ ขภาพในทุกๆ ระดับ
บุคคลและครอบครัวต่างต้องการการปฏิบตั ิที่อย่างมีเกียรติ มีศกั ดิ์ศรี มีความ
เป็ นบุคคล
• การพิทกั ษ์สิทธิ ผปู ้ ่ วยจึงนับว่าเป็ นบทบาทอิสระที่พยาบาลสามารถที่จะช่วย
รับรองและคุม้ ครองผูร้ ับบริ การหรื อเป็ นการรักษาผลประโยชน์ รวมทั้งช่วย
ให้ผรู ้ ับบริ การรับรู ้ถึงความมีคุณค่าแห่ งตนได้ และถือเป็ นจริ ยธรรมของ
พยาบาล (Reid, 1995) ที่ควรปฏิบตั ิแก่ผรู ้ ับบริ การทุกคนอย่างเสมอภาค ใน
ส่ วนนี้จะได้อธิ บายแนวคิดเกี่ยวกับสิ ทธิ พอสังเขป สิ ทธิ มนุษยชน สิ ทธิของ
ผูป้ ่ วยและบทบาทพยาบาลในการพิทกั ษ์สิทธิผปู้ ่ วย
สิ ทธิของผู้ป่วย (Patient’s Rights)
• ประกาศสิ ทธิของผูป้ ่ วย
• สิ ทธิของผูป้ ่ วย 10 ประเด็น เป็ นประเด็นสาคัญที่ผปู ้ ระกอบวิชาชีพ
จะต้องทาความเข้าใจและวิเคราะห์วา่ ในบทบาทของผูป้ ระกอบ
วิชาชีพในแต่ละสาขานั้น โดยอิสระในวิชาชีพของตนเองและส่ วน
ที่เกี่ยวข้องมีบทบาทอะไรบ้างในการปฏิบตั ิงานในวิชาชีพของ
ตนเองที่พึงปฏิบตั ิ พึงละเว้น และสนองตอบสิ ทธิของผูป้ ่ วยใน
ประเด็นต่างๆ
สิ ทธิของผูป้ ่ วย 10 ประเด็น
• ข้ อ 1 ผูป้ ่ วยทุกคนมีสิทธิพ้นื ฐานที่จะได้รับบริ การด้านสุ ขภาพ ตามบัญญัติไว้ใน
รัฐธรรมนูญ
• ข้ อ 2 ผูป้ ่ วยมีสิทธิที่จะรับบริ การจากผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสุ ขภาพโดยไม่มีการเลือก
ปฏิบตั ิ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิการเมือง
เพศ อายุ และลักษณะของความเจ็บป่ วย
• ข้ อ 3 ผูป้ ่ วยที่ขอรับบริ การด้านสุ ขภาพมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอและ
เข้าใจชัดเจน จากผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสุ ขภาพ เพื่อให้ผปู้ ่ วยสามารถเลือกตัดสิ นใจใน
การยินยอมหรื อไม่ยนิ ยอมให้ผปู้ ระกอบวิชาชีพด้านสุ ขภาพปฏิบตั ิต่อตน เว้นแต่เป็ นการ
ช่วยเหลือรี บด่วนหรื อจาเป็ น
• ข้ อ 4 ผูป้ ่ วยที่อยูใ่ นภาวะเสี่ ยงอันตรายถึงชีวติ มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรี บด่วนจาก
ผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสุ ขภาพโดยทันทีตามความจาเป็ นแก่กรณี โดยไม่คานึงว่าผูป้ ่ วยจะ
ร้องขอความช่วยเหลือหรื อไม่
• ข้ อ 5 ผูป้ ่ วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผูป้ ระกอบวิชาชีพด้าน
สุ ขภาพที่เป็ นผูใ้ ห้บริ การแก่ตน
สิ ทธิของผูป้ ่ วย 10 ประเด็น
• ข้ อ 5 ผูป้ ่ วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผูป้ ระกอบวิชาชีพด้าน
สุ ขภาพที่เป็ นผูใ้ ห้บริ การแก่ตน
• ข้ อ 6 ผูป้ ่ วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสุ ขภาพอื่น ที่มิได้เป็ นผู้
ให้บริ การ แก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผูใ้ ห้บริ การและสถานบริ การได้
• ข้ อ 7 ผูป้ ่ วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิ ดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง จากผูป้ ระกอบวิชาชีพด้าน
สุ ขภาพ โดยเคร่ งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผูป้ ่ วยหรื อการปฏิบตั ิหน้าที่ตาม
กฎหมาย
• ข้ อ 8 ผูป้ ่ วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วนในการตัดสิ นใจเข้าร่ วม หรื อถอน
ตัวจากการเป็ นผูถ้ ูกทดลองในการทาวิจยั ของผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสุ ขภาพ
• ข้ อ 9 ผูป้ ่ วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏ
ในเวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ขอ้ มูลดังกล่าวต้องไม่เป็ นการละเมิดสิ ทธิส่วนตัวของบุคคล
อื่น
• ข้ อ 10 บิดา มารดาหรื อผูแ้ ทนโดยชอบธรรมอาจใช้สิทธิแทนผูป้ ่ วยที่เป็ นเด็กอายุยงั ไม่เกิน
สิ บแปดปี บริ บูรณ์ ผูบ้ กพร่ องทางกายหรื อจิต ซึ่ งไม่สามารถใช้สิทธิดว้ ยตนเองได้
บทบาทพยาบาลในการพิทกั ษ์ สิทธิผู้ป่วย
ข้ อ 1 ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพนื้ ฐานทีจ่ ะได้ รับบริการด้ านสุ ขภาพ ตามบัญญัติไว้ ในรัฐธรรมนูญ
• 1.ให้การพยาบาลอย่างครอบคลุมทั้งร่ างกาย จิตสังคม
• 2.ให้การพยาบาลตามมาตรฐานการพยาบาล
• 3.ให้การต้อนรับผูป้ ่ วยทุกรายด้วยอัธยาศัยอันดี ให้คาแนะนาเรื่ องสถานที่ กาหนดการและ
การปฏิบตั ิตวั ในหอผูป้ ่ วยด้านการมอบหมายผูร้ ับผิดชอบในแต่ละเวร ทาหน้าที่ปฐมนิเทศ
ผูป้ ่ วยและญาติเมื่อแรกรับ
• 4.ตรวจเยีย่ มที่เตียงผูป้ ่ วยจากทีมสุ ขภาพอย่างสม่าเสมอให้กดกริ่ งเรี ยกเมื่อผูป้ ่ วยมีความไม่
สุ ขภาพทั้งร่ างกายและจิตใจ
• 5.สอนและให้คาแนะนาการปฏิบตั ิตนแก่ผปู้ ่ วยทุกรายอย่างต่อเนื่องตั้งแต่แรกรับ
จนกระทัง่ กลับบ้าน
• 6.ป้ องกันผูป้ ่ วยไม่ให้เกิดการติดเชื้อและให้การฟื้ นฟูร่างกายผูป้ ่ วยเพื่อไม่ให้เกิด
ภาวะแทรกซ้อน
• 7.จัดทาคู่มือปฏิบตั ิงานเพื่อเป็ นแนวทางปฏิบตั ิสาหรับบุคลากรพยาบาลในแต่ละหอผูป้ ่ วย
• 8.ประสานงานช่วยเหลือในกรณี ผปู้ ่ วยไม่มีเงินชาระค่ารักษาพยาบาล
บทบาทพยาบาลในการพิทกั ษ์ สิทธิผู้ป่วย
ข้ อ 2 ผูป้ ่ วยมีสิทธิที่จะรับบริ การจากผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสุ ขภาพโดยไม่มีการ
เลือกปฏิบตั ิ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม
ลัทธิการเมือง เพศ อายุ และลักษณะของความเจ็บป่ วย
• 1.ปฏิบตั ิการพยาบาลตามมาตรฐานการพยาบาลโดยไม่เลือกปฏิบตั ิวา่ จะเป็ น
ผูป้ ่ วยพิเศษหรื อสามัญ
• 2.ไม่เลือกปฏิบตั ิต่อผูป้ ่ วยตามลักษณะของความเจ็บป่ วยที่ขดั ต่อความเชื่อ เจต
คติ/ทัศนคติของพยาบาลผูด้ ูแล เช่น ผูป้ ่ วยที่ทาแท้งโดยเจตนา ผูป้ ่ วยกินยาฆ่า
ตัวตาย เป็ นต้น บุคลากรทีมสุ ขภาพทุกคนต้องปฏิบตั ิต่อผูป้ ่ วยด้วยความ
สุ ภาพ ปราศจากอคติและเป็ นไปตามมาตรฐานการพยาบาลเช่นเดียวกันกับ
การปฏิบตั ิต่อผูป้ ่ วยที่มาด้วยสาเหตุความเจ็บป่ วยอื่นๆ
บทบาทพยาบาลในการพิทกั ษ์ สิทธิผู้ป่วย
• ข้ อ 3 ผูป้ ่ วยที่ขอรับบริ การด้านสุ ขภาพมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอและเข้าใจชัดเจน
จากผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสุ ขภาพ เพื่อให้ผปู้ ่ วยสามารถเลือกตัดสิ นใจในการยินยอมหรื อไม่
ยินยอมให้ผปู้ ระกอบวิชาชีพด้านสุ ขภาพปฏิบตั ิต่อตน เว้นแต่เป็ นการช่วยเหลือรี บด่วนหรื อจาเป็ น
• 1.ให้ขอ้ มูลด้านการรักษาแก่ผปู ้ ่ วยและญาติในขอบเขตวิชาชีพอย่างชัดเจน
• 2.เปิ ดโอกาสให้ซกั ถามก่อนให้ผปู้ ่ วยเซ็นยินยอมรับการรักษา
• 3.ติดต่อประสานงานในกรณี ที่ผปู้ ่ วยต้องการพบแพทย์ผรู ้ ับผิดชอบ
• 4.ให้โอกาสผูป้ ่ วยแสดงความเห็นและเข้าร่ วมปรึ กษากับทีมสุ ขภาพก่อนที่จะตัดสิ นใจเลือกวิธีการ
รักษา
• 5.ให้โอกาสผูป้ ่ วยเลือกรู ปแบบหรื อวิธีการพยาบาลที่ผปู้ ่ วยจะได้รับ
• 6.อธิบายให้ผปู้ ่ วยทราบทุกครั้งก่อนให้การรักษาพยาบาล
• 7.บอกวิธีการสังเกตอาการที่อาจจะเกิดอันเป็ นผลจากการให้การรักษาพยาบาล
• 8.ตรวจสอบข้อมูลการรับรู ้ของผูป้ ่ วยว่าเข้าใจถูกต้องด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย
• 9.รับฟังปัญหา ความคิดเห็นความต้องการและตอบข้อซักถามของผูป้ ่ วยด้วยใจที่ปราศจากอคติโดย
ไม่แสดงสี หน้าหรื อท่าทางราคาญ
บทบาทพยาบาลในการพิทกั ษ์ สิทธิผู้ป่วย
• ข้ อ 4 ผูป้ ่ วยที่อยูใ่ นภาวะเสี่ ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือ
รี บด่วนจากผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสุ ขภาพโดยทันทีตามความจาเป็ นแก่กรณี
โดยไม่คานึงว่าผูป้ ่ วยจะร้องขอความช่วยเหลือหรื อไม่
• 1.เมื่อพบผูป้ ่ วยอยูใ่ นภาวะเสี่ ยงต่ออันตรายต้องให้ความช่วยเหลือโดยไม่มี
ข้อแม้ใดๆ ทั้งสิ้ น อย่างไรก็ตาม การช่วยเหลือรี บด่วนจะต้องคานึงถึงความ
จาเป็ นแก่กรณี ดว้ ย มิใช่แฝงไว้ดว้ ยประโยชน์ทางด้านการเงิน
• 2.หน่วยงานต้องมีการเตรี ยมความพร้อมของอุปกรณ์การช่วยเหลือชีวิตให้
พร้อมปฏิบตั ิการเสมอ
• 3.จัดให้มีการทบทวนปรับปรุ งขั้นตอนวิธีการช่วยชีวิตอย่างสม่าเสมอเพื่อ
สามารถช่วยเหลือผูป้ ่ วยได้ทนั เวลา
• 4.จัดให้มีผรู ้ ับผิดชอบการช่วยเหลือผูป้ ่ วยที่อยูใ่ นภาวะฉุ กเฉิ นในหน่วยงาน
อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา
บทบาทพยาบาลในการพิทกั ษ์ สิทธิผู้ป่วย
• ข้ อ 5 ผู้ป่วยมีสิทธิทจี่ ะได้ รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้ านสุ ขภาพที่
เป็ นผู้ให้ บริการแก่ ตน
• 1.ทาความเข้าใจร่ วมกันระหว่างบุคลากรในทีมสุ ขภาพถึงบทบาทและหน้าที่รับผิดชอบ
• 2.แนะนาตัวและบุคลากรทีมสุ ขภาพที่เกี่ยวข้องแก่ผปู ้ ่ วยและญาติก่อนให้บริ การตามความ
เหมาะสม
• 3.สร้างวัฒนธรรมในการแนะนาตนเองทุกครั้งก่อนให้การพยาบาล
• 4.ปักหรื อติดบัตร ชื่อ – นามสกุล ตาแหน่งที่ถูกต้องของบุคลากรทุกประเภทให้มองเห็นได้
ชัดเจนและอ่านง่าย
• 5.ในหอผูป้ ่ วยนอก/ผูป้ ่ วยใน/ผูป้ ่ วยฉุกเฉิน มีแผนภูมิแสดงสายงานบังคับบัญชาพร้อมติดรู ป
ชื่อ – สกุลและตาแหน่งไว้หน้าหน่วยงาน
• 6.ในหอผูป้ ่ วยนอก/ผูป้ ่ วยใน/ผูป้ ่ วยฉุกเฉิน เขียนชื่อ – สกุลของแพทย์ บุคลากรพยาบาลและ
ประเภทของผูป้ ระกอบวิชาชีพอื่นที่รับผิดชอบในแต่ละเวรไว้ในสถานที่ที่มองเห็นเด่นชัด
• 7.ในหอผูป้ ่ วยในให้ติดป้ ายชื่อแพทย์เจ้าของไข้ไว้ทุกเตียงและหน้าห้องผูป้ ่ วยทุกห้อง
• 8.หอผูป้ ่ วยนอกติดป้ ายชื่อแพทย์เวรที่ออกตรวจที่หน้าห้องตรวจโรค/โต๊ะตรวจโรคให้ผปู้ ่ วย
มองเห็นเด่นชัด
บทบาทพยาบาลในการพิทกั ษ์ สิทธิผู้ป่วย
• ข้อ 6 ผูป้ ่ วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสุ ขภาพอื่น ที่มิได้เป็ นผูใ้ ห้บริ การ
แก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผูใ้ ห้บริ การและสถานบริ การได้
• 1.เป็ นตัวแทนผูป้ ่ วยและญาติในการเรี ยกร้องสิ ทธิ หากผูป้ ่ วยได้รับบริ การที่ไม่มีคุณภาพ
• 2.ให้การพยาบาลผูป้ ่ วยอย่างดีแม้ผปู ้ ่ วยจะปฏิเสธรับการรักษาจากหน่วยงานของท่าน
• 3.ให้ความช่วยเหลือประสานงานเมื่อผูป้ ่ วยแจ้งความจานงขอเปลี่ยนผูใ้ ห้บริ การหรื อสถานบริ การ
• 4.ให้ขอ้ มูลผูป้ ่ วยในการเลือกผูใ้ ห้บริ การหรื อสถานบริ การที่ผปู้ ่ วยประสงค์จะถูกส่ งไปรักษาต่อ
โดยใจที่ปราศจากอคติและคานึงถึงประโยชน์ของผูป้ ่ วยเป็ นสาคัญ
• 5.แจ้งให้ผปู้ ่ วยหรื อญาติทราบว่าผูป้ ่ วยสามารถจะกลับมารับบริ การจากหน่วยงานของท่านได้
ตลอดเวลาโดยจะไม่เกิดผลกระทบใดๆ ในการรักษาพยาบาล
• 6.ให้ผปู้ ่ วยหรื อญาติที่มีสิทธิในการดูแลผูป้ ่ วยลงนามในเอกสารว่าไม่สมัครอยูห่ ลังจากได้รับคา
บอกกล่าวของแพทย์และพยาบาลและเข้าใจถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นอย่างละเอียดเพือ่ ป้ องกัน
ไม่ให้เกิดการฟ้ องร้องว่าละเลยทั้งที่อยูใ่ นภาวะอันตราย
บทบาทพยาบาลในการพิทกั ษ์ สิทธิผู้ป่วย
• ข้ อ 7 ผู้ป่วยมีสิทธิทจี่ ะได้ รับการปกปิ ดข้ อมูลเกีย่ วกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้ านสุ ขภาพ โดย
เคร่ งครัด เว้ นแต่ จะได้ รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบตั ิหน้ าทีต่ ามกฎหมาย
• 1.ผูป้ ่ วยทุกรายได้รับการรักษาความลับเกี่ยวกับข้อมูลการเจ็บป่ วยของตน เว้นแต่จะได้รับความยินยอม
จากผูป้ ่ วยหรื อเมื่อเจ้าพนักงานต้องปฏิบตั ิตามหน้าที่
• 2.อภิปรายข้อมูลผูป้ ่ วยเฉพาะผูร้ ่ วมทีมสุ ขภาพและเฉพาะส่ วนที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาลเท่านั้น
• 3.ไม่นาเรื่ องผูป้ ่ วยมาถกเถียงหรื อวิจารณ์ให้ผอู ้ ื่นได้ยนิ โดยเฉพาะในที่สาธารณะ
• 4.จัดสถานที่ที่เหมาะสมในการให้คาปรึ กษาหรื อคาแนะนาแก่ผปู้ ่ วย
• 5.ไม่วางแฟ้ มประวัติหรื อเขียนชื่อโรคไว้ที่ปลายเตียง/หน้าห้องผูป้ ่ วยเพราะข้อมูลความเจ็บป่ วยอาจมีผล
เสี ยหายต่อผูป้ ่ วยหรื อครอบครัว
• 6.ไม่ตอบข้อมูลด้านการรักษาพยาบาลของผูป้ ่ วยทางโทรศัพท์หรื อพิจารณาตรวจสอบให้แน่ใจก่อนให้
ข้อมูล
• 7.จัดเก็บรายงานผูป้ ่ วยไว้เป็ นสัดส่ วนและทบทวนระเบียบการหยิบยืมแฟ้ มประวัติ/เวชระเบียนผูป้ ่ วยเมื่อ
มีการส่ งไปให้คาปรึ กษา/การส่ งต่อหรื อการนาไปเพื่อใช้ในการศึกษา
• 8.จัดทาระเบียบการขอสาเนาเวชระเบียนของผูป้ ่ วยหรื อการแจ้งข้อมูลของผูป้ ่ วยต่อบุคคลที่สามเพือ่ เป็ น
แนวทางปฏิบตั ิแก่บุคลากรในหน่วยงานและป้ องกันการนาความลับของผูป้ ่ วยไปใช้ในทางเสื่ อมเสี ยแก่
ผูป้ ่ วยหรื อครอบครัว
บทบาทพยาบาลในการพิทกั ษ์ สิทธิผู้ป่วย
• ข้ อ 8 ผู้ป่วยมีสิทธิทจี่ ะได้ รับทราบข้ อมูลอย่ างครบถ้ วนในการตัดสิ นใจเข้ าร่ วม หรือถอนตัว
จากการเป็ น ผู้ถูกทดลองในการทาวิจัยของ ผู้ประกอบวิชาชีพด้ านสุ ขภาพ
• 1.จัดตั้งคณะกรรมการหรื อหน่วยงานในโรงพยาบาลทาหน้าที่รับผิดชอบการวิจยั /การทดลอง
ที่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ขอ้ มูลที่เป็ นของผูป้ ่ วยเพื่อไม่ให้ผปู ้ ่ วยได้รับอันตรายหรื อถูก
ละเมิดสิ ทธิส่วนบุคคล
• 2.ให้ขอ้ มูลรายละเอียดที่ช่วยให้ผปู้ ่ วยตัดสิ นใจเข้าร่ วมการวิจยั /ทดลองและเคารพการ
ตัดสิ นใจของผูป้ ่ วย
• 3.ชี้แจงให้ผปู้ ่ วยทราบว่าผูป้ ่ วยมีสิทธิที่จะตอบรับหรื อปฏิเสธการเข้าร่ วมการวิจยั /ทดลองโดย
ยืนยันว่าจะไม่มีผลใดๆ ต่อคุณภาพการรักษาพยาบาลและการดูแลที่จะได้รับ
• 4.บอกให้ผปู้ ่ วยทราบถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ ระยะเวลา ขอบเขตการวิจยั /การทดลองอย่าง
ชัดเจน
• 5.อธิบาย ตอบข้อข้องใจ ให้ขอ้ มูลภาวะแทรกซ้อนหรื ออันตรายที่อาจเกิดขึ้นตลอดจนวิธีการ
ปฏิบตั ิตนระหว่างหรื อหลังทาการวิจยั /ทดลอง
• 6.ไม่เปิ ดเผยชื่อ ที่อยู่ ข้อมูลของผูป้ ่ วยที่เข้าร่ วมการวิจยั /ทดลอง
บทบาทพยาบาลในการพิทกั ษ์ สิทธิผู้ป่วย
• ข้ อ 9 ผูป้ ่ วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏในเวช
ระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ขอ้ มูลดังกล่าวต้องไม่เป็ นการละเมิดสิ ทธิส่วนตัวของบุคคลอื่น
• 1.หน่วยงานจัดประชุมและหาข้อตกลงร่ วมกันถึงแนวทางปฏิบตั ิในการให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการ
รักษาพยาบาลว่าข้อมูลใดเปิ ดเผยได้ ข้อมูลใดเปิ ดเผยไม่ได้และใครเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการให้
ข้อมูลแก่ผปู้ ่ วยและญาติ
• 2.ผูป้ ่ วยมีสิทธิจะทราบและขอดูผลการวินิจฉัยโรค ผลการตรวจร่ างกายและผลการตรวจทาง
ห้องทดลองของตนได้
• 3.กรณี แพทย์วนิ ิจฉัยว่าผูป้ ่ วยป่ วยเป็ นโรคร้ายแรงหรื อต้องให้การรักษาพยาบาลด้วยวิธีพิเศษที่อาจ
เสี่ ยงต่อภาวะสุ ขภาพ ด้านร่ างกายหรื อจิตใจ พยาบาลควรประเมินความพร้อมของผูป้ ่ วยก่อนแจ้ง
ข้อมูล
• 4.อธิบายให้ผปู้ ่ วยทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย
• 5.ผูป้ ่ วยสามารถเป็ นผูข้ อข้อมูลเองหรื อมอบหมายให้ผอู้ ื่นกระทาแทนตามวิธีทางกฎหมายได้
• 6.ตรวจสอบการยินยอมให้เปิ ดเผยข้อมูลของผูป้ ่ วยต่อบุคคลที่สาม เช่น การสมัครงาน การประกัน
ชีวติ หรื อการประกันสุ ขภาม
• 7.ไม่นาเรื่ องราวของผูป้ ่ วยไปเปิ ดเผยต่อสื่ อมวลชน ถ้าจาเป็ นต้องไม่เปิ ดเผยชื่อผูป้ ่ วยหรื อปิ ด
ส่ วนของใบหน้าที่จะทาให้ผอู้ ื่นจาได้ โดยต้องได้รับความยินยอมจากผูป้ ่ วยก่อนเช่นกัน
บทบาทพยาบาลในการพิทกั ษ์ สิทธิผู้ป่วย
• ข้ อ 10 บิดา มารดาหรื อผูแ้ ทนโดยชอบธรรมอาจใช้สิทธิแทนผูป้ ่ วย
ที่เป็ นเด็กอายุยงั ไม่เกิน 18 ปี บริ บูรณ์ ผูบ้ กพร่ องทางกายหรื อจิต ซึ่ง
ไม่สามารถใช้สิทธิดว้ ยตนเองได้
• 1.ให้ขอ้ มูลรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาลของผูป้ ่ วยที่
ยังอายุไม่เกิน 18 ปี บริ บูรณ์/ผูบ้ กพร่ องทางกายหรื อจิต และเปิ ด
โอกาสบิดา มารดาหรื อผูแ้ ทนโดยชอบธรรมตัดสิ นใจเกี่ยวกับการ
รักษาพยาบาลและเคารพการตัดสิ นใจของผูต้ ดั สิ นใจ
กรณีศึกษา 1
• หญิงไทยคู่ อายุ 59 ปี ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็ น breast cancer stage 4 (มะเร็ ง
เต้านมระยะสุ ดท้าย) รับไว้ในโรงพยาบาล ครั้งนี้ดว้ ยภาวะไข้สูงและความดัน
เลือดต่า สภาพร่ างกายของผูป้ ่ วยเปราะบางมากและการพยากรณ์โรคไม่ดี
ท่านเคยพูดคุยกับผูป้ ่ วยทราบว่า ผูป้ ่ วยเข้าใจและทาใจได้หากต้องเสี ยชีวิต แต่
ไม่ได้บนั ทึกไว้ในเวชระเบียน. สามีซ่ ึ งอยูด่ ูแลผูป้ ่ วยในระยะ 10 ปี หลัง แต่
ไม่ได้จดทะเบียนสมรส บอกท่านถึงความปรารถนาของผูป้ ่ วยที่ตอ้ งการเสี ย
ชิวติ โดยสงบ ไม่ขอรับการใส่ ท่อช่วยหายใจ และการนวดหัวใจในกรณี หวั ใจ
หยุดเต้น. ในขณะที่ความดันเลือดของผูป้ ่ วยตกไปที่ 70/40 มิลลิเมตรปรอท
บุตรชายของผูป้ ่ วยซึ่ งปั จจุบนั ย้ายถิ่นฐานไปอยูท่ ี่ประเทศออสเตรเลีย เดินทาง
มาถึง ขัดแย้งกับสามีผปู ้ ่ วยอย่างรุ นแรงและร้องขอให้ท่านทาปฏิบตั ิการกูช้ ีวิต
ท่านเป็ นผูด้ ูแลรักษา มีแนวทางปฏิบตั ิตนอย่างไร
กรณีศึกษา 2
• นายชนะ อายุ 62 ปี เกิดอาการ anaphylactic shock (ช็อคจากการแพ้
ยา) หลังได้รับการฉีดยา ceftriaxone เพื่อรักษาภาวะปอดบวม เวช
ระเบียนระบุไว้แน่ชดั ว่าผูป้ ่ วยมีประวัติแพ้ยากลุ่ม penicillins อย่าง
รุ นแรง เมื่อ 1 ปี ก่อน แพทย์เป็ นผูส้ งั่ การรักษา กระทาพลาดครั้งนี้
ด้วยเลินเล่อมิได้ตรวจสอบประวัติดงั กล่าว มีแนวทางปฏิบตั ิตน
อย่างไร?
กรณีศึกษา 3
• เด็กชาย อายุ 14 ปี ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็ นมะเร็ งเม็ดเลือดขาว
แพทย์แนะนาให้เข้ารับยาเคมีบาบัดในโรงพยาบาล. ผูป้ กครองของ
เด็กไม่เชื่อถือในวิทยาการแพทย์และกลัวบุตรเสี ยชีวิตจากการรับ ยา
เคมี แสดงความจานงขอนาบุตรชายไปรักษากับหมอพระที่จงั หวัด
ตาก โดยไม่ฟังคาทัดทานของทีมแพทย์ผรู ้ ักษา. ท่านเป็ นผูด้ ูแล
รักษา มีแนวทางปฏิบตั ิตนอย่างไร?
กรณีศึกษา 4
• นายชาติชาย อายุ 37 ปี สมรสแล้วมีบุตร 2 คน ตรวจเลือดไวรัส
เอดส์เป็ นผลบวก ร้องขอให้พยาบาลเก็บข้อมูลนี้ไว้เป็ นความลับไม่
บอกแม้แต่ภรรยาของเขา ท่านเป็ นพยาบาลผูด้ ูแลรักษา มีแนวทาง
ปฏิบตั ิตนอย่างไร?
กรณีศึกษา 5
• ผูป้ ่ วยท่านหนึ่งนับถือศาสนาอิสลาม และได้รับการรักษาตัวในโรงพยาบาลของรัฐแห่ง
หนึ่งซึ่งห้องที่เธออยูเ่ ป็ นห้อง รวมมีผปู้ ่ วยประมาณ 14 เตียง จนกระทัง่ วันหนึ่งเธอรักษาตัว
จนดีข้ ึนและสามารถลุกลงจากเตียงได้ เธอได้ลงจากเตียงแล้วทาการนมัสการต่อพระเจ้า
(นมาซ) ที่ขา้ งเตียงของตัวเอง และในขณะนั้นมีพยาบาลผูใ้ ห้การดูแลเข้ามาเห็นเข้า เธอ
ห้ามผูป้ ่ วยไม่ให้ปฏิบตั ิเช่นนั้น เพราะในห้องนั้นมีผปู ้ ่ วยอยูร่ วมหลายคน ผูป้ ่ วยไม่ควรทา
อะไรแปลกไปจากคนอื่นๆ ผูป้ ่ วยจึงให้เหตุผลว่าการนมัสการต่อพระเจ้าของเธอไม่ได้ส่ง
เสี ยงดังรบกวน ผูอ้ ื่นแต่อย่างไร เธอควรมีสิทธิตามความเชื่อทางศาสนาและเธอก็ควร
นมัสการพระเจ้าตามแบบของเธอ ได้
จากสถานการณ์ ดงั กล่ าวสามารถสรุปประเด็นปัญหาทางจริยธรรมและจรรยาบรรณ
ได้ ดงั ต่ อไปนี้
ประเด็นทีห่ นึ่ง คือ ควรหรื อไม่ที่จะให้ผปู้ ่ วยทาตามความเชื่อทางศาสนาของตัวเอง
ประเด็นที่สอง คือ บทบาทของพยาบาลควรห้ามผูป้ ่ วยหรื อไม่
ประเด็นทีส่ าม คือ ระหว่างสิ ทธิผปู้ ่ วยกับความเป็ นระเบียบของโรงพยาบาลสิ่ งใดควร
คานึงถึงมากกว่ากัน
กรณีศึกษา 6
• สถานการณ์ นายสิ ระ อายุ 35 ปี มีอาการปวดท้องมาก อาเจียน มารับการรักษาที่โรงพยาบาล เวลา
01.30น. แพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็ นไส้ติ่งอักเสบ ต้องได้รับการผ่าตัดด่วน
• นายสิ ระ รู้สึกกลัวการผ่าตัดมาก เพราะในชีวติ นี้ไม่เคยเจ็บป่ วย และไม่เคยต้องเข้ารับการรักษาใน
โรงพยาบาลมาก่อน ในระหว่างที่เตรี ยมนายสิ ระเพื่อส่ งห้องผ่าตัด พยาบาลจตุพรบอกให้นายสิ ระ
ถอดเครื่ องประดับทั้งหมดในร่ างกายออก
• นายสิ ระขอร้องไม่ให้เอาด้ายสายสิ นที่ขอ้ มือออก เพราะเพิ่งได้รับการผูกข้อมือมาจากพระที่นบั ถือ
มาก และบอกว่าให้ผกู ติดข้อมือไว้ตลอด เนื่องจากกาลังมีเคราะห์หนัก พยาบาลจตุพรบอกนาย
สิ ระว่าไม่ได้ เพราะผูป้ ่ วยก่อนผ่าตัดทุกรายต้องถอดเครื่ องประดับทั้งหมดในร่ างกายออก ทาให้
นายสิ ระรู้สึกตกใจและวิตกกังวลใจเป็ นอย่างมาก ข้อมูลเพิ่มเติม ผูป้ ่ วยก่อนผ่าตัดทุกรายควรต้อง
ถอดเครื่ องประดับทั้งหมดในร่ างกายออกทั้งหมด ด้วยเหตุผลดังนี้ 1. อาจไม่สะดวกในการให้การ
รักษาพยาบาล 2. อาจเป็ นสื่ อไฟฟ้ าถ้าเครื่ องประดับนั้นเป็ นโลหะ 3. อาจสูญหายได้ ควรฝากญาติ
ไว้
• ประเด็นอภิปราย 1. หากท่านเป็ นพยาบาลจตุพร ท่านจะตัดสิ นใจอนุญาตให้นายสิ ระเอาด้ายสาย
สิ นไว้ที่ขอ้ มือหรื อไม่ 2. ท่านใช้หลักการทางจริ ยธรรมวิชาชีพข้อใดประกอบการตัดสิ นใจตอบ
คาถามข้อ 1 3. จากคาตอบข้อ 1 จงเรี ยงลาดับขั้นตอนการปฏิบตั ิที่เหมาะสม
แนวคิดภาวะสุ ขภาพ การเจ็บป่ วยและการพยาบาล
•
•
•
•
ภาวะสุ ขภาพของบุคคลขึน้ อยู่กบั ความสามารถของบุคคลทีม่ ปี ฏิสัมพันธ์ อย่าง
เหมาะสมต่ อสิ่ งแวดล้อม ความสามารถอันนั้นได้ แก่ ปฏิกริ ิยาตอบสนอง
(human response) และการปรับตัวของบุคคล (Human adaptation)
ภาวะสุ ขภาพจึงเป็ นความต้ องการสู งสุ ดของบุคคล สุ ขภาพดีจะช่ วยให้
กระบวนการเจริญเติบโต พัฒนาการทางด้ านร่ างกาย จิตใจ และสั งคมเป็ นไปได้
ด้ วยดี
บุคคลจึงต้ องมีการเรียนรู้ และดูแลตนเองเพือ่ ให้ เกิดสุ ขภาพดีอยู่ตลอดเวลาโดย
การเรียนรู้ สิ่งแวดล้ อมและสร้ างศักยภาพของบุคคลในการดูแลตนเอง
ส่ วนความเจ็บป่ วยเป็ นสภาวะทีร่ ่ างกายมีการเปลีย่ นแปลงหน้ าทีป่ กติทางด้ าน
ร่ างกาย จิตใจ และสั งคมเป็ นภาวะทีบ่ ุคคลรู้ สึกว่ ามีสุขภาพไม่ ดี
แนวคิดภาวะสุ ขภาพ การเจ็บป่ วยและการพยาบาล
โครงเนือ้ หา
เรื่องที่ 1 ภาวะสุ ขภาพและการเจ็บป่ วย
• ความหมายของสุ ขภาพ
• ความหมายการเจ็บป่ วย
เรื่องที่ 2 การพยาบาลบุคคลทีม่ ภี าวะ
เจ็บป่ วยวิกฤต
• ลักษณะของผูป้ ่ วยวิกฤต
• ขอบเขตความรับผิดชอบของพยาบาล
ผูด้ ูแลผูป้ ่ วยวิกฤต
• การพยาบาลผูป้ ่ วยวิกฤต
• การพยาบาลครอบครัวของผูป้ ่ วยวิกฤต
เรื่องที่ 3 การพยาบาลบุคคลทีม่ ภี าวะ
เจ็บป่ วยเรื้อรัง
• ลักษณะของผูป้ ่ วยโรคเรื้ อรัง
• ผลกระทบจากภาวะเจ็บป่ วยเรื้ อรัง
• การพยาบาลผูป้ ่ วยที่มีภาวะเจ็บป่ วย
เรื้ อรัง
เรื่องที่ 4 การพยาบาลประคับประคอง
• แนวคิดเกี่ยวกับความตาย
• หลักการดูแลแบบประคับประคอง
• การพยาบาลแบบประคับประคอง
วัตถุประสงค์
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
เข้าใจความหมายของสุ ขภาพและการเจ็บป่ วย
บอกลักษณะและการตอบสนองของผูป้ ่ วยวิกฤตได้ถูกต้อง
บอกขอบเขตความรับผิดชอบในการพยาบาลผูป้ ่ วยวิกฤตได้ถกู ต้อง
วางแผนการพยาบาลผูป้ ่ วยวิกฤตได้ถูกต้องเหมาะสม
บอกลักษณะและการตอบสนองของผูป้ ่ วยเรื้ อรังได้ถูกต้อง
อธิ บายผลกระทบของการเจ็บป่ วยเรื้ อรังต่อผูป้ ่ วยและครอบครัวได้
วางแผนการพยาบาลผูป้ ่ วยเรื้ อรังได้ถกู ต้องเหมาะสม
เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับความตายและใกล้ตาย
อธิ บายปฏิกิริยาของผูป้ ่ วยและญาติต่อภาวะใกล้ตายได้ถูกต้อง
วางแผนการพยาบาลแบบประคับประคองแก่ผปู ้ ่ วยและครอบครัวได้
ถูกต้องเหมาะสม
แนวคิดเกีย่ วกับสุ ขภาพ
“สุ ขภาพ” (Health)
“สภาวะที่ปราศจากโรคและสามารถใช้พละกาลังของตนเอง
ได้เต็มความสามารถ”
(Nightingale, 1860)
แนวคิดเกีย่ วกับสุ ขภาพ
“สุ ขภาพ” (Health)
“Health is state of complete physical, mental and social well-being
and not merely the absence of disease or infirmity”
สภาวะที่มีความสมบูรณ์ของร่ างกาย จิตใจ และสามารถอยูใ่ นสังคมได้
อย่างมีความสุ ข มิใช่เพียงแต่ปราศจากโรค
และความพิการเท่านั้น
(World health Organization: WHO, 1947)
แนวคิดเกีย่ วกับสุ ขภาพ
“สุ ขภาพ” (Health)
“ความสุ ขปราศจากโรค ความสบาย ความมีอนามัยดี”
(พจนานุกรมเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530 )
แนวคิดเกีย่ วกับสุ ขภาพ
“สุ ขภาพ” (Health)
“สุ ขภาพดี หมายถึง สภาวะทีร่ ่ างกายมีความสมบูรณ์ ท้งั ร่ างกาย จิตใจ
สั งคม และจิตวิญญาณ ปราศจากโรคและความพิการใดๆ”
(World health Organization: WHO, 1986)
แนวคิดเกีย่ วกับสุ ขภาพ
“สุ ขภาพ” (Health)
“สุ ขภาวะที่สมบูรณ์และเชื่อมโยงกันเป็ นองค์รวมอย่างสมดุลทั้งทาง
กาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ
สุ ขภาพมิได้หมายถึงเฉพาะความไม่พิการ และการไม่มีโรคเท่านั้น”
(พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ ในมาตราที่ 3)
ความเจ็บป่ วย (illness)
• สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ปกติทางด้านร่ างกาย จิตใจ สังคม
และจิตวิญญาณ
• ซึ่งอาจจะเปลี่ยนด้านใดด้านหนึ่ง หรื อหลายๆ ด้านรวมกัน
• ทาให้บุคคลทาหน้าที่บกพร่ องหรื อทาหน้าที่ได้นอ้ ยลงกว่าปกติ
• เป็ นภาวะที่บุคคลรู ้สึกว่ามีสุขภาพไม่ดี
ความเจ็บป่ วย (illness)
• ความเจ็บป่ วยอาจไม่เกี่ยวข้องกับการเป็ นโรคก็ได้
• อาจมีสาเหตุเริ่ มแรกจากความผิดปกติของอวัยวะต่างๆ ในร่ างกาย
หรื อความผิดปกติของจิตใจ
• การบ่งชี้ถึงสภาวะความเจ็บป่ วยและการมีสุขภาพดีน้ นั บางครั้งไม่
เด่นชัด ยกเว้นในรายที่เจ็บป่ วยมากๆ มีอาการรุ นแรง
• บุคคลที่มีความเจ็บป่ วยไม่วา่ จะเป็ นทางด้านใดด้านหนึ่งจะมี
ผลกระทบด้านอื่นๆ ตามมา
ความเจ็บป่ วย (illness)
• ในโลกนี้นอ้ ยคนนักที่จะมีสุขภาพดีมาก
• คนส่ วนมากมักจะมีความบกพร่ องทางสุ ขภาพบ้างไม่มากก็นอ้ ย
• แต่ถา้ หากบุคคลนั้นพอใจในสภาพการณ์ที่เป็ นอยูแ่ ละสามารถ
ดารงชีวิตอยูไ่ ด้อย่างมีความสุ ข ก็ถือได้วา่ มีสุขภาพดี
ความต่ อเนื่องของภาวะสุ ขภาพและความเจ็บป่ วย
สุ ขภาพดีมาก
สุ ขภาพดี สุ ขภาพปกติ
เจ็บป่ วยเล็กน้ อย
เจ็บป่ วยรุนแรง
ตาย
ภาพที่ 1 แสดงภาวะความต่อเนื่องของการมีสุขภาพดีมากจนกระทัง่ ถึงแก่ความตาย (สุ ปาณี เสนาดิสัย, 2547)
การพยาบาลบุคคลทีม่ ีภาวะเจ็บป่ วยวิกฤต
• การเจ็บป่ วยวิกฤตเป็ นปั ญหาที่คุกคามทั้งต่อชีวติ ของผูป้ ่ วยและครอบครัว
เพราะเป็ นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหันและไม่คาดคิดมาก่อน การ
เจ็บป่ วยวิกฤตเป็ นภาวะการเจ็บป่ วยที่เกิดขึ้นทันทีทนั ใด
• เกิดจากการเสื่ อมหน้าที่ทนั ทีของอวัยวะหรื อระบบใดระบบหนึ่งที่สาคัญของ
ร่ างกาย หรื ออาจเกิดจากการกาเริ บของโรคเรื้ อรังที่คุกคามชีวติ ที่ตอ้ งได้รับ
การช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีเพื่อการรักษาชีวติ รอด การดูแลประคับประคอง
ทั้งด้านร่ างกายและจิตใจร่ วมกับการป้ องกันภาวะแทรกซ้อนหรื ออันตรายที่
จะเกิดต่อชีวติ ของผูป้ ่ วย
• ดังนั้น การพยาบาลผูป้ ่ วยที่มีภาวะเจ็บป่ วยวิกฤต จึงเป็ นการดูแลบุคคลที่มี
ปั ญหาจากการถูกคุกคามของชีวติ โดยเน้นการรักษาประคับประคองทั้งด้าน
ร่ างกาย จิตสังคม ตามภาวะตอบสนองด้านร่ างกาย จิตสังคมเพื่อให้ผปู ้ ่ วยรอด
ชีวติ และสามารถปรับตัวเข้าสู่ ภาวะปกติได้
ลักษณะของผู้ป่วยวิกฤต
• ผูป้ ่ วยที่มีภาวะวิกฤต คือ ผูป้ ่ วยที่มีภาวะเสี่ ยงหรื อมีปัญหาวิกฤตด้านร่ างกายที่
คุกคามกับชีวติ (Life threatening) ต้องการการดูแล สังเกตให้การ
รักษาพยาบาลอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้มีชีวติ อยูแ่ ละป้ องกัน
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น การตอบสนองของผูป้ ่ วยต่อภาวะเจ็บป่ วย
วิกฤตที่พบบ่อย
• ความเครี ยด(Stress) ความกลัวและวิตกกังวล (Fear & anxiety) ภาวะซึ มเศร้า
(Depression) การนอนไม่หลับ (Sleep deprivation) การสูญเสี ยพลังอานาจ
(Powerlessness) ความเจ็บปวด (Pain) ภาวะพรากความรู้สึก (Sensory
deprivation) ภาวะที่มีการกระตุน้ ความรู ้สึกมากเกินไป (Sensory overload)
และกลุ่มอาการไอซี ยู (ICU syndrome)
กลุ่มอาการไอซียู (Intensive care unit syndrome: ICU syndrome)
• เป็ นภาวะผิดปกติที่มีสาเหตุมาจากปัจจัยด้านร่ างกายและจิตใจ แต่
ภาวะเจ็บป่ วยเป็ นสาเหตุหลักที่ทาให้เกิด เช่น ภาวะไม่สมดุลของ
เกลือแร่ การพร่ องออกซิเจน ไข้ หรื อความเจ็บปวด โดยอาการมัก
เริ่ มจากการรับรู ้วนั เวลา สถานที่ผดิ ไป (Disorientation)
• อาการนี้มกั พบในผูป้ ่ วยที่อยูใ่ น ICU นานกว่า 5 – 7 วัน
• และจะหายเมื่อย้ายออกจาก ICU ภายใน 48 ชัว่ โมง
ขอบเขตความรับผิดชอบของพยาบาลผู้ดูแลผู้ป่วยวิกฤต
• เฝ้ าระวัง ดูแล ช่วยเหลือผูป้ ่ วยให้ปลอดภัยและประสานงานกับบุคลากร
อื่นในทีมสุ ขภาพ พยาบาลจะต้องปฏิบตั ิงานให้มีทกั ษะ มีความคิดริ เริ่ ม
สร้างสรรค์ ศึกษาค้นคว้าสิ่ งใหม่ๆ เพื่อนามาใช้ในการพยาบาลผูป้ ่ วย
อย่างมีประสิ ทธิภาพ
• รับผิดชอบต่อครอบครัวของผูป้ ่ วยวิกฤตเนื่องจากผูป้ ่ วยวิกฤตต้องรับ
การรักษาอย่างกะทันหัน ญาติหรื อครอบครัวจึงเกิดความเครี ยด ความ
กลัว วิตกกังวล ซึ่งพบว่า ญาติสายตรง ซึ่งได้แก่ บิดา มารดา สามี
ภรรยา และ/หรื อบุตร มักจะมีความเครี ยดมากกว่าผูป้ ่ วย
• ดูแลสภาพแวดล้อมของผูป้ ่ วย เพราะสภาพแวดล้อมมีอิทธิพลต่อชีวิต
และพัฒนาการของบุคคล
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต
พยาบาลเป็ นผูท้ ี่มีความสาคัญมากในการพยาบาลผูป้ ่ วยวิกฤต โดยม
จุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือผูป้ ่ วยให้มีชีวิตอยูแ่ ละป้ องกันภาวะแทรกซ้อน
• การสร้างสัมพันธภาพก่อนให้การพยาบาลทุกครั้งโดยการแนะนา
ตนเองและแสดงท่าทีที่เป็ นมิตร แนะนาสถานที่ เวลา และอธิบายสิ่ งที่
เกิดขึ้นกับผูป้ ่ วย อธิบายวัตถุประสงค์การรักษาพยาบาล
• การประเมินภาวะสุ ขภาพอย่างใกล้ชิด
• การช่วยเหลือทางด้านร่ างกาย ด้านจิตสังคม ด้านจิตวิญญาณ
การพยาบาลครอบครัวของผู้ป่วยวิกฤต
• การยอมรับภาวะเศร้าโศกของญาติของผูป้ ่ วย
• การให้คาอธิ บายเกี่ยวกับเครื่ องมือ ของใช้และสภาพแวดล้อมภายในหอ
อภิบาลผูป้ ่ วย พยาบาลควรบอกและสอนญาติให้รู้จกั ชื่อและประโยชน์ของ
เครื่ องมือ อุปกรณ์ต่างๆ บอกสาเหตุที่ตอ้ งใช้อุปกรณ์เหล่านั้น โดยพิจารณา
ใช้คาพูดที่เหมาะสม
• การใช้คาพูดที่ง่ายและคุน้ เคยตามพื้นฐานความรู ้และประสบการณ์ หลีกเลี่ยง
การใช้ศพั ท์ทางการแพทย์
• ทาให้จุดสนใจของญาติแคบลงโดยให้ขอ้ มูลที่เป็ นปั จจุบนั และบอกแผนการ
พยาบาลที่จะปฏิบตั ิต่อผูป้ ่ วยแก่ญาติ
• หลีกเลี่ยงเหตุการณ์หรื อสิ่ งที่จะก่อให้เกิดภาวะวิกฤตกับญาติ
การพยาบาลครอบครัวของผู้ป่วยวิกฤต
• การจัดให้ญาติได้อยูก่ บั ผูป้ ่ วยและมีส่วนร่ วมช่วยเหลือผูป้ ่ วย โดยการสอนให้
รู ้จกั สังเกตอาการและให้ความช่วยเหลือกิจวัตรประจาวันและให้โอกาสและ
เวลากับญาติได้อยูก่ บั ผูป้ ่ วยและช่วยเหลือกิจวัตรบางอย่างจะทาให้ญาติรู้สึกมี
ส่ วนร่ วมในการดูแลผูป้ ่ วย
• การช่วยเหลือญาติในการตัดสิ นใจ พยาบาลควรให้ขอ้ มูลและข้อเสนอแนะกับ
ญาติในการประกอบการตัดสิ นใจเนื่องจากขณะนั้นญาติอาจจะมีความสับสน
คิดอะไรไม่ออก
• การช่วยให้ครอบครัวของผูป้ ่ วยได้รับการช่วยเหลือ โดยพยาบาลอาจมีส่วน
ช่วยเหลือโดยให้คาแนะนาญาติให้จดั ลาดับความสาคัญของภาระงานและ
แนะนาในการหาบุคคลอื่นมาช่วยเหลือชัว่ คราว
• การเปลี่ยนแปลงบทบาทภายในบ้าน อันเนื่องมาจากสมาชิกในครอบครัว
เจ็บป่ วยวิกฤตเกิดขึ้น ทาให้ตอ้ งมีการเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ภายในบ้าน
• การจัดหาสิ่ งช่วยเหลือทางด้านจิตวิญญาณ
การพยาบาลบุคคลทีม่ ีภาวะเจ็บป่ วยเรื้อรัง
• ภาวะเจ็บป่ วยเรื้ อรังเป็ นปั ญหาสุ ขภาพที่เกิดขึ้นมานานและมีแนวโน้มสู งขึ้น
ในอนาคตซึ่ งจะเป็ นปัญหาสุ ขภาพที่สาคัญของโลก ในปัจจุบนั แม้วา่ จะมี
วิวฒั นาการทางการแพทย์เจริ ญก้าวหน้ามากขึ้น มีการค้นพบแนวทางการ
รักษาโรคต่างๆ มากขึ้น ทาให้มนุษย์มีชีวติ ยืนยาวขึ้นแต่การมีชีวิตที่ยนื ยาวก็
ทาให้พบผูป้ ่ วยที่มีภาวะเจ็บป่ วยเรื้ อรังเพิม่ มากขึ้นด้วย อย่างไรก็ตามความ
เจ็บป่ วยเรื้ อรังได้สะท้อนให้เห็นถึงปรัชญาการรักษาพยาบาลที่เน้นความ
รับผิดชอบในการดูแลตนเองมากกว่าการรักษา
• ทั้งนี้เพราะผูป้ ่ วยเรื้ อรังและครอบครัวเป็ นผูม้ ีประสบการณ์ตรงกับอาการ
และอาการแสดงของตน มีการพยายามในการจัดการกับอาการของตนเพื่อ
การดูแลตนเอง
• ดังนั้นบทบาทของพยาบาลจึงเป็ นการช่วยเหลือให้คาแนะนาในการปรับตัว
เพื่อตอบสนองความต้องการของผูป้ ่ วยนัน่ เอง
ลักษณะของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
• ผูป้ ่ วยโรคเรื้ อรังเป็ นผูป้ ่ วยที่มีประวัติการเจ็บป่ วยที่เคยได้รับการ
รักษาต่อเนื่องอย่างน้อย 1 เดือนต่อปี หรื อไม่สามารถปฏิบตั ิกิจวัติ
ประจาได้ตามปกติอย่างน้อย 3 เดือนต่อปี หรื อการเจ็บป่ วยนั้นทา
ให้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรหรื อมีความพิการหลงเหลืออยูห่ รื อ
พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพปกติหรื อต้องการ
การฟื้ นฟูสภาพ ติดตามประเมินผล การสังเกตและการดูแลเป็ น
ระยะเวลานาน
การตอบสนองของผู้ป่วยเรื้อรัง
•
•
•
ความปวด ความปวดอาจเกิดขึ้นตลอดเวลาของการเจ็บป่ วยและแตกต่าง
กันไปแต่ละคน ความปวดทาให้ความกระปรี้ กระเปร่ าและความมีชีวติ ชีวิต
ลดลง สนใจตนเองมากขึ้น เกิดความรู ้สึกสู ญเสี ยพลังอานาจ ซึ มเศร้า
หงุดหงิด แยกตัวเองและก้าวร้าว
ความรู ้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลง ภาวะเจ็บป่ วยเรื้ อรังทาให้ความสามารถ
ลดลงหรื อรู ้สึกแตกต่างจากเดิมจึงประเมินความมีคุณค่าในตนเองลดลง
การแยกตัวและรู ้สึกโดดเดี่ยว ความรู ้สึกแตกต่างจากคนอื่นทาให้ผปู้ ่ วย
แยกตัวและไม่เข้าสังคมโดยเฉพาะในระยะที่โรคกาเริ บและต้องพึ่งพอ
ผูอ้ ื่น
การตอบสนองของผู้ป่วยเรื้อรัง
•
•
•
ภาวะสูญเสี ยพลังอานาจ เป็ นภาวะที่บุคคลรับรู ้วา่ เขาไม่สามารถ
ควบคุมสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับชีวิตได้ ซึ่งทาให้ผปู ้ ่ วยไม่
สามารถตัดสิ นใจและไม่เป็ นตัวของตัวเอง
การหมดหวัง เนื่องจากไม่มีความผาสุ ก และไม่สามารถเผชิญ
ปัญหาต่อไปได้
ความโกรธ เป็ นปฏิกิริยาต่อความเจ็บป่ วยเรื้ อรังที่พบเสมอ ผูป้ ่ วย
อาจโกรธตนเองที่เจ็บป่ วย หรื อโกรธคนอื่นๆ ที่สุขภาพดี
ตัวอย่างของผูป้ ่ วยเรื้ อรังที่ไม่เคยหมดหวัง
ตัวอย่างของผูป้ ่ วยเรื้ อรังที่ไม่เคยหมดหวัง
ผลกระทบจากภาวะเจ็บป่ วยเรื้อรัง
• ผลกระทบต่อตัวผูป้ ่ วย ด้านร่ างกาย พัฒนาการ ความสัมพันธ์ทาง
เพศ ด้านจิตใจ ด้านสังคม
• ผลกระทบต่อผูด้ ูแลและครอบครัว
• ผลกระทบต่อระบบสุ ขภาพและภาวะเศรษฐกิจ
การพยาบาลผู้ป่วยทีม่ ีภาวะเจ็บป่ วยเรื้อรัง
•
•
•
การสร้างสัมพันธภาพ การสร้างสัมพันธภาพเป็ นสิ่ งที่สาคัญมากหากพยาบาลและ
ผูป้ ่ วยไม่มีสมั พันธภาพที่ดีต่อกันก็อาจจะไม่เกิดกิจกรรมการดูแลอื่นๆ โดยเฉพาะการ
ดูแลปัญหาด้านจิตใจ สังคมและ จิตวิญญาณ เพราะหากผูป้ ่ วยไม่ไว้วางใจพยาบาลแล้ว
จะทาให้ผปู้ ่ วยไม่กล้าขอคาปรึ กษาปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับพยาบาลซึ่ งส่ งผลไปใน
ระยะยาวต่อผูป้ ่ วยและครอบครัวและชุมชนได้
การสอนเกี่ยวกับการประเมินปั ญหาสุ ขภาพตนเองรวมทั้งการปฏิบตั ิตวั ในการดูแล
และแก้ปัญหาสุ ขภาพเบื้องต้นด้วยตนเอง
การช่วยเหลือให้ผปู้ ่ วยยินดีปฏิบตั ิตามแนวทางการรักษา เนื่องจากผูป้ ่ วยที่มีภาวะ
เจ็บป่ วยเรื้ อรังต้องมีชีวติ อยูก่ บั ข้อจากัดหลายอย่าง เช่น การจากัดอาหาร การจากัดน้ า
ดื่ม การพึ่งพาเครื่ องมือ และภาวะปัญหาทางด้านจิตใจที่ซึมเศร้า ท้อแท้อาจทาให้ผไู ้ ม่
ยินยอมปฏิบตั ิตามแนวทางการรักษา ซึ่งจะส่ งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจนทาให้โรค
กาเริ บขึ้นได้ ดังนั้นการช่วยเหลือให้ผปู้ ่ วยให้ความร่ วมมือด้วยความเต็มใจจะช่วย
ส่ งเสริ มคุณภาพชีวติ ของผูป้ ่ วยได้
การพยาบาลผู้ป่วยทีม่ ีภาวะเจ็บป่ วยเรื้อรัง
•
การส่ งต่อเพื่อให้มีติดตามเยีย่ มผูป้ ่ วยที่บา้ นอย่างต่อเนื่องเป็ น
บทบาทที่สาคัญโดยมีการเตรี ยมสถานที่ในบ้านให้เหมาะสมกับ
สภาพและความสามารถของผูป้ ่ วย การแนะนาเกี่ยวกับปัญหา
ความต้องการของผูป้ ่ วยเพื่อให้ผดู ้ ูแลและ/หรื อญาติสามารถ
ตอบสนองต่อผูป้ ่ วยได้สอดคล้องกัน
การพยาบาลประคับประคอง (Palliative care)
• การดูแลแบบประคับประคอง เป็ นการดูแลผูท้ ี่อยูใ่ นระยะสุ ดท้าย
ของชีวิตเพื่อบรรเทาอาการและส่ งเสริ มให้ผปู ้ ่ วยดารงตนอย่างมี
คุณภาพที่ดีเพราะผูป้ ่ วยกลุ่มนี้ไม่ได้มุ่งหวังเรื่ องการรักษาให้หาย
จากโรค อย่างไรก็ตามแนวคิดนี้สามารถประยุกต์ใช้กบั การรักษา
โรคอื่นๆ ที่รักษาให้หายขาดได้
คาศัพท์ที่ใช้เกี่ยวกับการดูแลผูป้ ่ วย Palliative care
• Supportive Care
• end-of-life care
• terminal care
• hospice care
แต่ Palliative care มีความหมายกว้างกว่าเพื่อนาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
ทั้งหลายมาส่ งเสริ มคุณภาพชีวิตในผูป้ ่ วยที่ไม่สามารถรักษาโรคให้หายขาดได้
หลักการของการดูแลแบบประคับประคองจึงเน้นที่คุณภาพชีวิตมากกว่า
ระยะเวลาของชีวติ ที่ยนื ยาวออกไปแต่เต็มไปด้วยความทุกข์ทรมาน นอกจากนี้ยงั
ครอบคลุมไปถึงการช่วยเหลือญาติผปู ้ ่ วยให้คลายทุกข์โศกที่เกิดจากการสูญเสี ย
(bereavement phase) ให้สามารถปรับตัวเพื่อดาเนินชีวิตได้อย่างเป็ นปกติ
ความตายและภาวะใกล้ ตาย
(Dead and Dying: How to care)
• ความตายเป็ นส่ วนหนึ่งในพัฒนาการของชีวิต
• มนุษย์เป็ นสัตว์ชนิดเดียวที่ตระหนักในความตายของตัวเอง
• ความกลัวตายของมนุษย์เป็ นผลมาจากกระบวนการเรี ยนรู ้ (Learning
process)
• ปฏิกิริยาของผูป้ ่ วยที่ทราบว่าตัวเองกาลังจะตายจึงเป็ นปฏิกิริยาที่เกิดมาจาก
ผลของการเรี ยนรู ้ & ประสบการณ์ในอดีต (Past experiences)
• ทาให้ผปู ้ ่ วยแต่ละคนต่างก็จดั การกับปัญหาเกี่ยวกับความตายของตัวเอง
แตกต่างกันออกไป
Definitions of death
• การหยุดลงของการทาหน้าที่ทางชีววิทยา (Biological function)
• ความก้าวหน้าเป็ นอย่างมากในเทคโนโลยีทางการแพทย์
• ความหมายของการตายโดยใช้สมองตาย (Brain death) เป็ นตัวกาหนด
ทั้งในทางการแพทย์และทางกฎหมาย
มาตรฐานการตายของฮาร์วาร์ด (The Harvard Criteria)
• Unreceptive and unresponsive
• No movements and no breathing
• No reflexes
• A flat EEG
American Medical Association, 1981
• การระบุวา่ บุคคลใดที่การทางานของสมองทั้งหมด รวมทั้งก้านสมอง
(Brain stem) หยุดลงและไม่สามารถแก้ไขได้ถือว่าตายแล้ว จะต้อง
เป็ นไปตามมาตรฐานการยอมรับทางการแพทย์ ดังนี้
– การหยุดทางานของสมองจะพิจารณาประเมิน 2 ประเด็น
• สมองส่ วนใหญ่หยุดทางาน คืออยูใ่ นขั้น Deep coma ซึ่งผล EEG จะราบเรี ยบและผล
ของ Angiography จะแสดงการไหลเวียนของโลหิตไปเลี้ยงสมองขาดไปอย่างน้อย 10
นาที
• ก้านสมองหยุดทางาน สังเกตจากไม่มี Reflex จากตาต่อแสงกระตุน้ ตาไม่มีการเคลื่อน
ไม่เมื่อเคลื่อนศีรษะไปด้านข้าง รวมทั้งไม่มี Reflex ด้านต่าง ๆ เช่น Corrneal reflex,
Gag reflex, Cough reflex, Respiratory reflexes
American Medical Association, 1981
• ความตายซึ่ งไม่สามารถแก้ไขอะไรได้อีกพิจารณาจาก 3 ประเด็น
– การมีอาการโคม่าทาให้ทราบได้วา่ การทางานของสมองสูญเสี ยไป
– ความเป็ นไปได้ที่สมองจะสามารถดีข้ ึนได้ไม่มีแล้ว
– สมองหยุดทางานนานพอสมควร โดยดูจาก EEG หรื อข้อมูลเกี่ยวกับ
การหยุดไหลเวียนของเลือดอย่างน้อย 10 นาที
ข้ อพึงระวังที่ทาให้ การวินิจฉัยอาจผิดพลาด
• การใช้ยากดประสาท
• ผูป้ ่ วย Hypothermia ซึ่งอุณหภูมิร่างกายต่ากว่า 32.2 C
• เด็กเล็กอายุต่ากว่า 5 ปี จะมีการต่อต้านการถูกทาลายและมีศกั ยภาพ
ในการฟื้ นตัวได้ดีกว่า แม้วา่ จะมีการแสดงการตอบสนองใน
ระยะเวลาที่นานกว่าผูใ้ หญ่กต็ าม
• อาการ Shock ถ้าเป็ นเหตุให้เกิดการไหลเวียนของโลหิ ตลดลงมาก
ได้ในขณะนั้นในสมัยโบราณนั้น ความตายในคนทุกวัยจะอยูใ่ น
อัตราที่ใกล้เคียง ความก้าวหน้าทางการแพทย์ในปัจจุบนั ทาให้
อัตราตาย ลดลงในทุกวัย
การพิจารณาความตาย
• เวลา
– ความตายเมื่อถึงเวลาที่สมควรตาย (Timely death or "on
time" or postmature)
– ความตายที่ยงั ไม่สมควรตาย หรื อยังไม่ถึงเวลา
(Untimely death or "off time" or premature)
การพิจารณาความตาย
• ไม่เกี่ยวกับเงื่อนไขของเวลา
• Timely death อาจหมายถึงตายร้ายก็ได้ ถ้าเป็ นกรณี ของผูส้ ู งอายุที่มี
โรคประจาตัวและต้องทนทุกข์ทรมานก่อนตายเป็ นอย่างมาก
• "ตายดี" และ "ตายร้าย" ("Good" deaths and "Bad" deaths)
• Good deaths: ตายอย่างมีศกั ดิ์ศรี และมีความหมาย
• Bad deaths
– ตายเพราะฆ่าตัวตาย (Suicide)
– ฆาตกรรม (Homicide) หรื อ
– อุบตั ิเหตุ (Accidental death)
Bad deaths
• Intentional
• Unintentional
• Subintentional
การสู ญเสี ย (Loss)
•
•
•
•
•
•
•
Loss of ability to have experience
Loss of ability to predict subsequent events
Loss of the body
Loss of the ability to care for dependents
Loss suffered by family and friends
Loss of the opportunity to complete plans and projects
Loss of being in a relatively painful state
ปฏิกริ ิยาต่ อการตายและการสู ญเสี ย
• Denial (Shock) คือการตกใจและปฏิเสธความจริ งว่ามันไม่ได้เป็ น
อย่างนั้น
• Anger คือความโกรธ โกรธที่ตวั เองกาลังจะตาย โกรธแพทย์และ
ทีมผูร้ ักษา
• Bargaining เป็ นความรู ้สึกที่อยากต่อรองกับความตายและความ
สูญเสี ยที่กาลังจะมาถึง
• Depression ช่วงนี้มีอาการซึมเศร้า หมดแรง มองโลกในแง่ลบ เบื่อ
อาหาร นอนไม่หลับ อยากตาย
• Acceptance เป็ นระยะที่ยอมรับความจริ ง พร้อมใจที่จะเผชิญกับทุก
สิ่ งที่จะเกิดขึ้นกับตัว
Mansell Pattison (1977) แบ่งปฏิกิริยาต่อการตายไว้ 3 ระยะ
• The acute phase ผูป้ ่ วยตระหนักว่าตัวเองกาลังจะตาย ซึ่งเกิดขึ้นไว
กว่าที่คาดไว้ ระยะนี้ผปู ้ ่ วยจะวิตกกังวล โกรธ กลัว หรื อคับแค้นใจ
• The Chronic phase ผูป้ ่ วยเริ่ มเผชิญกับความกลัวตาย กลัวการโดด
เดี่ยวความทุกข์ทรมาน การพรากจากคนรัก และกลัวสิ่ งต่าง ๆ ที่ไม่
รู ้จะเกิดขึ้น ระยะนี้แพทย์และทีมผูร้ ักษาต้องให้คาปรึ กษาช่วยเหลือ
ดูแลอย่างใกล้ชิด
• The terminal phase ผูป้ ่ วยเริ่ มลดความคาดหวังที่จะหายจากโรค
ตระหนักว่าโรคจะอาการกาเริ บมากขึ้น แยกตัวจากผูอ้ ื่นและคิดถึง
ตัวเองมากขึ้น
การตายอย่ างมีศักดิ์ศรี (Dying with dignity)
• การตายอย่างมีศกั ดิ์ศรี เป็ นสิ่ งที่ผปู ้ ่ วยใกล้ตายพึงจะได้รับ เป็ นเรื่ องของคุณภาพ
ชีวิตก่อนตาย ความสงบและผ่อนคลาย การเคารพตนเอง การมีเกียรติ มีคุณค่า
• Hospice program จะมีส่วนช่วยให้ผปู ้ ่ วยได้ตายอย่างมีศกั ดิ์ศรี
• Hospice program เป็ นการจัดการแบบ Humanistic ให้กบั ผูท้ ี่กาลังจะตาย
(Dying person) เป็ นการเน้นจัดการให้มีความสะดวกสบายมากกว่าเน้นการ
รักษาให้หาย
• การดูแลเพื่อกาจัดหรื อลดความเจ็บปวดเป็ นประเด็นหลัก สร้างบรรยากาศที่
อบอุ่นแบบที่บา้ น ไม่มีเครื่ องไม้เครื่ องมือต่างๆ ที่จะช่วยชีวิตระโยงระยางอยู่
รอบตัว
Hospice program จะเน้น 3 ประเด็นหลักคือ
• ควบคุมความเจ็บปวด (Control pain)
• การตายอย่างง่าย ๆ (To die a simple death) คือตายอย่างเป็ น
ธรรมชาติ
• ให้ความรักและการดูแลที่ดี ซึ่งเป็ นหลักการเดียวกับ
Palliative care program ที่เน้น "Whole person medicine"
(Doutre, Stillwell, and Ajemian, 1979) แต่ Palliative care
program จะเน้นอยูใ่ นโรงพยาบาลที่เน้นการดูแลแบบ
เฉี ยบพลัน
สิ ทธิทจี่ ะตาย (The Rights to Die)
• ผูป้ ่ วยที่รักษาไม่หายย่อมมีสิทธิที่จะเลือกตายได้ตามสมควร
• เกี่ยวข้องกับเมตตามรณะ (Euthanasia) และพินยั กรรมชีวิต
(Living wills)
• Euthanasia หมายถึงการตายที่สงบหรื อตายดี (A good or
peaceful death) "Mercy Killing" หรื อตายด้วยเมตตา
• เมตตามรณะ เป็ นการทาให้ตายไปจากความทรมานที่ไม่อาจ
รักษาได้
Euthanasia
• Active euthanasia คือการที่แพทย์ผรู ้ ักษาทาวิธีใดวิธีหนึ่ งให้ผปู ้ ่ วยที่
ไม่มีทางรักษาได้ให้ตายพ้นจากความเจ็บปวดทรมาน
• Passive euthanasia คือการที่แพทย์ละเลยไม่ทาการรักษาต่อ เพราะ
ต้องการให้ผปู ้ ่ วยตายไปเองเพื่อพ้นจากการทรมาน
• Voluntary euthanasia เป็ นการสมัครใจของผูป้ ่ วยที่จะให้เลิกการ
รักษาตัวเองเพื่อให้พน้ ทรมาน
• Involuntary euthanasia เป็ นภาวะที่ผปู ้ ่ วยไม่อยูใ่ นสภาพที่จะบอก
กล่าวหรื อรับรู ้กบั ผูใ้ ดได้ ดังนั้นการตัดสิ นใจรักษาหรื อไม่จึงเป็ นการ
ตัดสิ นใจของผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
Physician - assisted suicide
• การที่แพทย์ช่วยให้คนป่ วยได้ฆ่าตัวตายเองเพื่อให้พน้ ความทุกข์
ทรมานจากการป่ วยด้วยโรคที่รักษาไม่หาย
• เช่น กรณี ของนายแพทย์ Jack Kevorkian ได้สร้างเครื่ องมือฆ่าตัว
ตาย (Thanatron เครื่ องการุ ณยฆาต)เพื่อให้ผปู ้ ่ วยเลือกตัดสิ นใจใช้
ฆ่าตัวตายเองภายใต้คาแนะนาของแพทย์
• DNR หรื อ "Do not resuscitate" เป็ นการไม่ใช้เครื่ องช่วยหรื อ
วิธีการรักษาโดยใช้เครื่ องมือเทียมต่าง ๆ เพิ่มเติมไปจากเดิม ซึ่ง
ไม่ใช่การจงใจให้ตายเหมือน Passive euthanasia เพียงแต่เป็ นการ
ไม่เพิม่ วิธีการรักษาอันเป็ นการลดคุณค่าของความเป็ นมนุษย์ลงไป
Thanatron เครื่ องการุ ณยฆาต
• ประกอบด้วยขวดน้ าเกลือ3 ขวด ต่อเข้ารวมกัน ในแต่ละขวด
ประกอบด้วย ยานอนหลับ ยาหยุดหายใจ ยาหยุดหัวใจ หมอเป็ นคน
แนะนาให้ผปู ้ ่ วย เปิ ดก๊อกยาเข้าเส้นฆ่าตัวตาย หมอไม่ได้ทาเอง
คนไข้ทุกคนเป็ นคนไข้เรื้ อรัง รักษาไม่หาย นายแพทย์ Jack
Kevorkian ใช้เครื่ องมือนี้ช่วยให้คนไข้ตายมาแล้ว 130 ราย
การให้ ความช่ วยเหลือแก่ ผ้ ูป่วยในระยะสุ ดท้ าย
• ให้เข้าใจความรู ้สึกตนเองก่อนว่ารู ้สึกเช่นไรกับภาวะใกล้ตายและ
ความตาย เราจะต้องสามารถยอมรับความตายว่าเป็ นเรื่ องปกติของ
ทุกคน และแม้แต่ตวั เราเองก็จะต้องตายเช่นกัน
• แสดงให้เห็นว่าคุณมีความพร้อมและเต็มใจที่จะคุยกับผูป้ ่ วย การ
แสดงออกทั้งทางภาษาพูด การสัมผัส การกอด และไม่พดู ในสิ่ งที่
ผูป้ ่ วยรู ้สึกไม่สบายใจ พยายามแสดงให้เห็นว่าเราพร้อมที่จะเป็ น
กาลังใจ เข้าใจและคอยรับฟังเขาเสมอ
การให้ ความช่ วยเหลือแก่ ผ้ ูป่วยในระยะสุ ดท้ าย
• ถ้ารู ้สึกไม่สบายใจในการพูดถึงบางหัวข้อเรื่ องให้บอกผูป้ ่ วยถึง
ข้อจากัดหรื อความรู ้สึกของตนเองแก่ผปู ้ ่ วย ความซื่อสัตย์ เปิ ดเผย
และเคารพซึ่งกันและกันเป็ นองค์ประกอบสาคัญในการสร้าง
สัมพันธภาพ
• ตอบคาถามให้ถูกต้องที่สุดเท่าที่จะทาได้ ถ้ามีคาถามใดที่ตอบไม่ได้
ให้สอบถามหรื อหาผูท้ ี่สามารถตอบได้มาอธิบายให้ผปู ้ ่ วยรับทราบ
ถ้าผูป้ ่ วยยังมีโอกาสที่จะรักษาให้หายได้ควรบอกให้ผูป้ ่ วยมีกาลังใจ
แต่ไม่ควรพูดจนเกินเลยความเป็ นจริ ง
การให้ ความช่ วยเหลือแก่ ผ้ ูป่วยในระยะสุ ดท้ าย
• ให้เวลาแก่ผปู ้ ่ วยต่อการที่จะยอมรับสถานการณ์ดว้ ยตัวของเขาเอง
อย่าไปบังคับให้เขาต้องยอมรับกับสิ่ งที่จะเกิดขึ้น แต่พยายามให้
ข้อมูลทุกอย่างที่เกี่ยวข้องต่อเขา การยอมรับในชะตากรรมของ
ตนเองนั้นเป็ นขั้นตอนสาคัญอย่างหนึ่งในกระบวนการของภาวะ
ใกล้ตาย
• เคารพในความเชื่อด้านปรัชญาและศาสนาของผูท้ ี่กาลังจะตาย
อย่าได้คา้ นหรื อว่าให้ผปู ้ ่ วยถึงความเชื่อในด้านเหล่านี้ของเขา เรา
ต้องพยายามเปิ ดใจให้กว้าง รับฟัง ยอมรับ และให้กาลังใจ
การให้ ความช่ วยเหลือแก่ ผ้ ูป่วยในระยะสุ ดท้ าย
• ช่วยให้ครอบครัวและเพื่อนยอมรับความจริ งถึงเรื่ องความตายของ
ผูป้ ่ วย
• เมื่อคนใกล้ชิดผูป้ ่ วยยอมรับได้จะมีผลต่อความรู ้สึกผูป้ ่ วยเองที่
ยอมรับได้เช่นกัน
• ระลึกไว้เสมอว่าญาติและเพื่อนผูป้ ่ วยก็มีบางสิ่ งที่ตอ้ งการความ
ช่วยเหลือเช่นกัน ให้แสดงให้เห็นว่าเราพร้อมที่จะช่วยเมื่อเรา
ต้องการ
ความโศกเศร้ า (Grief, Mourning and Bereavement)
• Grief เป็ นความรู้สึกโศกเศร้าเนื่องจากสูญเสี ยคนรอบข้าง
อันเป็ นที่รัก
• Mourning เป็ นกระบวนการที่จะช่วยขจัดความโศกเศร้า ซึ่ ง
เป็ นกระบวนการแสดงออกโดยพฤติกรรมทางสังคม และ
กิจกรรมต่าง ๆ เช่น การแต่งกายและพิธีกรรมในงานศพ
• Berearement เป็ นภาวะที่คนรู้สึกสูญเสี ยเนื่องจากคน
ใกล้ชิดอันเป็ นที่รักตายจากไป รวมเวลาถึงกระบวนการ
Mourning ด้วย
Normal Grief
• รู ้สึกเสี ยใจรุ นแรง โดยแสดงออกในลักษณะโกรธแค้น หรื อชาไม่
รู ้สึกตัว (numbness) แรก ๆ อาจปฏิเสธและแสดงความโกรธออกมาซึ่ ง
เป็ นอาการปกติ บางคนจะอยูใ่ นขั้นนี้เป็ นเดือนหรื อไม่กี่วนั หรื อเมื่อ
อาการนี้หายแล้วก็อาจกลับมาอีกได้ใน mourning process
• เป็ นขั้นที่คิดถึงและใฝ่ เรี ยกหาผูต้ าย บุคคลจะมีอาการไม่อยูน่ ิ่งคิดแต่
เรื่ องของผูต้ ายขั้นนี้อาจคงอยูเ่ ป็ นเวลาหลายเดือน หรื อหลายปี
• ขั้นนี้เป็ นขั้นท้อแท้หมดหวัง (Despair) เริ่ มรู ้สึกยอมรับความจริ งมากขึ้น
ทาให้รู้สึกหมดหวัง ท้อแท้ แยกตัว น้ าหนักลด รับรู ้วา่ ความทรงจาก็คือ
ความทรงจา
• เริ่ มหันกลับเข้าสู่การดาเนินชีวิตที่เป็ นจริ งมากขึ้น จะมีการนึกถึงผูต้ ายก็
ในบางครั้ง
ระยะเวลาในความโศกเศร้ า (Grief period)
• ไม่สามารถบอกได้ชดั เจน เพราะขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของแต่ละคนไป
ความรุ นแรงและระยะเศร้ายังขึ้นอยูก่ บั การตายเกิดขึ้นอย่างไรด้วย
Anticipatory Grief
• ความโศกเศร้าที่เกิดขึ้นในช่วงที่ทราบว่าจะต้องมีการสูญเสี ย
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่น การมีญาติป่วยหนัก หรื อการที่
ทราบว่าญาติถูกส่ งเข้า Concentration camp
Pathological (Abnormal) Grief
• ความโศกเศร้าที่ถือว่าผิดปกติ มีหลายรู ปแบบ มีต้ งั แต่ความรู ้สึก
โศกเศร้าที่รุนแรงและเป็ นระยะเวลานานเกินกว่าปกติและอาจมี
ความคิดอยากฆ่าตัวตายหรื อมีอาการทางจิตแสดงให้เห็นอย่าง
ชัดเจน เช่น มี Hallucination ได้ยนิ เสี ยงผูต้ ายคุยด้วยหรื อเชื่อว่า
ผูต้ ายยังไม่ตาย
• ผูท้ ี่เสี่ ยงต่อการเกิดอาการเศร้าอย่างผิดปกติน้ ี ได้แก่ผทู ้ ี่ตอ้ งประสบ
กับการสูญเสี ยอย่างกะทันหัน หรื อประสบสถานการณ์ที่น่ากลัว
เป็ นผูท้ ี่โดดเดี่ยวไม่ค่อยมีสงั คม ผูท้ ี่คิดเสมอว่าตนเป็ นผูร้ ับผิดชอบ
ต่อการตายของคนที่ตนรัก ผูท้ ี่เคยสูญเสี ยอย่างรุ นแรงมาในชีวิต ผูท้ ี่
มีสัมพันธภาพแบบพึ่งพา (Dependent) กับผูต้ ายเป็ นอันมาก
Grief and Depression (โศกเศร้ากับซึ มเศร้า)
• Grief & Depression มีการแสดงอาการร่ วมกันหลายอย่าง
• แต่กม็ ีความต่างที่เป็ นลักษณะเฉพาะของอาการซึ่งแยกได้
• อารมณ์ที่รู้สึกถูกรบกวนในภาวะซึมเศร้าจะรุ นแรงและคงอยูน่ าน
กว่าไม่ค่อยมี Fluctuation แต่ในแง่ของอาการโศกเศร้าจะเปรี ยบ
เหมือนคลื่นที่โถมเข้าฝั่งแล้วก็ราบเรี ยบลงมีอาการขึ้นลง ๆ
• คนที่ซึมเศร้าจะมีความรู ้สึกอายและรู ้สึกผิดร่ วมด้วย มักคิดว่าตนไม่
มีคุณค่า เป็ นคนที่แย่หรื อเลวมาก แต่ถา้ ในคนที่โศกเศร้าก็จะคิด
เพียงว่าเขาไม่ได้ทาสิ่ งที่ดีเพียงพอสาหรับผูต้ าย
Grief and Depression (โศกเศร้ากับซึ มเศร้า)
• ผูท้ ี่ซึมเศร้าจะรู ้สึกสิ้ นหวังไม่ทราบว่าอาการความรู ้สึกจะดีข้ ึนได้
อย่างไร แต่ผทู ้ ี่มีอาการโศกเศร้าจะเป็ นเพียงช่วยระยะเวลาหนึ่ง
เท่านั้น
• การมีอาการโศกเศร้าถือว่าเป็ นเรื่ องปกติแต่เมื่อใดที่อาการนี้
เปลี่ยนไปสู่อาการซึมเศร้าแล้ว ต้องอาศัยการช่วยเหลือทาง
การแพทย์และการป้ องกันการฆ่าตัวตาย
How to Deal with Grief
• เริ่ มต้นต้องมีการเตรี ยมให้ญาติรับทราบว่าผูท้ ี่ตนรักกาลังจะ
ตาย
• ในกรณี ที่ผปู ้ ่ วยตายไปแล้วก็ให้มีโอกาสและส่ งเสริ มให้ญาติ
ได้แสดงความรู้สึกออกมา ไม่ควรเก็บกดไว้
• ถ้าญาติสามารถพบหรื อแลกเปลี่ยนความรู้สึกของตนกับคน
ที่เข้าใจจะยิง่ ช่วยได้มาก ปกติคนทัว่ ไป
• ยานอนหลับ ยาประเภท antidepressant และ antianxiety
แพทย์จะไม่ใช้ในกรณี ที่มีอาการโศกเศร้าแบบปกติ
Grief Therapy
• การจัด Counseling sessions แก่ผทู ้ ี่อาการเศร้าจึงเป็ นสิ่ งที่มีค่ามาก
ทักษะด้านบาบัดความเศร้า (Grief therapy)
• ในช่วงแรกของการบาบัดคือการช่วยให้ผทู ้ ี่สูญเสี ยคนรักได้ระบาย
ความรู ้สึกในใจออกมาให้ได้ บางคนอาจรู ้สึกโกรธ สับสน หรื อ
ชิงชังต่อผูท้ ี่ตายไปออกมาก็ให้เขารับรู ้วา่ เป็ นเรื่ องปกติที่เขาสามารถ
แสดงความรู ้สึกนี้ออกมาได้
• ในช่วงให้การบาบัด ผูใ้ ห้การบาบัด (Therapist) จะต้องช่วยให้ผรู ้ ับ
การบาบัดเกิดความมัน่ ใจและพัฒนาการรับรู ้ถึงอนาคตตนเอง ความ
รับผิดชอบและความรู ้สึกเป็ นตัวของตัวเองให้ได้
Grief Therapy
• ผูบ้ าบัดจะต้องรู ้สึกสบายไม่อึดอัดในการพูดถึงความตายและสามารถ
รับกับสถานการณ์ที่ผมู ้ ารับการบาบัดแสดงความรู ้สึก เศร้าโกรธ ผิด
ฯลฯได้
• ผูใ้ ห้การบาบัดจะร่ วมในการนาผูร้ ับการบาบัดไปสู่การตัดสิ นใจที่เป็ น
ตัวของตัวเองมากขึ้น
• Grief therapy จะทาแบบตัวต่อตัว
• ส่ วน Group counseling ก็มีประสิ ทธิภาพดีเช่นกันSelf - help group sก็
มีประโยชน์มาก เพราะบางคนจะรู ้สึกว้าเหว่และแยกตัว Self - help
groups จะช่วยให้สมาชิกมีสงั คมมากขึ้น
ทาอย่ างไรจึงจะอยู่ระหว่ างกลางของบุคคลสองกลุ่มนี้
• ประการแรกเราต้องตระหนักและยอมรับต่อความรู ้สึกที่เกิดขึ้นนี้
เช่นเดียวกับความรู ้สึกอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นกับเรา ไม่มีประโยชน์อะไรที่
จะไปควบคุมมัน เมื่อเราสูญเสี ยบางสิ่ งที่สาคัญ เราก็ควรที่จะมี
ความรู ้สึกบ้างมิใช่หรื อ ในเมื่อบุคคลหรื อสิ่ งนั้นมีคุณค่าสมควรแก่
การเสี ยใจของเรา เราเป็ นเพียงมนุษย์ปุถุชนคนหนึ่งที่มีความรู ้สึกมี
อารมณ์เหมือนที่คนอื่น ๆ เขาเป็ นกัน
ทาอย่ างไรจึงจะอยู่ระหว่ างกลางของบุคคลสองกลุ่มนี้
• ความโศกเศร้าที่ เกิดขึ้นนี้ จะเบาบางลงเมื่อเวลาผ่านไปเฉกเช่น
ความรู ้สึกอื่น ๆ นอกจากจะถูกกระตุน้ ให้หวนกลับมาอีก จากบาง
เหตุการณ์ บางสถานการณ์ เช่น ครบรอบวันเกิด หรื อวันที่ผเู ้ สี ยชีวิต
จากไป ฟังเพลงหรื อชมภาพยนต์ที่ทาให้หวนราลึกถึงความสัมพันธ์
ครั้งก่อน เหตุการณ์เหล่านี้ลว้ นทาให้หวนคิดถึงผูท้ ี่จากไปเกิดความ
โศกเศร้า ความปวดร้าวขึ้นมาอีก อย่างไรก็ตามความรู ้สึกเหล่านี้ก็
จะเบาบางลงในเวลาต่อมาเช่นกัน
ทาอย่ างไรจึงจะอยู่ระหว่ างกลางของบุคคลสองกลุ่มนี้
• คนที่ปรับตัวได้ดีจะพยายาม ทาหน้าที่ที่ตอ้ งรับผิดชอบใน
ชีวิตประจาวันต่อไป โดยไม่แสร้งทาตัวให้เข้มแข็ง หรื อแย่กว่าที่เขา
เป็ นจริ ง เขาไม่พยายามที่จะปิ ดบังความรู ้สึกที่มีโดยเสไปยุง่ อยูก่ บั
งานหรื อรับผิดชอบงานให้มากขึ้น แต่เขาทางานเพราะตระหนักว่า
การมุ่งอยูก่ บั งานจะดึงความใส่ ใจออกมาจากความโศกเศร้าที่มี
มากกว่า ที่จะนัง่ นอนเฉย ๆ ปล่อยให้ใจลอยคิดเรื่ อยเปื่ อย
คิดเสมอว่ า
อุปสรรค ต่าง ๆ เป็ นบทเรี ยนที่ดี ทาให้เราเข้มแข็งขึ้น พัฒนามาก
ขึ้น อันไม่อาจหาได้จากตาราไหน ๆ อีกแล้ว นอกจากตาราชีวิตของ
เราเอง ตัวความโศกเศร้าไม่ได้ทาให้เราเข้มแข็งขึ้น หากอยูท่ ี่การ
จัดการการแก้ไขต่อความรู ้สึกที่เกิดขึ้นซึ่งจะเป็ นบทเรี ยนที่ ดีแก่เรา
ในการปรับตัวในครั้งต่อ ๆ ไป
การพยาบาลผู้ป่วยระยะสุ ดท้ าย (Hospice care)
• จุดสาคัญในการดูแลผูป้ ่ วยระยะสุ ดท้ายจึงอยูท่ ี่ การทาความ
เข้ าใจและเอาชนะความรู้ สึกอึดอัดใจของตนเอง โดยมองให้
เห็นถึงสิ่ งที่เราสามารถช่ วยเหลือผู้ป่วยระยะสุ ดท้ ายได้
• สิ่ งที่ผปู้ ่ วยต้องการมากก็ คือ การให้ การดูแลเอาใจใส่ และ
ความห่ วงใย (cure sometimes, comfort often, care always).
ความหมาย
• การดูแลผูป้ ่ วยในวาระสุ ดท้ายของชีวิต เป็ นการดูแลแบบองค์รวม
เพื่อสนองความต้องการทุกด้านของผูป้ ่ วยรวมทั้งครอบครัวของ
ผูป้ ่ วย ให้ผปู ้ ่ วยบรรเทาความทุกข์ทรมาน มีคุณภาพชี วิตที่ดี ถึงแก่
กรรมอย่างสมศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์และเป็ นไปตามธรรมชาติโดย
การดูแลแบบประคับประคองจากทีมงานที่มีความรู ้ ประสบการณ์
อุทิศตน และครอบครัวผูป้ ่ วยอย่างแท้จริ ง
คาที่นิยมใช้ และทาให้ เกิดความสั บสนกับ Hospice care
• การรักษาประคับประคอง (Supportive treatment) เป็ นการรักษาโรคอย่าง
หนึ่ง มีเป้ าหมายเพื่อลดความผิดปกติ (พยาธิสรี รวิทยา) ที่เกิดจากโรค ทาให้
ผูป้ ่ วยมีการทางานของร่ างกายเข้าใกล้ภาวะปกติ (สรี รวิทยา) มากที่สุด
• การรักษาบรรเทา, การรักษาประทัง (Palliative treatment, Palliative care)
หรื อนิยมเรี ยกว่าการรักษาแบบประคับประคอง คือการให้การดูแลรักษาแบบ
ใดๆ ทางการแพทย์ ที่เน้นไปที่การลดความรุ นแรงของอาการของโรค
มากกว่าจะหยุด ชะลอ หรื อย้อนกระบวนการของโรค หรื อรักษาให้หายจาก
โรค เป้ าหมายของการรักษาแบบนี้คือเพื่อลดความทุกข์ทรมานและเพิ่ม
คุณภาพชีวติ ให้แก่ผปู ้ ่ วยที่มีโรครุ นแรงหรื อซับซ้อนมาก การรักษาบรรเทานี้
ไม่จาเป็ นต้องขึ้นอยูก่ บั พยากรณ์โรคของผูป้ ่ วยว่าดีหรื อแย่เพียงใด และ
สามารถให้พร้อมกันกับการรักษาเพื่อให้หายและการรักษาอื่นๆ ทั้งหลายได้
แนวทางการให้ การดูแลผู้ป่วยระยะสุ ดท้ าย
• ปัญหาทางกาย
• ด้ านจิตใจ
• ด้ านสั งคมเศรษฐกิจ
ศาสนากับการประยุกต์ ใช้ ในการดูแลผู้ป่วยระยะสุ ดท้ าย
• แนวคิดศาสนาพุทธทีเ่ กีย่ วข้ องกับความตาย
• ความตายเป็ นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอนไปพร้อม ๆ
กันที่แน่นอน
• ความตายเป็ นทั้งจุดเริ่ มต้นและสิ้ นสุ ด มีสิ่งหนึ่งที่สืบเนื่องต่อไป
จากความตาย อาจเป็ นชีวิตใหม่ภพใหม่
• ความตายเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยงั มีชีวิตอยู่
• ความตายเป็ นทั้งวิกฤตและโอกาส กล่าวคือ เป็ นวิกฤตทางกาย และ
เป็ นโอกาสทางจิตวิญญาณ พระพุทธศาสนาเชื่อว่าแม้ในภาวะที่ใกล้
ตาย ยังมีโอกาสที่จะไปสู่ความหลุดพ้นหรื อนิพพาน
แนวคิดศาสนาพุทธทีเ่ กีย่ วข้ องกับความตาย
• ความตายมีท้ งั มิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ
• การประคองรักษาจิตให้สงบเป็ นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่ วย
ทุกข์ทรมานนั้นเป็ นไปได้ โดยผูป้ ่ วยสามารถฝึ กจิตเองหรื ออาจ
อาศัยสภาพแวดล้อมช่วย
• การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนาไม่ใช่ตายอย่างไร สภาพแบบไหน
แต่อยูท่ ี่สภาพจิตก่อนตายว่าเป็ นอย่างไร
หลัก 7 ประการในการช่ วยเหลือผู้ป่วยระยะสุ ดท้ าย
•
•
•
•
•
•
•
ประการที่ 1 การให้ความรัก ความเข้าใจ
ประการที่ 2 ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึง
ประการที่ 3 ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่ งที่ดีงาม
ประการที่ 4 ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่ งค้างคาใจ
ประการที่ 5 ช่วยปล่อยว่างสิ่ งต่าง ๆ
ประการที่ 6 สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
ประการที่ 7 กล่าวคาอาลา
แนวคิดศาสนาอิสลามทีเ่ กีย่ วข้ องกับความตาย
• หลักศาสนาอิสลามมีความเชื่อว่าพระเจ้า (อัลลอฮ์) เป็ นผูส้ ร้างมนุษย์
ขึ้นในโลก โดยกาหนดเวลาเกิด เวลาตายไว้ให้แล้ว
• มนุษย์มีหน้าที่ตอ้ งเคารพ ศรัทธา สักการะอัลลอฮ์ดว้ ยการทาความดี
• โลกหน้าเป็ นโลกแท้จริ งที่พึงปรารถนา เป็ นชีวิตที่จีรัง ยัง่ ยืน ชีวิตใน
โลกนี้เป็ นเพียงทางผ่านสู่โลกหน้าเท่านั้น
• ความตายจึงไม่ใช่การสิ้ นสุ ดชีวิตแต่เป็ นการย้ายชีวิตจากโลกนี้ไปยัง
โลกหน้าที่สุขสบายกว่า ยัง่ ยืนกว่า
แนวคิดศาสนาอิสลามทีเ่ กีย่ วข้ องกับความตาย
• ศาสนาอิสลามจึงสอนให้มนุษย์ระลึกถึงความตายอยูเ่ สมอจะได้ไม่
ทาความชัว่ ให้ทาแต่ความดี
• ความเจ็บป่ วยที่ผา่ นเข้ามา เพราะนัน่ เป็ นเพียงบททดสอบถึงความ
ศรัทธาที่มีต่อพระเจ้า
• ผูท้ ี่ทอ้ แท้ สิ้ นหวังกับชีวิตพึงระลึกไว้เสมอว่าพระเจ้าเป็ นที่พ่ งึ และ
ทรงมีเมตตา ให้อภัยมนุษย์เสมอ ดังนั้น มนุษย์จึงควรทาความดีเพื่อ
จะได้ใช้ชีวิตในโลกหน้าอย่างมีความสุ ข
หลักปฏิบัติทางศาสนาอิสลามสาหรับผู้ป่วยระยะสุ ดท้ าย
เพือ่ การตายอย่ างสงบ
•
•
ถ้าผูป้ ่ วยยังมีสติให้พยายามนึกถึงพระเจ้าในทางที่ดี ระลึกไว้วา่
พระเจ้าเป็ นผูซ้ ่ ึงมีเมตตา และหวังว่าท่านจะให้อภัยในบาปต่างๆ
ที่ได้ทาลงไป ไม่ลงโทษ
ให้ญาติจบั ผูป้ ่ วยนอนตะแคงทับสี ขา้ งด้านขวา (หากทาไม่ได้ให้
จับนอนหงาย) หันใบหน้าไปทางทิศกิบลัต คือทิศที่ต้ งั ของบัย
ติลละอ์ในนครมิกกะฮ์ สาหรับประเทศไทยคือทิศตะวันตก
หลักปฏิบัติทางศาสนาอิสลามสาหรับผู้ป่วยระยะสุ ดท้ าย
เพือ่ การตายอย่ างสงบ
•
•
ให้ญาติสอนการปฏิญาณตน ให้ผปู ้ ่ วยกล่าวคาว่า “ลาอิลา ฮาอิล
ลาลลอฮ์ ” ซึ่งมีความหมายว่า “ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจาก
อัลลอฮ์” โดยสอนเบาๆไม่เร่ งเร้าที่ขา้ งหูขวา เพื่อผูป้ ่ วยจะเกิด
ความสงบ เพราะคานี้เป็ นคาที่ประเสริ ฐสุ ด หากก่อนตายใครได้
กล่าวคานี้เป็ นคาสุ ดท้ายจะได้ข้ ึนสวรรค์โดยไม่ถกู สอบสวน
อ่านคัมภีร์อลั กุรอ่านบท “ญาซีน” ให้ผปู ้ ่ วยใกล้ตายฟังไม่วา่ เขา
จะรู ้สึกตัวหรื อไม่กต็ าม การอ่านคัมภีร์บทนี้ พระเจ้าจะส่ งความ
เมตตามายังสถานที่แห่งนั้น ทาให้วิญญาณออกจากร่ างอย่างสงบ
สบาย ไม่เจ็บปวด
แนวคิดศาสนาคริสต์ ที่เกีย่ วข้ องกับความตาย
• ศาสนาคริ สต์ (คาทอลิก) มีความเชื่อว่าชีวิตมนุษย์มาจากพระเจ้า
ตลอดช่วงการดาเนินชีวิต
• นอกจากนี้ยงั เชื่อในเรื่ องดวงวิญญาณที่ถาวรในโลกหน้า ซึ่งพระเจ้า
จะเป็ นผูก้ าหนดเวลาที่คนจะก้าวไปสู่อีกโลกที่สมบูรณ์กว่านี้ให้อีก
• คาทอลิกจึงมีทศั นะต่อความตายว่าไม่ใช่จุดสิ้ นสุ ด แต่เป็ นจุดเริ่ มต้น
สู่การไปพบพระเจ้า ดังนั้นจึงต้องดูแลช่วงเวลานี้
• ดูแลวิญญาณให้ไปสู่ความเป็ นอมตะนิรันดร์ คาทอลิกให้
ความสาคัญกับช่วงเวลาก่อนตายไม่นอ้ ยกว่าเวลามีชีวิต ถือว่าเป็ น
ช่วงเวลาที่มีค่ายิง่
แนวคิดศาสนาคริสต์ ที่เกีย่ วข้ องกับความตาย
• หากมัน่ ใจในชีวิตนิรันดร์ คนจะไม่กลัวตาย ซึ่งการมีชีวิตนิรันดร์ทา
ได้โดย
• รักพระเจ้าให้สุดจิตสุ ดใจ สุ ดชีวิต สุ ดกาลัง
• รักเพื่อนบ้าน รักคนอื่นเหมือนรักตัวเอง