1_ - UBRU LMS

Download Report

Transcript 1_ - UBRU LMS

สั งคมวิทยาการสาธารณสุ ข
Public Health Sociology
บทที่ 1 บทนำ ควำมรู้เบือ้ งต้นทำงสังคมวิทยำและ
สำธำรณสุข
อ.ภัทรภร เจริญบุตร คณะสาธารณสุขศาสตร์
มรภ.อุบลราชธานี 1/2555
1
คำถำม????
สังคมของฉัน
สังคมในอุดมคติของฉัน
สังคม VS สุขภาพ เกี่ยวข้ องกันอย่างไร
2
คำอธิ บำยรำยวิชำ (course description) :
 ความรู้ทางสังคมวิทยา วัฒนธรรม ระบบครอบครัว เครือญาติ
สถาบันทางสังคม ชนชั้นทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม การ
เปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม การศึกษาชุมชน ความเชื่อ
เกี่ยวกับสุขภาพและการเจ็บป่ วย พฤติกรรมการแสดงหาการ
รักษาพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยกับบุคลากรทางการ
แพทย์และการสาธารณสุข ระบบการดูแลสุขภาพของชุมชน
3
วัตถุประสงค์
1. มีความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับ โครงสร้ างของสังคมไทย วัฒนธรรม
ไทย ในอดีตและปัจจุบันได้
2. วิเคราะห์ปัจจัยและผลกระทบทางสังคมที่มีต่อสุขภาพได้
3. อธิบายระบบความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพและความเจ็บป่ วยของ
สังคมไทยได้
4. ประยุกต์ความรู้ไปใช้ ในการทาให้ ประชาชนมีความเชื่อที่ถูกต้ อง
เกี่ยวกับสุขภาพและการเจ็บป่ วยได้
5. ประยุกต์ความรู้ไปใช้ ในการวิเคราะห์ปัญหาในการให้ บริการ
ทางด้ านสาธารณสุขได้
4
กำรวัดผลและประเมินผลกำรเรียนรู้
1. คะแนนระหว่ างภาคเรียน
70% ได้ แก่
1.3 งานกลุ่มและกรณี ศึกษา 20%
1.2 สอบกลางภาค
30%
1.4 รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1.1 ความสนใจและการมีส่วนร่ วมใน 10%
ชั้นเรี ยน มีคุณธรรม จริ ยธรรม 10% 2. คะแนนสอบปลายภาค
5
30%
กำรแบ่งกลุ่มรำยงำน 3 หัวข้อ ดังนี้
 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
5 กลุ่ม (กลุ่มละ 5-7 คน)
 ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุการเกิดโรคและความเจ็บป่ วย
5 กลุ่ม (กลุ่มละ 5-7 คน)
 ความเชื่อเกี่ยวกับการป้ องกันโรค 5 กลุ่ม (กลุ่มละ 5-7 คน)
*** เวลานาเสนอ กลุ่มละ 15 นาที นศ.กาหนดรูปแบบเอง
*** ส่งรายงานก่อนนาเสนอ 3 วัน
*** การค้ นคว้ าข้ อมูล จากการสัมภาษณ์ เอกสาร ตารา ข่าวฯลฯ
*** คะแนนตามคุณภาพงาน การกระจายงาน
6
บทที่ 1 บทนำ ควำมรู้เบือ้ งต้นทำงสังคมวิทยำและสำธำรณสุข
หัวข้ อมีดังนี้
 ความรู้เบื้องต้ นเกี่ยวกับสังคมวิทยา และ การสาธารณสุข
 ความหมายและลักษณะของสังคมวิทยาสาธารณสุข
 ขอบเขตของสังคมวิทยาสาธารณสุข
 ความสาคัญของการศึกษาสังคมวิทยาในงานด้ านการแพทย์
และสาธารณสุข
7
ควำมหมำยของสังคมวิทยำ
 สังคมวิทยา คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิตทางสังคมของมนุษย์, กลุ่มคน
, และสังคม สิ่งที่สาขาวิชานี้สนใจคือ กฎเกณฑ์ และกระบวนการทาง
สังคม ที่ยึดเหนี่ยวหรือแบ่งแยกผู้คน ทั้งในสภาวะที่เป็ นปัจเจก และใน
ฐานะของสมาชิกของสมาคม, กลุ่ม, หรือสถาบัน
 สังคมวิทยาสนใจพฤติกรรมมนุษย์ ในฐานะที่เป็ นสิ่งมีชีวิตทางสังคม ดังนั้น
ครอบคลุมตั้งแต่การวิเคราะห์การพบปะกันของคนที่ไม่ร้ จู ักกันบนท้ องถนน
ไปจนถึงการศึกษากระบวนการทางสังคมในระดับโลก
อ้ างอิงข้ อมูลมาจาก. http://th.wikipedia.org
สืบค้ นเมื่อ วันที่ 25 พฤษภาคม 2555
8
สั งคมวิทยา
สั งคมวิทยา คือสังคมวิทยา (Sociology) เป็ นศาสตร์
หนึ่งของสังคมศาสตร์ (Social science) ที่มุ่งศึกษา อธิ บาย
ความ สัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์ เพื่อทาความเข้าใจ
สังคม พฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์และกลุ่มทางสังคม
ต่าง ๆ ภายใต้โครงสร้างและกฎเกณฑ์ทางสังคม เช่น ความเชื่อ
ทางศาสนา ขนบธรรมเนียม จารี ต ประเพณี กฎหมาย ค่านิยม
ความกดดันจากครอบครัว กลุ่ม ชุมชน สถาบันทางสังคมและ
ประเทศ เป็ นต้น (Farley, 1990)
9
ลักษณะของสังคมวิทยำ
 สังคมวิทยาเป็ นการศึกษาเกี่ยวกับคนในฐานะที่ไม่อยู่โดด
เดี่ยวแต่อยู่รวมกับผู้อ่นื
 สังคมวิทยาจะศึกษาเกี่ยวกับสภาพเงื่อนไขของสังคม ซึ่งมี
ผลต่อความสัมพันธ์ของผู้คนและปรากฏการณ์ทางสังคมต่าง
ๆ ที่คนทาให้ เกิดขึ้น
10
ลักษณะของสังคมวิทยำโดยทัว่ ไป มีดงั นี้
สังคมวิทยาเป็ นวิชาที่เกี่ยวข้ องกับปัญหาที่ว่า “ทำไมจึ งเป็ นเช่นนั้น” โดยอธิบายให้
ทราบว่าอะไรเป็ นอะไร ไม่ใช่ควรจะเป็ น (What actually is, not what ought to be)
สังคมวิทยาไม่ได้ เกี่ยวข้ องกับความดี – เลว ผิดหรือถูก
สังคมวิทยาจะแสดงให้ เห็นว่า ในระยะหนึ่ง สถานที่น้ัน กลุ่มชนนั้น มีความ
เชื่อมั่นในคุณค่าทางสังคมอย่างไร
สังคมวิทยำจะไม่ตดั สินชี้ ขำด ลงไปว่ำ ควำมเชื่อนั้นดีหรือเลว หรือควรยึด
มั่นคุณค่านั้น เพราะดีกว่าของกลุ่มอื่น แต่จะศึกษาในรูปของปรากฏการณ์ทางสังคม
เป็ นวิชาที่มุ่งศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคมทุกอย่างที่ปรากฏ ในความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
ทั้งหมด โดยพยายามที่จะหากฎหรือหลักเกณฑ์กว้ าง ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์น้นั ๆ
อ้ างอิงข้ อมูลมาจาก http://social.cru.in.th
11
ขอบเขตของสังคมวิทยำ
 เป็ นวิชาที่กล่าวถึง
1) สังคม (society) และวัฒนธรรม (culture)
2) การจัดระเบียบสังคม (social organization)
3) ประชากรและมนุษยนิเวศวิทยา (population and human
Ecology)
4) การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (social change)
5) ความไม่เป็ นระเบียบของสังคมและปัญหาสังคม (social
disorganization and social problems)
6) สังคมวิทยาชนบท (rural sociology)
7) สังคมวิทยานคร (urban sociology)
ฯลฯ
อ้ างอิงข้ อมูลมาจาก
http://social.cru.in.th
12
การสาธารณสุ ข
คือ ศาสตร์และศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและ
จัดการสุ ขภาพทั้งปวงของชุมชน
คาว่าสุ ขภาพนั้นมีนิยามและจัดการในลักษณะ
ต่างๆ กัน สาหรับองค์การอนามัยโลก ได้นิยามคาว่า
สุ ขภาพ ไว้วา่ "สภาพของการมีชีวติ ทางกายภาพ ทาง
จิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช่เพียงไม่มีโรคภัย
หรื อความแข็งแรงทางกายเท่านั้น"
13
สั งคมวิทยาการสาธารณสุ ข
 เป็ นการศึกษาการเยียวยา การดูแลทางด้ านสุขภาพ การส่งเสริมและ
ป้ องกันสุขภาพและความสัมพันธ์ของ สิ่งเหล่านี้กบั ปัจจัยกาหนดทาง
สังคมต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อจะให้ ผ้ ูเจ็บป่ วยสามารถกลับมาสวมบทบาทเดิมทาง
สังคมได้ ตามปกติหรือทาให้ ผ้ ูมสี ขุ ภาพดีอยู่แล้ วสามารถดูแลรักษาสุขภาพ
ของตนได้ ด้วยดี
 ศาสตร์ย่อยหนึ่งของสังคมวิทยาที่ได้ ประยุกต์มุมมอง กรอบแนวคิด
และทฤษฎี ตลอดจนวิธกี ารศึกษาทางสังคมวิทยามาอธิบายต่อ
ปรากฏการณ์ทางสุขภาพและความเจ็บป่ วย
14
ประโยชน์ของสังคมวิทยำ
 ทำให้บุคคลเข้ำใจพฤติกรรมตนเอง เช่น มีความเข้ าใจว่าทาไมบุคคล
ที่ต่างชนชั้นจึงมีความคิดเห็นและพฤติกรรมแตกต่างกัน
 ช่วยส่งเสริมให้กระบวนกำรทำงำนแบบกลุ่มลุล่วงไปด้วยดี เช่น
เมื่อทุกคนเข้ าใจดีว่าการปฏิบัติตามบรรทัดฐานของชุมชน สังคม จะ
ก่อให้ เกิดความเป็ นระเบียบและความสงบสุขแก่สงั คม ย่อมจะส่งผลให้
เกิดความร่วมมือ
กำรทีส่ งั คมวิทยำสำมำรถทำนำยแบบแผนปรำกฏกำรณ์ทำงสังคม
ได้ว่ำมีกำรเกิดขึ้ นได้อย่ำงไร เช่น ปัญหาการติดยาเสพติดของกลุ่มวัยรุ่น
15
แนวคิดพืน้ ฐานทางสั งคมวิทยาการแพทย์ และการสาธารณสุ ข
วิวฒ
ั นาการของทฤษฎีการแพทย์ และการสาธารณสุ ข
ทฤษฎีการแพทย์และการสาธารณสุ ข คือ ระบบความคิดที่ใช้อธิบาย
สาเหตุความเจ็บป่ วยหรื อโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดกับสมาชิกในสังคมมนุษย์ และวิธีการ
จัดการแก้ไขโรคภัยนั้นๆ ได้แก่ การแพทย์แบบวิทยาศาสตร์ หรื อการแพทย์แบบ
ตะวันตก หรื อการแพทย์แผนใหม่
วิวฒั นาการของทฤษฎีการแพทย์และสาธารณสุ ขในประวัติศาสตร์
นอกจากจะช่วยให้เห็นเปรี ยบเทียบการแพทย์วิทยาศาสตร์กบั ทฤษฎีอื่นๆแล้ว ยัง
ทาให้เห็นอิทธิพลของระบบสังคมต่อทฤษฎีการแพทย์และสาธารณสุ ขอีกด้วย
16
1. ยุคก่ อนหน้ าการแพทย์ แบบวิทยาศาสตร์
ยุคนี้มีทฤษฎีทางการแพทย์และสาธารณสุ ขอยูห่ ลาย
ทฤษฎี ซึ่งมีจุดเน้นร่ วมกันประการหนึ่ง คือ อิทธิพลของ
สิ่ งแวดล้อม ซึ่งรวมถึงสิ่ งแวดล้อมทางสังคม ต่อการเกิดโรค
และความเจ็บป่ วยของคน ซึ่ง ถือว่าการสุ ขภาพ (health) เป็ น
นโยบายสาธารณะ (public policy) ซึ่งสังคมหรื อรัฐบาล
ต้องรับผิดชอบดาเนินการ
17
ในสมัยกรี กโบราณ ฮิปโปเครติส ได้กาหนดทฤษฎีการแพทย์
ไว้วา่ สุ ขภาพ คือ ภาวะสมดุลของของเหลว 4 อย่างในร่ างกาย คือ
เลือด น้ าเหลือง น้ าดี และเสมหะ สมดุลนี้จะเกิดขึ้นได้กต็ ่อเมื่อมี
สมดุลระหว่างร่ างกาย+สิ่ งแวดล้อม เช่น ฤดูกาล ทิศทางของลม และ
อาหาร เป็ นต้น
คล้ายกับทฤษฎีการแพทย์แผนโบราณของไทยซึ่งเน้นภาวะสมดุลของธาตุ
ทั้ง 4 ในร่ างกาย คือ ดิน น้ า ลม ไฟ หรื อความสมดุลของธาตุร้อนและเย็น
18
ยุคนี้ช้ ีให้เห็นว่าโรคต่างๆ อาจลดน้อยลงด้วยมาตรการทาง
สังคมและการควบคุมสิ่ งแวดล้อม เช่น
พบว่า อัตราตายสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับสภาพการดารงชีพ
ของชนชั้นทางสังคม ชนชั้นต่างๆ ซึ่งชี้ให้เห็นความเกี่ยวพันระหว่าง
โรคกับความยากจน รายได้ ภาวะโภชนาการ และสภาพเคหสถาน
มีอิทธิพลอย่างมากต่อการเจริ ญเติบโตของร่ างกาย
19
2. ยุคการแพทย์ แบบวิทยาศาสตร์ หรือยุคทฤษฎีเชื้อโรค
(Germ Theory)
แนวคิดที่วา่ โรคเกิดจากตัวเชื้อโรคหรื อจุลินทรี ยไ์ ด้แพร่ หลาย
อย่างรวดเร็ ว ผลที่สาคัญคือ สามารถลดโรคเฉียบพลันหลายๆ โรคลงได้
อย่างมีประสิ ทธิผลด้วยการให้ภูมิคุม้ กันโรคและการรักษา
Photo from http://www.lifesciencesfoundation.org/events-item-72.html
20
2. ยุคการแพทย์ แบบวิทยาศาสตร์ หรือยุคทฤษฎีเชื้อโรค (Germ
Theory)(ต่ อ)
การแพทย์ผกู พันกับชีววิทยาและวิทยาศาสตร์พ้นื ฐานแขนงอื่นๆ
อย่างแยกจากกันไม่ออก ส่ งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร
แพทยศาสตร์ในรร.แพทย์ต่างๆในทิศทางที่ผกู พันกับวิทยาศาสตร์มากขึ้น
ผลอีกข้อคือ ทฤษฎีการแพทย์ยคุ ก่อนหน้านี้เน้นความสาคัญของ
เชื้อโรคมากกว่าคน เน้นเหตุผลทางชีวภาพมากกว่าเหตุผลทางสังคมของ
ความเจ็บป่ วย
Louis Pasteur invented pasteurization and
discovered the germ theory of disease.
Pasteur (1822-1895), is renowned for
the development of germ theory.
Credit: www.bbc.co.uk
21
ความสาคัญของสั งคมวิทยาการแพทย์
ในการพัฒนาสาธารณสุ ข
สังคมวิทยาการแพทย์และการสาธารณสุ ขเป็ นการประยุกต์เอา
ความรู ้ทาง สังคมวิทยามาอธิบายพฤติกรรม ซึ่งเกี่ยวข้องกับความเจ็บป่ วย
และการแก้ปัญหาในสังคม ดังนั้นจึงมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนา
สาธารณสุ ขทั้งปัจจุบนั และอนาคต
ปัญหาทางการแพทย์และสาธารณสุ ขในการช่วยแพทย์แก้ไขปัญหา
มีดงั นี้ คือ
22
1. สาเหตุทางสั งคมของความเจ็บป่ วยและข้ อจากัดของทฤษฎีเชื้อโรค
ในการรักษา
เช่น อดีตโรคหัวใจ โรคความดันฯ เป็ นโรคเฉี ยบพลันแต่
ปัจจุบนั เป็ นโรคเรื้ อรัง ซึ่งไม่อาจหาสาเหตุทางชีวภาพได้เฉพาะเจาะจง
และไม่อาจรักษาได้อย่างมีประสิ ทธิผล
แท้ที่จริ งโรคเหล่านี้มีสาเหตุทางสังคม วัฒนธรรมและ
เศรษฐกิจ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ดังนั้น การแก้ปัญหาด้านวิทยาศาสตร์
การแพทย์อย่างเดียวไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้มีประสิ ทธิภาพ
เช่น ??? วัฒนธรรมการบริ โภคอาหารสุ กๆดิบของคนอีสาน
23
2. ภาวะแปลกแยกในเวชปฏิบัติ - รักษาโรคมากกว่ ารักษาคน
คือ แพทย์ถูกฝึ กมาให้รักษาแต่โรค เวชปฏิบตั ิที่เกิดขึ้นจึงเป็ น
การรักษาโรคมิใช่รักษาคนในฐานะเป็ นคน ผลที่เกิดขึ้นก็คือ บริ การ
ทางการแพทย์เป็ นสิ่ งที่แปลกแยกจากคนไข้มากขึ้นทุกที คนไข้ถูก
กระทาเหมือนเป็ นวัตถุ รักษาโรคโดยไม่คานึงถึงจิตวิทยาหรื อสภาพ
จิตใจ
การแก้ปัญหา คือ หลักสูตรแพทยศาสตร์ได้บรรจุวิชา
สังคมศาสตร์ไว้ดว้ ย
24
3. ปัญหาความไร้ ประสิ ทธิภาพของระบบบริการสาธารณสุ ขซึ่งได้ รับอิทธิพล
จากการแพทย์ แบบวิทยาศาสตร์
ทาให้ระบบบริ การสาธารณสุ ขเน้นการรักษามากกว่าการป้ องกันและ
ส่ งเสริ มสุ ขภาพ เน้นการขยายตัวของโรงพยาบาล เน้นการขยายตัวของ
โรงพยาบาลซึ่งใช้เทคโนโลยีสูง จึงเกิดปัญหาความห่างเหิ นทางสังคม
ระหว่างบุคลากรผูใ้ ห้บริ การกับประชาชน
ความไม่เท่าเทียมกันในการเข้าถึงและการใช้บริ การสาธารณสุ ขใน
ระหว่างกลุ่มสังคมต่างๆ ทวีความรุ นแรงขึ้นเรื่ อยๆ ซึ่งปัญหาเกิดจากผู ้
ให้บริ การด้วย ซึ่งปัญหาเหล่านี้สงั คมวิทยาสามารถแสดงบทบาทช่วย
แก้ไขได้
25
4. สุ ขภาพดีถ้วนหน้ าเมื่อ 2543 เป็ นเป้าหมายทางสั งคม การสาธารณสุ ขมูลฐาน
เป็ นกระบวนการทางสั งคม
1. ยอมรับว่าโรคภัยไข้เจ็บโดยมากเกี่ยวข้องกับความยากจน ดังนั้นการ
พัฒนาสาธารณสุ ขจะต้องประสานกับสาขาอื่นๆด้วย
2. เน้นความเป็ นธรรมในการเข้าถึงบริ การสาธารณสุ ขซึ่งต้องสอดคล้อง
กับแบบแผนวัฒนธรรมและสังคมของชุมชน
3. เน้นการกระจายอานาจการตัดสิ นใจและการดาเนินงานเกี่ยวกับ
สาธารณสุ ขจากส่ วนกลางไปสู่ชุมชน
4. เน้นการมีส่วนร่ วม และพึ่งพาตนเองของชุมชน ครอบครัว และตนเอง
ในการทาให้มีสุขภาพดี โดยมีรัฐเป็ นฝ่ ายให้การสนับสนุน
26
ขอบเขตของสั งคมวิทยาการแพทย์
1. แนวการพิจารณาทางวิชาการ แบ่ งเป็ น 2 ส่ วนใหญ่ ๆ คือ สั งคมวิทยาใน
การแพทย์ และสั งคมวิทยาเกีย่ วกับการแพทย์
1.1 สังคมวิทยาในการแพทย์ เป็ นการประยุกต์แนวคิดทางสังคม
วิทยาเพื่อช่วยเหลือแก้ ไขปัญหาด้ านเวชปฏิบัติ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ
เช่น การดูแลผู้ป่วย การสื่อสาร การสร้ างความรู้ความเข้ าใจต่อลักษณะทาง
สังคมและวัฒนธรรมของผู้ป่วย เพื่อลดช่องว่างทางสังคมระหว่างผู้ให้ การ
รักษากับผู้ป่วย
- เกี่ยวกับสาเหตุทางสังคมที่เกิดความเจ็บป่ วย เช่น ชนชั้นทางสังคม
- ให้ความสนใจกับทัศนคติความเชื่อ, พฤติกรรมเกี่ยวกับสุ ขภาพ, ความ
เจ็บป่ วยของคนซึ่งแปรผันกันตามแตกต่างกันตามฐานะทางสังคม เช่น คนจน
ยอมรับความเจ็บป่ วยช้ากว่าคนรวย
27
1.2 สังคมวิทยาเกี่ยวกับการแพทย์ คือ การใช้ทฤษฎีทางสังคมวิทยามา
วิเคราะห์ส่วนต่างๆ ของการแพทย์และสาธารณสุ ขเพื่อพิสูจน์หรื อพัฒนาทฤษฎี
ทางสังคมวิทยา มีประเด็นการศึกษาเกี่ยวข้ องกับเรื่องต่าง ๆ 2 ประการ คือ
ประกำรแรก สังคมวิทยาเกี่ยวกับการแพทย์จะทาการศึกษาเรื่อง
การแพทย์ สุขภาพ ความเจ็บป่ วยในฐานะที่ส่งิ เหล่านี้เป็ นปรากฏการณ์ทางสังคม
ที่มีบุคคลแต่ละส่วนเข้ ามาเกี่ยวข้ อง มีความสัมพันธ์ทางสังคมต่อกันตามบทบาท
และหน้ าที่ของตน
28
ประกำรทีส่ อง สังคมวิทยาเกี่ยวกับการแพทย์ยังทาการ
วิเคราะห์ระบบบริการสุขภาพของโรงพยาบาลในแง่ท่วี ่าโรงพยาบาล
จะประกอบไปด้ วยบุคลากรที่มีบทบาทและหน้ าที่แตกต่างกัน เช่น
แพทย์มีบทบาทและหน้ าที่แตกต่างกัน
ที่มารูป http://www.healthplexus.net
29
ขอบข่ ายของสั งคมวิทยาเกีย่ วกับการแพทย์ ครอบคลุมเนือ้ หาหลักๆดังนี้
1. สังคมวิทยาวิชาชีพแพทย์และสาธารณสุ ข ซึ่งกล่าวถึงลักษณะทางสังคม
ของวิชาชีพ ค่านิยม วัฒนธรรม ตลอดจนพฤติกรรมของนักวิชาชีพแพทย์และ
สาธารณสุ ข ตลอดจนการแบ่งระดับชั้นความสัมพันธ์ระหว่างวิชาชีพต่างๆ ในทาง
การแพทย์และสาธารณสุ ข (แพทย์ พยาบาลฯลฯ)
2. ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และบุคลากรอื่นๆ กับคนไข้
30
Jokes and Funny Stories about Doctors
Patient: Doctor, I feel very ill. I think that I ate too many oysters last
night.
Doctor: Were the oysters fresh?
Patient: I don't know if they were fresh or not?
Doctor: Well, what did they look like when you opened them?
Patient:You mean you have to open them?
3. การจัดองค์การทางการแพทย์และสาธารณสุ ข
4. การจัดบริ การสาธารณสุ ขให้มีประสิ ทธิภาพ
กล่าวโดยสรุ ป สังคมวิทยาการแพทย์จะเน้นการศึกษาตัวคน
และคนป่ วยในฐานะที่สุขภาพ และความเจ็บป่ วยเกี่ยวข้องกับ
แง่มุมทางสังคม
31
ที่มารูป
pharmamkting.blogspot.com
2. แนวการพิจารณาจากปัญหาสาธารณสุ ข ครอบคลุมประเด็นสาคัญต่ อไปนี้
2.1 วิทยาการระบาดสังคม ศึกษาการกระจายของโรคต่างในกลุ่ม
สังคมต่างๆ ความสนใจไม่ควรจะกัดเฉพาะเงื่อนไขที่ทาให้เกิดโรคเท่านั้น
ควรศึกษาถึงเงื่อนไขทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของกลุ่มสังคมและ
ชุมชนซึ่งส่ งผลดีต่อสุ ขภาพด้วย
2.2 ความเชื่อและพฤติกรรมแสวงหาการรักษาพยาบาล เริ่ มตั้งแต่
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของความเจ็บป่ วย การรักษากับแหล่งต่างๆ จนหาย
ป่ วย เป็ นกระบวนการทางสังคมนามาเกี่ยวข้องโดยเฉพาะครอบครัวของผูป้ ่ วย
กระบวนการรักษาโรคและอาการต่างๆ ตลอดจนเหตุผลตัดสิ นใจของผูป้ ่ วย
และครอบครัว
32
2.3 ระบบการแพทย์ทอ้ งถิ่น เช่น หมอฉีดยาร้านขายยา หมอ
สมุนไพร หมอไสยศาสตร์ หมอมนต์ ฯลฯ ตลอดจนเจ้าหน้าที่สาธารณสุ ขที่
เปิ ดคลินิกอย่างไม่ถูกต้อง เหล่านี้เรี ยก “บริ การนอกระบบ”
2.4 ปัญหาระบบบริ การสาธารณสุ ข ซึ่งอาจมาจากตัวระบบบริ การ
และผูใ้ ห้บริ การ มากกว่า ผูร้ ับบริ การหรื อประชาชน เช่น ความสัมพันธ์
ระหว่าง เจ้าหน้าที่ กับประชาชนผูร้ ับบริ การมีปัญหาทาให้ประชาชนไม่มา
รับบริ การ
ที่มารูป http://kanchanapisek.or.th/oncc-cgi/text.cgi?no=12133
33
ควำมสำคัญของสังคมวิทยำกำรแพทย์ต่อกำรพัฒนำระบบสุขภำพ
1.
2.
3.
4.
34
ช่วยให้บุคลำกรทำงกำรแพทย์และสำธำรณสุขมีควำมเข้ำใจต่อ
ปรำกฏกำรณ์สุขภำพ ควำมเจ็ บป่ วยของประชำชนบนมุมมอง
ทำงสังคมและวัฒนธรรมแต่ละชุมชน
ช่วยให้กำรรักษำพยำบำลมีควำมเป็ นองค์รวมและตอบสนองต่ อ
ควำมพึงพอใจของผูป้ ่ วยได้มำกขึ้ น
ช่วยให้กำรดำเนินงำนพัฒนำสุขภำพ
ภำคประชำชนมีประสิทธิผลและประสิทธิภำพ
ช่วยให้กำรวำงแผน กำรจัดหำ กำรให้บริกำร
สุขภำพแก่ประชำชน ชุมชน มีประสิทธิผลและประสิทธิภำพ
ส่งท้ ายเลคเช่อร์....
**นักศึกษาต้ องมีสมุดบันทึกของฉัน (My Journal) ...
ขอให้ ใช้ สมุดแบบและสีเดียวกันนะคะ
**อ่านเรื่อง Hippocrates ใน web blog ของอาจารย์
แล้ วเขียนความรู้สกึ ต่อเรื่องที่ได้ อ่านลงในบันทึก
** สรุปบทเรียนวันนี้สกั 1 ย่อหน้ า (กี่บรรทัดดีคะ?) ลง
ในบันทึกของฉัน
35
อ้ างอิง
1) jongruk.in.uru.ac.th/index.php
2) http://social.cru.in.th
3) แหล่งข้ อมูลอื่นๆตามที่แนบท้ ายไสลด์
36