อปท.กับการป้องกันควบคุมโรคเอดส์

Download Report

Transcript อปท.กับการป้องกันควบคุมโรคเอดส์

อปท.กับการป้องกันควบคุมโรคเอดส์
นายแพทย์สเุ มธ องค์วรรณดี
ผู้อานวยการสานักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
การคาดประมาณจานวนผูต้ ิ ดเชื้อใหม่
และจานวนผูต้ ิ ดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ๒๕๒๘ - ๒๕๗๓
Health
approach
Socio-economic and
development approach
Integration,
decentralization, and
sustainability
Getting to Zero
800,000
700,000
600,000
500,000
ผู้ติดเชือ้ ที่ยงั มีชีวิต
400,000
464,086
300,000
297,879
200,000
100,000
8,719
6,139
1985
1986
1987
1988
1989
1990
1991
1992
1993
1994
1995
1996
1997
1998
1999
2000
2001
2002
2003
2004
2005
2006
2007
2008
2009
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
2022
2023
2024
2025
2026
2027
2028
2029
2030
0
ผู้ตดิ เชือ้ รายใหม่
Total alive PLHA
New infections
ทีม่ า : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข อ้างใน การสาธารณสุขไทย 2551 - 2552
อัตราป่ วย STIs ต่ อแสนประชากร ทั่วประเทศปี 2543 -2554
50.00
45.10
45.00
40.12
40.00
37.22
35.00
31.76
30.00
29.29
25.75
25.57
25.20
25.00
28.50
26.00
24.78
22.65
20.00
15.00
2543
2544
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
ปี พ.ศ.
10.00
5.00
0.00
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
Coverage of ART by Estimated Number of ART Needs
ART Initiation Criteria as CD4 ≤ 200 cells/mm3
CD4 ≤ 350 cells/mm3
ARV-others
CD4 ≤ 200 cells/mm3
ARV-UC
UC  70%
Coverage of ART Needs by CD4 ≤ 350 cells/mm3 in 2010, 2011 and 2012 were 59.4%, 64.9% and 70.0%
Data sources: NHSO, SSO , CSMBS, GF, Thai GPO and AEM
5
การเฝ้าระวังโรคติดต่ อทางเพศสัมพันธ์
การเฝ้าระวังโรคติดต่ อทางเพศสัมพันธ์
ยุทธศาสตร์ ฯเอดส์ ชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙
วิสัยทัศน์ ส่ ูเป้าหมายไม่ มีผ้ ูตดิ เชือ้ ฯรายใหม่
เป้าหมาย พ.ศ. ๒๕๕๙
• จานวน ผู้ตดิ เชือ้ ฯรายใหม่ ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาดประมาณ
• อัตราการติดเชือ้ ฯ เมื่อแรกเกิด น้ อยกว่ า ร้ อยละ ๒
วิสัยทัศน์ ส่ ูเป้าหมายไม่ มีการ
ตายเนื่องจากเอดส์
เป้าหมาย พ.ศ. ๒๕๕๙
• ผู้ตดิ เชือ้ ฯ ทุกคนในแผ่ นดินไทย
เข้ าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่ าง
เท่ าเทียมกัน
• จานวนผู้ตดิ เชือ้ ฯเสียชีวิต ลดลง
มากกว่ าร้ อยละ ๕๐
• จานวนผู้ตดิ เชือ้ ฯเสียชีวิตเนื่องจาก
วัณโรค ลดลงมากกว่ าร้ อยละ ๕๐
วิสัยทัศน์ ส่ ูเป้าหมายไม่ มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ
เป้าหมาย พ.ศ. ๒๕๕๙
• กฎหมายและนโยบาย ที่เป็ นอุปสรรคต่ อการเข้ าถึง
บริการป้องกันดูแลรั กษาและบริการรั ฐ ได้ รับการแก้ ไข
•การทางานเอดส์ ทุกด้ านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการ
เคารพสิทธิมนุษยชน และสนองตอบต่ อความจาเพาะ
กับเพศสภาวะ
•จานวนการถูกเลือกปฏิบตั หิ รื อการละเมิดสิทธิของผู้
ติดเชือ้ ฯและกลุ่มประชากรเป้าหมายหลัก ลดลงไม่ น้อย
กว่ าร้ อยละ ๕๐
11
ไม่ มีผ้ ูตดิ เชือ้ รายใหม่
ให้ ความสนใจพืน้ ที่ท่ พ
ี บผู้ตดิ เชือ้ รายใหม่ สูงสุด
ช่ องทางถ่ ายทอดเชือ้
100%
6%
90%
80%
70%
60%
32%
10%
Casual and
Extramarital sex
Spousal
transmission
41%
Injection Drug
User
50%
62%40%
of
new30%
infections
20%
11%
41%
Sex worker and
clients
Male who had sex
with male
10%
0%
2012-2016
คาดประมาณผู้ตดิ เชือ้ รายใหม่ ระหว่ าง 5 ปี เท่ ากับ 40,340 คน
คาดว่าในปั จจุบน
ั เป็ นจังหวัด
ื้ รายใหม่
ทีม
่ จ
ี านวนผู ้ติดเชอ
ประมาณร ้อยละ 65 ของ
จานวนคาดประมาณผู ้ติด
ื้ รายใหม่ทงั ้ หมด
เชอ
พื้นที่เร่ งรัด ๓๑ จังหวัด
ภาคเหนือ (๕ จังหวัด) เชียงราย เชียงใหม่ ตาก พิษณุโลก พะเยา
ภาคกลาง (๑๑ จังหวัด) ลพบุรี อยุธยา ปทุมธานี นครปฐม ราชบุรี
นนทบุรี สมุทรสาคร สมุทรปราการ เพชรบุรี
ชลบุรี กรุ งเทพฯ
ภาคใต้ (๑๐ จังหวัด)
ประจวบฯ สุ ราษฎร์ธานี นครศรี ธรรมราช ตรัง
สตูล สงขลา ภูเก็ต ปัตตานี ยะลา นราธิวาส
ภาคอีสาน (๕ จังหวัด) อุดรธานี ขอนแก่น นครราชสี มา บุรีรัมย์
อุบลราชธานี
แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ 25557Zero New HIV Infections
• จานวนผูต้ ิ ดเชื้อฯรายใหม่ลดลง ๒ ใน ๓
จากที่คาดประมาณ
• อัตราการติ ดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิ ด น้ อยกว่า
ร้อยละ ๒
59 Deaths
Zero AIDS-related
• ผูต้ ิ ดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดิ นไทย เข้าถึงการดูแลรักษา
ที่มีคณ
ุ ภาพอย่างเท่าเทียมกัน
• จานวนผูต้ ิ ดเชื้อฯเสียชีวิต ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐
• จานวนผูต้ ิ ดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่ องจากวัณโรค ลดลง
มากกว่าร้อยละ ๕๐
Innovations and Changes
Optimization and Consolidation
1. เร่งรัดขยายการป้ องกันให้ครอบคลุมพืน้ ที่ และ
ประชากรที่มีพฤติ กรรมเสี่ยงและคาดว่าจะมีจานวน
การติ ดเชื้อฯใหม่มากที่สดุ
2. ขยายการปกป้ องทางสังคมและปรับเปลี่ยนสภาวะ
แวดล้อมทางกฎหมายที่มีความสาคัญต่อการป้ องกัน
และการรักษา
3. เพิ่ มความร่วมรับผิดชอบและเป็ นเจ้าของร่วมใน
ระดับประเทศ จังหวัด และท้องถิ่ น
4. พัฒนาระบบข้อมูลเชิ งยุทธศาสตร์
เคารพสิ ทธิ และ
เอดส์ไม่ใช่เพียงโรค
ละเอียดอ่อนเรือ่ งเพศ
และความเจ็บป่ วย
Zero Discrimination
• กฎหมายและนโยบาย ที่เป็ นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการ
ป้ องกันดูแลรักษาได้รบั การแก้ไข
• การทางานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่ องกับการ
เคารพสิ ทธิ มนุษยชน และจาเพาะกับเพศสภาวะ
• จานวนการถูกเลือกปฏิ บตั ิ หรือการละเมิ ดสิ ทธิ ลดลงไม่
น้ อยกว่าร้อยละ ๕๐
1.ป้ องกันการติ ดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิ ด
2.ป้ องกันการติ ดเชื้อฯ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน
3.ส่งเสริ มการใช้ถงุ ยางอนามัยแบบบูรณาการ
4.บริ การโลหิ ตปลอดภัย
5.ดูแลรักษาและการให้ความช่วยเหลือแก่ผต้ ู ิ ดเชื้อฯ
6.ดูแลเด็กและครอบครัวที่ได้รบั ผลกระทบจากเอดส์
7.การลดการตีตราและการเลือกปฏิ บตั ิ
8.การสื่อสารสาธารณะ
เสริ มพลัง
อานาจ
มุ่งเน้ น
เป้ าหมาย
ภาวะผูน้ าและเป็ น
เจ้าของ
ภาคีเครือข่ายการ
ทางาน
ยุทธศาสตร ์ ๓ : เพิม
่ ความรวมรั
บผิดชอบและเป็ น
่
เจ้าของรวมในระดั
บทองถิ
น
่ ในการขยายการ
่
้
ดาเนินงานป้องกันและแกไขปั
ญหาเอดส์ของประเทศ
้
เป้าหมาย
มาตรการ
พืน
้ ทีเ่ ป้าหมาย ๓๑
๓.๑ เพิม
่ ความเป็ น
จังหวัด มีการวางแผน
เจ้าของและงบประมาณใน
น
่ สาหรับการ
และดาเนินงานป้องกันและ ระดับทองถิ
้
แกไขปั
ญหาเอดส์โดยใช้ ขยายการดาเนินงาน
้
ทรัพยากรในพืน
้ ทีอ
่ ยางมี
ป้องกันและแกไขปั
ญหา
่
้
ประสิ ทธิภาพ
เอดส์
๓.๒ สรางเสริ
มสมรรถนะ
้
และพัฒนาศักยภาพของ
กรอบปฏิบัติงานเชิงยุทธศาสตร์
เป้าประสงค์ :
การเข้าสูร่ ะบบ – การตรวจเอดส์ – การรักษา – การคงอยูใ
่ นระบบ
(RECRUIT)
(TEST)
(TREAT)
(RETAIN)
กาหนดบริการที่ต่อเนื่องตลอดทั้ง 4 องค์ประกอบ
พัฒนาและเสริมสรางความเข
มแข็
งระบบบริการสุขภาพและระบบชุมชน
้
้
ลดการตีตรา เลือกปฏิบต
ั ิ และสรางสภาพแวดล
อมทางกฎหมายให
้
้
้
เอือ
้ การดาเนินงาน
พัฒนาระบบขอมู
างความเป็
นเจ้าของรวม
้ ลยุทธศาสตรและการสร
์
้
่
การบริหารจัดการและสนับสนุ นทางวิชาการ
โครงสร้างการบริหารยุทธศาสตร์ฯ
คช.ปอ.
ศูนย์อานวยการบริหารจัดการ
ปัญหาเอดส์แห่งชาติ
คณะอนุ กก.
ด้านป้ องกัน
คณะอนุ กก.
ด้านรักษา
คณะอนุ กก.ส่งเสริมการเป็ น
เจ้าของร่วมของ จ.และท้องถิ่น
คณะอนุ กก.
ด้านสิทธิ
คณะอนุ กก.ด้าน
เทคโนโลยีใหม่
ด้านชีวการแพทย์
คณะอนุกก.ระบบ
ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์
คณะอนุกก.ป้ องกันและแก้ไขปัญหา
เอดส์ระดับจังหวัด และ กทม.
17
หน่ วยงานหลักในคณะอนุกรรมการระดับประเทศ
ด้ านการส่ งเสริมการเป็ นเจ้ าของร่ วมของจังหวัดและท้ องถิ่น
อานาจ และหน้ าที่
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
จัดทายุทธศาสตร์ ป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ของจังหวัด และบูรณาการกับยุทธศาสตร์ พฒ
ั นา
จังหวัด ให้ สอดคล้ องกับยุทธศาสตร์ ระดับประเทศ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัญหาและบริ บทของ
จังหวัด
ส่งเสริ ม สนับสนุน และบูรณาการดาเนินงานป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทัง้
ภาครัฐ องค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ ภาคธุรกิจเอกชน และองค์กรชุมชน รวมทังระดมทุ
้
นเพื่อเสริ ม
การดาเนินงานป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ของจังหวัด
กากับ ดูแล ติดตามประเมินผลการดาเนินงานป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ และหน่วยงานต่างๆ ให้
เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
แต่งตังบุ
้ คคลเป็ นอนุกรรมการป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ระดับจังหวัด ประกอบด้ วยผู้แทนจาก
ภาครัฐ องค์การพัฒนาเอกชน ภาคธุรกิจเอกชน และองค์กรชุมชน โดยให้ ผ้ แู ทนจากภาครัฐและภาค
ส่วนอื่นมีสดั ส่วนใกล้ เคียงกันตามความเหมาะสมกับสภาพปั ญหาในจังหวัด ทาหน้ าที่กาหนดนโยบาย
ติดตามกากับการดาเนินงานป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ในจังหวัด เพื่อให้ เป็ นไปตามนโยบายของ
คณะกรรมการแห่งชาติวา่ ด้ วยการป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์
แต่งตังคณะท
้
างานและผู้เชี่ยวชาญได้ ตามที่เห็นสมควร
ปฏิบตั ภิ ารกิจอื่น ๆ ตามที่ได้ รับมอบหมาย
กระทรวงมหาดไทย, กรมการปกครอง, กรมส่ งเสริมการปกครองส่ วนท้ องถิ่น,
สานักส่ งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและการมีส่วนร่ วม
ประสาน สนับสนุน และเสริ มสร้ างความเข้ มแข็ง ของจังหวัด องค์ กรปกครองส่วนท้ องถิ่ นรวมทัง้
องค์กรปกครองรูปแบบพิเศษ เพื่อบูรณาการการป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์โดยการมีส่วนร่ วมและการ
เป็ นเจ้ าของร่ วมกัน ของทุกภาคส่วน ทัง้ ภาครั ฐ ภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจ และบูรณาการการ
ป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ในยุทธศาสตร์ จงั หวัด
สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่ งประเทศไทย, สมาคมองค์ การบริหารส่ วนจังหวัด
แห่ งประเทศไทย, สมาคมองค์ การบริหารส่ วนตาบลแห่ งประเทศไทย
1. เป็ นองค์กรตัวแทนของเทศบาลทัว่ ประเทศ ในการดาเนินกิจกรรมทางการเมืองร่ วมกับรัฐบาล รั ฐสภา
และองค์ ก รทางการเมื องในระดับชาติ ในเรื่ อ งที่ เกี่ ย วข้ อ งกับการกาหนดนโยบายการออกกฎหม าย
ระเบียบ ฯลฯ ว่าด้ วยการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นและความสัมพันธ์ ระหว่างรัฐบาลและองค์ กรปกครอง
ท้ องถิ่น
2. ประสานงานระหว่างองค์การบริ หารส่วนจังหวัดทุกจังหวัด ให้ มีแนวทางการดาเนินงานไปในทิศทาง
เดียวกัน เพื่อผลักดันการดาเนินการตามภารกิจในด้ านต่างๆ
กระทรวงสาธารณสุข, สานักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่ อทางเพศสัมพันธ์ ,
ศูนย์ อานวยการบริหารจัดการปั ญหาเอดส์ แห่ งชาติ, กลุ่มสนับสนุนเครื อข่ ายระบบ
บริการปฐมภูมิ (สปสช.), กลุ่มสนับสนุนและกระจายอานาจด้ านสุขภาพ
(สนย.สป.สธ.)
1. ส่งเสริ ม สนับสนุน และสร้ างเสริ มศักยภาพของหน่วยงานสาธารณสุข ส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ในการ
พัฒ นาระบบข้ อ มูล เพื่ อ จัด ท าแผนและมาตรการในการป้ องกัน และแก้ ไ ขปั ญ หาเอดส์ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ
สถานการณ์และบริ บทในแต่ละพื ้นที่
2. พัฒนารู ปแบบและแนวทางในการติดตามประเมินผล การดาเนินงานป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ ใน
ระดับประเทศ จังหวัด และท้ องถิ่น
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.)
1. สนับสนุน หน่วยงานราชการ ในการบูรณาการงานเอดส์ในภารกิจของ
2. ประสาน และสนับสนุน การจัดทา ตัวชี ้วัดร่วม (Joint KPI) ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง ในการบูรณา
การการป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ เพื่อให้ งานของแต่ละส่วนราชการมีความเชื่อมโยง สอดคล้ องกัน
ภายในกระทรวงและระหว่างกระทรวง เพื่อให้ สามารถเชื่อมโยงไปสูผ่ ลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายเชิงนโยบายของ
การป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ของประเทศ
คณะกรรมการองค์ การพัฒนาเอกชนด้ านเอดส์ (กพอ.), เครื อข่ ายผู้ตดิ เชือ้ เอชไอ
วี/เอดส์ ประเทศไทย, เครื อข่ ายภาคประชาสังคม, โครงการเอดส์ แห่ ง
สหประชาชาติ
1. พัฒนาศักยภาพและความเข้ มแข็งขององค์กรสมาชิกและองค์กรชุมชน ในการดาเนินงาน การมีสว่ น
ร่วมและการเป็ นเจ้ าของร่วมกันกับภาคส่วนอื่น ในการป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ ทังในระดั
้
บชาติ และ
ระดับพื ้นที่ปฏิบตั ิการ
2. ดาเนินงานเพื่อส่งเสริ มการเข้ าถึงบริ การด้ านป้องกัน การดูแลรักษาเอดส์ในกลุม่ ประชากรที่เข้ าถึงยาก
และมีความเฉพาะ
3. ให้ บริ การปรึกษาและช่วยเหลือคุ้มครองสิทธิมนุษยชนด้ านเอดส์
4. ติดตามผล ตลอดจนปั ญหาและความท้ าทาย เพื่อจัดทารายงานเอดส์ภาคประชาชน และจัดทา
ข้ อเสนอเชิงนโยบาย เพื่อให้ หน่วยงานของรัฐมีมาตรการ และนโยบาย เอื ้อต่อการป้องกันและแก้ ไขปั ญหา
เอดส์
กระทรวงแรงงาน
1. ดาเนินการป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ในกลุม่ แรงงานไทย ตามแนวทางที่กาหนดในแนวปฏิบตั ิ
แห่งชาติว่าด้ วยการป้องกันและบริ หารจัดการด้ านเอดส์ในสถานที่ทางาน
2. ส่งเสริ ม สนับสนุนด้ านอาชีพให้ แก่ผ้ ตู ิดเชื ้อฯ ผู้ป่วยเอดส์ และผู้ได้ รับผลกระทบ ให้ สามารถมี
รายได้ พึง่ พาตนเองได้ ตามสมควร
3. สนับสนุนให้ ผ้ ปู ระกันตนสามารถเข้ าถึงยาต้ านไวรัสเอดส์ รวมทังได้
้ รับบริ การทางการแพทย์
กระทรวงศึกษาธิการ
1. ประสานการจัดหลักสูตรการเรี ยนการสอนเรื่ องเอดส์และเพศศึกษาในหลักสูตรการเรี ยนการสอน
ในแต่ละระดับ และผลักดันให้ เกิดการเรี ยนการสอน และการจัดกิจกรรมในสถาบันการศึกษา
2. ขยายการดาเนินงานเอดส์ เพศศึกษา และทักษะชีวิต ในสถานศึกษาทุกแห่งทังภาครั
้
ฐ เอกชน
องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นและองค์กรปกครองท้ องถิ่นรูปแบบพิเศษ
MOU on HIV and Mobility Between GMS Country
Adopted in Bali, Indonesia
17 Nov 2011
Fourth ASEAN Work Programme on HIV
and AIDS 2011-2015 – AWP IV
ASEAN Declaration
การขับเคลื่อนงานด้ านการป้องกันและ
แก้ ไขปั ญหาเอดส์ ระดับท้ องถิ่น
1. การกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ การดาเนินการป้องกันและแก้ ไข
ปั ญหาเอดส์
(ตัวอย่างเช่น เก็บข้ อมูลสถานการณ์ กลุม่ ประชากรเป้าหมาย ความต้ องการของชุมชน
วิเคราะห์ปัญหา/ความต้ องการ (SWOT, Mind map, SRM) และจัดทาแผนป้องกันและ
แก้ ไขปั ญหาเอดส์ร่วมกับชุมชน, ศึกษานโยบาย/ยุทธศาสตร์ ระดับชาติ/จังหวัด, ประสาน
แผนและสนับสนุนงบประมาณ ฯลฯ)
2. การนานโยบายหรื อยุทธศาสตร์ ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ
(ตัวอย่างเช่น สื่อสารสาธารณะ, ส่งเสริ มการใช้ และสนับสนุนถุงยางอนามัยในกลุ่มเสี่ยง, การ
ป้องกัน ดูแลและรักษาและลดผลกระทบในกลุม่ ประชากรเป้าหมาย จัดตังกองทุ
้
นเพื่อใช้
ในกิจกรรมป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์, จัดให้ มีสถานที่และกิจกรรมใช้ เวลาว่างให้ เป็ น
ประโยชน์สาหรับเยาวชน, การดูแลและช่วยเหลือผู้ติดเชื ้อ/ผู้ป่วยเอดส์และผู้ที่ได้ รับ
ผลกระทบจากเอดส์ เช่นจ่ายเบี ้ยยังชีพ เครื่ องอุปโภคบริ โภค ฯลฯ)
3. การติดตามและประเมินผล