อ่านเพิ่มเติม

Download Report

Transcript อ่านเพิ่มเติม

การดาเนินงานสาหรับกลุ่มประชากรข้ามชาติใน
แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์
ชาติ
นพ.ทวีทรัพย ์ ศิ รประภาศิ ร ิ
สานักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดตอทางเพศสั
มพันธ ์
่
การประชุมเชิงปฏิบต
ั ก
ิ ารการทบทวนสถานการณการด
าเนินงานป้องกันและ
์
แกไขปั
ญหาเอดส์ในกลุมประชากรข
ามชาติ
้
่
้
16 สิ งหาคม 2556
1
ยุทธศาสตรป
ญหาเอดส์แหงชาติ
์ ้ องกันและแกไขปั
้
่
พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๕๙
๑. สถานการณปั
์ ญหาและการดาเนินงานป้องกันและ
แกไขปั
ญหาเอดส์
้
๒. ยุทธศาสตรป
ญหาเอดส์แหงชาติ
้
่
์ ้ องกันและแกไขปั
พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๕๙
๓. การบริหารยุทธศาสตรฯ์
๔. เป้าหมายตัวชีว้ ด
ั หลักยุทธศาสตรฯระดั
บประเทศ
์
2
ประชากรข้ามชาติในแผนยุทธศาสตร์เอดส์
ชาติ
• มีความตระหนักถึงสถานการณและความท
าทายที
เ่ กิดกับ
้
์
ประชากรขามชาติ
และชนกลุมน
้
่ ้ อยในประเทศไทย
• มีความรุนแรงของปัญหาและความเหลือ
่ มลา้ ในการเขาถึ
้ ง
บริการทัง้ ในประชากรขามชาติ
ทเี่ ป็ นแรงงานประเภทตางๆและ
้
่
ในกลุมประชากรหลั
ก
่
• มีการกาหนดกลยุทธการดาเนินงานและเป้าหมายทัง้ ทีเ่ ป็ นบบ
เฉพาะเจาะจงกับประชากรขามชาติ
และบูรณาการกับประชากร
้
เป้าหมายอืน
่ ๆ
3
สถานการณปั
์ ญหาเอดส์
ร้อยละของประชากรทีต
่ ด
ิ เชือ
้ เอชไอวี
ปี 2555
กลุมประชากรทั
ว่ ไป
่
(%)
หญิงรับบริการฝากครรภ ์ (อายุ15-24 ปี )
0.4
ทหารคัดเลือกใหมเข
าการ
่ ากองประจ
้
0.6
แรงงานขามชาติ
้
0.8
กลุมประชากรหลั
ก
่
(%)
ผู้ใช้สารเสพติดดวยวิ
ธฉ
ี ีด
้
25.2
พนักงานบริการชาย
12.2
พนักงานบริการหญิง
2.2
ชายมีเพศสั มพันธกั
์ บชาย
7.1
4
สถานการณปั
์ ญหาเอดส์
อัตราใช้ถุงยางอนามัย
ปี 2555 (%)
กลุมประชากรทั
ว่ ไป
่
เยาวชน อายุ 15-24 ปี
61.5
ประชากรไทย อายุ 15-49 ปี
52.6
แรงงานข้ามชาติ อายุ 15-49 ปี
78.8
กลุมประชากรหลั
ก
่
ผูใช
ธฉ
ี ีด
้ ้ยาดวยวิ
้
49.1
พนักงานบริการชาย
98.2
พนักงานบริการหญิง
93.6
ชายมีเพศสั มพันธกั
์ บชาย
85.5
ผูใ้ ช้ยาด้วยวิธีฉีด ใช้เข็มและอุปกรณ์ฉีดปลอดเชื้อ
80.4 %
5
สถานการณปั
์ ญหาเอดส์
ร้อยละการตรวจและรูผลตรวจการติ
ดเชือ
้ เอชไอวี
้
กลุมประชากรทั
ว่ ไป
่
ปี 2554 (%)
ประชากรไทย อายุ 15-49 ปี
แรงงานตางด
าว
่
้
กลุมประชากรหลั
ก
่
29.7
8.2 (ปี 2553)
ปี 2555 (%)
ผู้ใช้ยาดวยวิ
ธฉ
ี ีด
้
43.6
พนักงานบริการชาย
52.4
พนักงานบริการหญิง
55.6
ชายมีเพศสั มพันธกั
์ บชาย
25.6
6
สถานการณ์เอดส์
• กลุ่มแรงงานข้ามชาติที่ประกอบอาชีพประมงมีอตั ราความชุกสูง
กว่าอาชีพอื่นๆ
• บางพืน้ ที่พนักงานบริการหญิงที่เป็ นประชากรข้ามชาติมีความชุก
สูงกว่าพนักงานบริการหญิงไทย
• มีข้อจากัดด้านภาษา การเข้าถึงข้อมูล อุปกรณ์ และบริการที่
จาเป็ นรวมทัง้ ยาต้านไวรัส
7
ประเด็นท้าทาย
ในการดาเนินงานป้ องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์
๑. ทรัพยากรในการดาเนินงานฯ
• งบประมาณป้ องกันสาหรับประชากรหลักและข้ามชาติส่วนใหญ่ได้รบั
จากกองทุนโลกฯ ซึ่งจะสิ้นสุดโครงการ ในปี ๒๕๕๗
๒. การดูแลรักษาประชากรข้ามชาติที่ติดเชื้อฯ
• ใช้งบประมาณจากกองทุนโลกฯ ซึ่งจะสิ้นสุดโครงการ ในปี ๒๕๕๗ และ
สามารถรักษาได้จานวนจากัด (๒,๗๐๐ คน)
๓. การทบทวนแก้ไขกฎหมายที่เป็ นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้ องกันฯ
• ที่เกี่ยวข้องกับมาตรการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด
• ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงบริการของพนักงานบริการ (sex worker)
• ที่เกี่ยวข้องกับการรับบริการตรวจการติดเชื้อเอชไอวีของเยาวชนอายุ
8
ตา่ กว่า ๑๘ ปี
ยุทธศาสตร์ ฯเอดส์ แห่ งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙
วิสัยทัศน์ ส่ ูเป้าหมายไม่ มีผ้ ูตดิ เชือ้ ฯรายใหม่
เป้าหมาย พ.ศ. ๒๕๕๙
• จานวน ผู้ตดิ เชือ้ ฯรายใหม่ ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาดประมาณ
• อัตราการติดเชือ้ ฯ เมื่อแรกเกิด น้ อยกว่ า ร้ อยละ ๒
วิสัยทัศน์ ส่ ูเป้าหมายไม่ มี
การเสียชีวิตเนื่องจากเอดส์
เป้าหมาย พ.ศ. ๒๕๕๙
• ผู้ตดิ เชือ้ ฯ ทุกคนในแผ่ นดินไทย
เข้ าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่ าง
เท่ าเทียมกัน
• จานวนผู้ตดิ เชือ้ ฯเสียชีวิต ลดลง
มากกว่ าร้ อยละ ๕๐
• จานวนผู้ตดิ เชือ้ ฯเสียชีวิตเนื่องจาก
วัณโรค ลดลงมากกว่ าร้ อยละ ๕๐
วิสัยทัศน์ ส่ ูเป้าหมายไม่ มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ
เป้าหมาย พ.ศ. ๒๕๕๙
• กฎหมายและนโยบาย ที่เป็ นอุปสรรคต่ อการเข้ าถึง
บริการป้องกันดูแลรั กษาและบริการรั ฐ ได้ รับการแก้ ไข
•การทางานเอดส์ ทุกด้ านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการ
เคารพสิทธิมนุษยชน และสนองตอบต่ อความจาเพาะ
กับเพศสภาวะ
•จานวนการถูกเลือกปฏิบตั หิ รื อการละเมิดสิทธิของ
ผู้ตดิ เชือ้ ฯและกลุ่มประชากรเป้าหมายหลัก ลดลงไม่
9
น้ อยกว่ าร้ อยละ ๕๐
ก. นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง
ข. การผสมผสานและบูรณาการให้มาตรการและ
แผนงานปัจจุบนั มีคณ
ุ ภาพเข้มข้นและมีความยังยื
่ น
สร้างความ ประชาชนเป็ น
เป็ นธรรม
ศูนย์กลาง
(เคารพสิทธิ
และความ
เท่าเทียม)
แนวคิดหลักของยุทธศาสตร์
มุ่งเน้น
ภาวะผูน้ าและ เสริมสร้างพลังคน
เป้ าหมาย การเป็ นเจ้าของ
และชุมชน
ภาคีการ
ทางาน
10
นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง: ยุทธ ๑ - ๔
เร่ งรั ดขยายการป้องกันให้ ครอบคลุม ประชากรที่มีพฤติกรรม
ยุทธ ๑ เสี่ยงและคาดว่ าจะมีจานวนการติดเชือ้ ฯ รายใหม่ มากที่สุด
ยุทธ ๒
เร่ งรั ดขยายการปกป้องทางสังคมและปรั บเปลี่ยนสภาวะแวด
ล้ อมทางกฎหมายที่มีความสาคัญต่ อการป้องกันและการรั กษา
ยุทธ ๓
เพิ่มความร่ วมรั บผิดชอบและเป็ นเจ้ าของร่ วมในระดับประเทศ
จังหวัด และท้ องถิ่น ขยายการดาเนินงานป้องกันและแก้ ไข
ปั ญหาเอดส์ ของประเทศ
ยุทธ ๔
พัฒนาระบบข้ อมูลเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ
ป้องกันและแก้ ไขปั ญหาเอดส์ ในทุกระดับ
ยุทธ ๕
ยกระดับคุณภาพของมาตรการและแผนงานที่มีอยู่เดิม
ให้ เข้ มข้ นและบูรณาการ
11
ประชากรข้ามชาติแผนยุทธศาสตร์เอดส์ชาติ
• ยุทธศาสตรเร
่ ดการดาเนินงานป้องกันไดตั
้ ง้ เป้าความ
์ งรั
ครอบคลุมอยางน
80 ของประชากรไทยและ
่
้ อยรอยละ
้
ตางชาติ
ในพนักงานบริการ ชายทีม
่ เี พศสั มพัธกั
่
์ บชาย และ
ผู้ใช้สารเสพติดวิธฉ
ี ีด
• เป้าหมายการรักษากาหนดไวชั
้ ดเจนวาทุ
่ กคนในแผนดิ
่ นไทย
ไดรั
่ ค
ี ุณภาพ
้ บการคุ้มครองทางสั งคมและเขาถึ
้ งดารดูแลรักษาทีม
อยางเท
าเที
่
่ ยมกัน
12
ยุทธศาสตร์ 5 ยกระดับคุณภาพ ของมาตรการและ
แผนงานที่มีอยู่เดิมให้ เข้ มข้ นและบูรณาการ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
การป้ องกันการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด
การป้ องกันการติดเชื้อฯ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน
การส่งเสริมการใช้ถงุ ยางอนามัยแบบบูรณาการ
การบริการโลหิตปลอดภัย
การรักษา การดูแล และการให้ความช่วยเหลือแก่ผตู้ ิ ดเชื้อฯ
การดูแลเด็กที่ได้รบั ผลกระทบจากเอดส์
การลดการตีตราและการเลือกปฏิบตั ิ
การสื่อสารสาธารณะ
13
โครงสร้างการบริหารยุทธศาสตร์ฯ
คช.ปอ.
ศูนย์อานวยการบริหารจัดการ
ปัญหาเอดส์แห่งชาติ
คณะอนุ กก.
ด้านป้ องกัน
คณะอนุ กก.
ด้านรักษา
คณะอนุ กก.ส่งเสริมการเป็ น
เจ้าของร่วมของ จ.และท้องถิ่น
คณะอนุ กก.
ด้านสิทธิ
คณะอนุ กก.ด้าน
เทคโนโลยีใหม่
ด้านชีวการแพทย์
คณะอนุกก.ระบบ
ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์
คณะอนุกก.ป้ องกันและแก้ไขปัญหา
เอดส์ระดับจังหวัด และ กทม.
14
แผนปฏิบตั ิ การแห่งชาติ และ การบูรณาการการทางานที่มี
เป้ าหมายร่วมกัน (Joint KPI)
๑. แผนปฏิบตั ิ การ ปี ๒๕๕๗-๒๕๕๙
–
–
ใช้เป้ าหมายระดับผลกระทบและผลลัพธ์ของยุทธศาสตร์ฯ
กาหนดมาตรการ และเป้ าหมายของผลผลิต
๒. Joint KPI
– ร้อยละของเยาวชนอายุ ๑๕-๒๔ ปี ใช้ถงุ ยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์
ครัง้ ล่าสุดใน ๑๒ เดือนที่ผา่ นมา
– ร้อยละของประชากร อายุ ๑๕-๔๙ ปี ที่ได้ตรวจและรู้ผลการติดเชื้อ
เอชไอวี ใน ๑๒ เดือนที่ผา่ นมา
15
ตัวชี้วดั หลักที่เกี่ยวกับประชากรข้ามชาติ
ตัวชี้วดั หลัก
Baseline
2016
target
Source
• HIV prevalence in migrants
0.8%
0.73%
IBBS
• Number of non-thai and
minorities receiving ART
2,700
10,000
Service record
80%
IBBS
90%
BSS
TBD
DoH
• Percentage of SW, MSM, PWID
(Thai and non-Thai) receiving
prevention services package
• Percentage of Non-Thai adults
report condom use in last sex
• Percentage of Non-Thai HIV
positive pregnant women
receiving PMTCT
78.8%
16
การทบทวนความกาวหน
้
้ า 2013
•
•
•
•
•
Target 1: ประเทศไทยจะบรรลุเป้าหมายไดต
่ รอยละ
๙๐ ของ
้ อเมื
่ อ
้
ประชากรกลุ
้ และใช้ยา
่ ุ มหลักไดรั
้ บบริการการปรึกษา ตรวจการติดเชือ
ตานไวร
สเชิ
งยุทธศาสต ์
้
้
Target 2: ประเทศไทยจะบรรลุเป้าหมายป้องกันการติดเชือ
้ ในกลุมผู
่ ใช
้ ้ยา
ชนิดฉี ดตอเมื
่ ขยายบริการลดอันตรายจากการใช้ยาอยางมี
คุณภาพ
่ อ
่
(opioid substitution therapy, and needle/syringe programme)
Target 3: Thailand can be among the first countries in the world to
eliminate mother-to-child transmission
Target 4 ประเทศไทยดาเนินการให้การรักษาไดดี
งเน
้ แตต
่ องมุ
้
่ ้ นในกลุม
่
ประชากรหลัก และดูแลให้ประชากรทีไ่ มใช
่ ่ คนไทยในแผนดิ
่ นไทยเขาถึ
้ ง
บริการ
Target 5:Thailand needs urgently to develop national guidelines and
implement respective case management for TB/HIV
17
การทบทวนความกาวหน
้
้ า 2013
•
•
•
•
Target 6 ประเทศไทยมีความจาเป็ นตองจั
ดการทรัพยากรบุคคลและ
้
งบประมาณในการป้องกัน ดูแลรักษาให้เพียงพอทัง้ ในระดับประเทศและ
ระดับพืน
้ ที่
Target 7 Thailand needs to ensure gender sensitive services
especially as regards HCT, prevention, treatment and care through
appropriate policies and quality controlled implementation.
Target 8 ประเทศไทยตองวางแผนและด
าเนินการรณรงคเพื
่ ปรับทัศนะให้
้
์ อ
เอดส์เป็ นเรือ
่ งปกติและเป็ นโรคเรือ
้ รังทีจ
่ ด
ั การไดตลอดจนจั
ดการเรือ
่ งการตี
้
ตราและการกีดกันเนื่องจากเอดส?
Target 10 Re-designed HIV/AIDS related services can be an
example for Global Health Integration, task shifting and task sharing
in new partnerships between public sector, civil society, and private
sector.
18