ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
Download
Report
Transcript ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
ยุทธศาสตร์
ส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค
กระทรวงสาธารณสุข
ปี ๒๕๕๗
นพ สุริยะ วงศ์คงคาเทพ
ผูต้ รวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
ความเป็ นมา
ระยะที่ 1 พัฒนาความร่วมมือ สธ.-สปสช. 2551-2555
1. แยกตามเป้ าหมาย (PPA, PPE, PP ทันตกรรม)
2. “ร่วมกันคิด ช่วยกันทา” ใช้แผนส่งเสริมสุขภาพเชิง
รุกเป็ นเครื่องมือ
3. ส่งเสริมบทบาทของ อปท. ผ่านกองทุนตาบล
4. ริเริ่มกระบวนการ M&E
ระยะที่ 2 ความร่วมมือ ‘PP Model’ 2556
1. ปรับบทบาทของ สปสช.-สธ. (Purchaser-provider)
2. แผนงานตามกลุม่ วัย + บูรณาการ 5 กรม
3. จัดทาแผนสุขภาพเขต จังหวัด อาเภอ
การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข
ั เจน
1. การกาหนดบทบาท 3 สว่ นให ้ชด
1) National Health Authority (NHA) & Regulator
2) Purchaser หมายถึง สปสช.
3) Provider หมายถึง เครือข่ายบริการ และหน่วยบริการ
2. การพัฒนาบทบาท NHA ของ กสธ. เบือ
้ งต ้นได ้กาหนด
“เป้ าหมาย” ในรูป KPI ระดับกระทรวง ซงึ่ ปี 2557 มี 50 ตัว
3. พัฒนารูปแบบการทางานร่วมกันระหว่าง กสธ. และ สปสช.
โดยใช ้ PP model เป็ นตัวอย่างนาร่อง
การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข
3. การพัฒนาบทบาท ผู ้ให ้บริการ (Provider)
- การจัด “เขตบริการสุขภาพ” 12 เขต ปกด. ผตร. CEO,
คกก.เขตบริการสุขภาพ และ สนง.เขตบริการสุขภาพ
- จัดทา “Service plan” ในแต่ละเขตบริการ เพือ
่ ขับเคลือ
่ น
การพัฒนาระบบบริการ ปกด. แผนพัฒนา 10 สาขา, แผน
พบส., แผนลงทุน ปี 2558-60 และแผนบุคลากร
- กาหนดให ้ทุกเขตจัดทา “แผนสุขภาพเขต” เป็ นครัง้ แรก
ปกด. แผนบริหารจัดการ แผนบริการ และแผน สสปก.
- รูปแบบการทางาน “บริหารงานร่วม” ปกด. งานบริการ
ื้ ร่วม
บริหารงบประมาณ/กาลังคน งานจัดซอ
4
แนวทางบริหารยุทธศาสตร์
KPI กระทรวง (44)
KPI เขต (6)
แผนงานแก้ไขปัญหา
การจัดสรรงบประมาณ
การนาแผนสูก่ ารปฏิบตั ิ
KPI กรม
การตรวจราชการ
นิ เทศงาน
โครงสร้างแผนงานเขตสุขภาพ ปี ๕๗
บริการ
สส ปก
พัฒนาบริการ 10 สาขา
พัฒนาระบบส่งต่อ
คุณภาพบริการ
การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบตั ภิ ยั
ยาเสพติด
โครงการพระราชดาริ
สุขภาพสตรี และเด็ก 0-5 + BS
สุขภาพเด็กวัยเรียน + BS
สุขภาพวัยรุ่น + BS
สุขภาพวัยทางาน
สุขภาพผูส้ ูงอายุและผูพ้ กิ าร
บริหาร
การเงินการคลัง
การบริหารกาลังคน-จริยธรรม
การบริหารระบบข้อมูล
การบริหารเวชภัณฑ์
พัฒนาประสิทธิภาพ ซื้อ/จ้าง
อาหารปลอดภัย
การควบคุมโรคติดต่อ
สิง่ แวดล้อมและระบบทีเ่ อื้อต่อสุขภาพ
การมีส่วนร่วมภาคประชาชน
แผนพัฒนาสุขภาพ
แผนสุขภาพเขต
ยุทธศาสตร์สุขภาพเขต
แผนงบประมาณ เขต
แผนสุขภาพจังหวัด
แผนแก้ไขปัญหาในภาพรวม
แผนปฏิบตั ขิ อง จังหวัด
แผนสุขภาพอาเภอ
แผนแก้ไขปัญหาพื้นที่
แผนปฏิบตั ขิ อง หน่ วยบริการ
PP MODEL
REALIGNMENT OF WORK
แผนสุขภาพเขต / จังหวัด
การบริหารบประมาณแบบบูรณาการ
กระบวนการนาแผนสูก่ ารปฏิบตั ิ
National
Programs
Health
Promotion &
Prevention
กรอบงานส่งเสริมป้ องกัน ตามลักษณะงาน
บทบาทหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุข
(งานส่งเสริมป้ องกัน)
1. กระทรวง / กรม
การจัดทาแผนงาน PP ตามกลุม
่ วัยระดับประเทศ
(5 Flagship Programs)
2. เขตพืน
้ ทีเ่ ครือข่ายบริการ
การจัดทา MOU ร่วมกับ สปสช. เขต ในกรอบงาน PP
(BS, NP, AH)
ทบทวนและปรับบทบาทหน ้าทีข
่ อง เขต และ สปสช.
บทบาทหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุข
(งานส่งเสริมป้ องกัน)
3. จังหวัด
่ ารดาเนินงาน
มีหน ้าทีบ
่ ริหารจัดการ นาแผนงานไปสูก
ผ่านหน่วยบริการในพืน
้ ที่
ี้ จง สง่ั การ จัดสรรงบประมาณ
ปรับบทบาท จากผู ้ชแ
และจัดกิจกรรมในสว่ นของ สสจ. มาเป็ นผู ้กาหนดกล
ยุทธการดาเนินงาน
การบูรณาการ PP 5 กรม
1. เน้นแผนงานแต่ละกลุม่ วัย บูรณาการภารกิจของกรมที่เกี่ยวข้อง
2. กรมร่วมกันจัดทาแนวทาง คู่มือ เครื่องมือ ฯลฯ
โดยมี Focal Point ดังนี้
กรมอนามัย รับผิดชอบ แผนงานกลุม่ สตรีและทารก และกลุม่ เด็กวัยเรียน
กรมสุขภาพจิต รับผิดชอบ แผนงานกลุม่ เยาวชนและวัยรุน่
กรมควบคุมโรค รับผิดชอบ แผนงานกลุม่ วัยทางาน
กรมการแพทย์ รับผิดชอบ แผนงานกลุม่ วัยผูส้ ูงอายุ
กรมสนับสนุ นบริการ สนับสนุ นในภารกิจ Health Literacy
สป.สธ. รับผิดชอบ การประสานพื้นที่ และการติดตามประเมินผล
แนวคิดการจัดทาแผนงาน ๕ กลุ่มวัย
1. กาหนดประชากรกลุม่ วัยเป็ นตัวตัง้ การดาเนิ นงาน แทนการ
ยึดโครงการ/กิจกรรมของแต่ละกรมในแบบเดิม
2. บูรณาการความเชี่ยวชาญของกรมต่างๆ เพื่อสร้างแผนการ
ดาเนิ นงานร่วมกัน ... “แผนสุขภาพกลุม่ วัย”
- บูรณาการกิจกรรมบริการทีล่ งกลุม่ วัย
- บูรณาการการบริหารจัดการ และงบประมาณ
3. จัดทากรอบยุทธศาสตร์กลุม่ วัย เพื่อเป็ นแนวทางดาเนิ นงานแก่
ระดับเขต/จังหวัด ... “ทุกกรมเป็ นเจ้าของร่วมกัน โดยมีเจ้าภาพ
หลัก (Focal point)”
4. ระดับกิจกรรม :
กรม มีหน้าที่สนับสนุ นวิชาการ
เขต/จังหวัด มีหน้าที่สนับสนุ น/ดาเนิ นงาน
กลไกรองรับแผนงาน ๕ กลุ่มวัย
1. แผนยุทธศาสตร์ ๕ กลุม่ วัย ระดับกระทรวง
- ระยะที่ ๑ แผนยุทธศาสตร์ ปี ๒๕๕๗
- ระยะที่ ๒ แผนยุทธศาสตร์ ปี ๒๕๕๘-๖๐
2. แต่งตัง้ คกก. และอนุ กก. ๕ ชุด
- เวทีหมุนเวียน “PP Forum” ทุกเดือน
- คณะ สธน. ผูท้ รงคุณวุฒิ และผูเ้ ชี่ยวชาญของกรม
- ผูเ้ ชี่ยวชาญภายนอก และภาคส่วนต่างๆ
3. งบประมาณร่วมกันของ กรม และ สปสช. (NPP)
4. ความร่วมมือระดับเขตภายใต้ MOU
5. การกากับ และประเมินผล (M&E)
- กากับประเมิน “กระบวนการ” และ “ผลลัพท์”
- การประเมินผลและการวิจยั
องค์ประกอบของแผนงาน PP กลุม
่ ว ัย ปี 2557
แผนสตรี ตัง้ ครรภ์ /
เด็ก 0 – 5 ปี
หญิงตัง้ ครรภ์ ท่พ
ี ึงได้ รับ
- ค้ นหาและส่ งต่ อฝากท้ องเร็ ว
เพิ่มการเข้ าถึงบริการด้ วยการ
ฝากท้ องทุกทีฟรีทุกสิทธิ์
สิทธิ์การได้ รับบริการ เด็ก 0-5 ปี
- ทันตกรรม
- นมแม่ / พัฒนาการ
- การเจริญเติบโต
- โรงเรียนพ่ อแม่ – วัคซีน
แผนสุขภาพ
เด็กวัยเรี ยน
แผนสุขภาพวัยรุ่ น/
นักศึกษา
แผนสุขภาพวัยทางาน
5 – 14 ปี
15-21 ปี
15-59 ปี
- เจริญเติบโต(สูงดี สมส่ วน)
- ภาวะอ้ วน
- สุขภาพช่ องปาก (ฟั นผุ)
- วัคซีน สุขภาพตาและหู
- ความเจ็บป่ วยทาง
พัฒนาการ - IQ/EQ (เหล็ก
ไอโอดีน สติปัญญา)
- อุบัตเิ หตุ(เด็กจมนา้ )
- สถานบริการสาธารณสุข
- ANC, LR
- WCC
โรงเรียนส่ งเสริมสุขภาพ
- ศูนย์ เด็กเล็กคุณภาพ
-ตาบลนมแม่
- อสม. แม่ และเด็ก
- โรงเรียนพ่ อแม่ คุณภาพ
บูรณาการแผนกองทุนตาบล
การเข้ าถึงกลุ่มเสี่ยง
- เพศสัมพันธ์ ทักษะชีวติ
ความเข้ มแข็งทางใจ
- บุหรี่ / แอลกฮอลล์
- ยาเสพย์ ตดิ
- พฤติกรรมอารมณ์ (ติด
เกมส์ ติดพนัน ความ
รุ นแรง)
- คลินิกวัยรุ่ น
- HL/ HBSS (เฝ้าระวัง
พฤติกรรม ยุวะ อสม.)
- สร้ างกระบวนการดูแล
ช่ วยเหลือวัยรุ่ นเริ่มที่
โรงเรียน
- ตาบลสุขภาพดี / OSCC
- ตาบล IQ ดี EQ เด่ น
- อาเภออนามัยเจริญพันธ์
- ชุมชน/ หมู่บ้านไอโอดีน
- IT Health/ Social Media
- Online Training
DHS.
- ประเมินความเสี่ยง
คัดกรอง ให้ คาปรึกษา
ดูแลรักษา
- DPAC, NCDคุณภาพ
นโยบายสาธารณะ ปรับปรุง
สิง่ แวดล้อมให้ปลอดภัยและเอื้อ
สุขภาพ บังคับใช้ กม.
แผนสุขภาพผู้สูงอายุ
และผู้พกิ าร
60 ปี ขึน้ ไป
- คัดกรองปั ญหาสุขภาพ
- คัดกรอง Geriatric
Syndromes
แผนสุขภาพผู้พกิ าร
- สารวจทาฐานข้ อมูล
- สมุดพกสุขภาพคนพิการ
- คู่มือดูแลคนพิการ
- Clinic (รพช, รพท/ รพศ.)
- ระบบฐานข้ อมูลสุขภาพ
- Home Health Care
- Case Management
- คลินิกบริการผู้สูงอายุ
SRRT สร้ างความ
ตระหนักโรคและภัย
สุขภาพ
- Long Term Care
- Aged - Friendly Environment
- อาเภอ/ ตาบล 80 ปี ยัง
แจ๋ วและคนพิการเข้ มแข็ง
PP Model
กลุม่ วัย
Basic Services
ANC, WCC, EPI,
กลุม่ สตรีและทารก
DCC
Vaccine, Growth
กลุม่ เด็กปฐมวัย monitoring,
Childhood oral health
กลุม่ เยาวชนและ Vaccine, Oral health
วัยรุ่น
Screening of DM/HT
Screening of cervix
กลุม่ วัยทางาน
and breast cancer
กลุม่ ผูส้ ูงอายุ ผู ้
พิการ
National Programs
Area Health
Risk management
Child development,
IQ/EQ, LD
Communicable
Disease Control,
Food Safety,
Sexual &
Community
Reproductive Health
And
NCD (DM/HT, Cancer,
Environmental
Stroke, COPD)
Health
การประเมินภาวะสุขภาพ ๓
กลุม่ (ADL, ๕ โรคที่พบบ่อย,
Geriatric syndromes)
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผูส้ ูงอายุและผูพ้ กิ าร
เป้ าประสงค์
องค์ประกอบ
ยุทธศาสตร์
1. ผูส้ ูงอายุได้รบั การดูแลส่งเสริมป้ องกัน และการคัดกรองสุขภาพ
ูงอายุ การสุขภาพผูส้ ูงอายุ ที่มีศกั ยภาพ และเข้าถึงได้
2. มีผูรส้ ะบบบริ
3. มีตน้ แบบการดูแลผูส้ ูงอายุระยะยาว โดยชุมชนและท้องถิ่น
กรมอนามัย
กรมควบคุมโรค
กรมสุขภาพจิต
กรมการแพทย์
1. คัดกรองสุขภาพผูส้ ูงอายุ 3 กลุม่
2. คลินิคสุขภาพผูส้ ูงอายุระดับอาเภอ
3. ระบบการดูแลผูส้ ูงอายุระยะยาว โดยชุมชนและท้องถิ่น
กลวิธีดาเนิ นงาน
1. ผูส้ ูงอายุได้รบั การคัดกรองปัญหาสุขภาพ 1. คัดกรองปัญหาสุขภาพผูส้ ูงอายุ 3 กลุม่
2. พัฒนาระบบบริการสุขภาพผูอ้ ายุ CUP 2. จัดตัง้ คลินิกสุขภาพผูส้ ูงอายุ
3. พัฒนาต้นแบบ LTC โดยชุมชน ท้องถิ่น 3. มี Aging Manager ระดับอาเภอ
ยุทธศาสตร์
ส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค
สูก่ ารปฏิบตั ิ
ระดับเขต / จังหวัด
การบริหารงบบริการสร ้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค ปี 57
คานวณจาก
383.61 บาท/ปชก.UC
48.852 ล้านคน
P&P Capitation
ิ ธิ 64.871 ล้านคน)
( 288.88 บาท x ปชก. ทุกสท
(1)
NPP & Central
procurement
(23 บ./คน)
(2)
P&P Area Health
services
(66.38 บ./คน)
กองทุนฯท้องถิน
่
(40+5 บ./คน)
จ ังหว ัด/เขต
(21.38 บ./คน+สว่ นที่
เหลือจากจ ัดสรร
กองทุนฯท้องถิน
่ )
(3)
P&P Basic
Services
(192 บ./คน)
(4)
สน ับสนุนและ
่ เสริม
สง
(7.50 บ./คน)
หักเงินเดือน
Capitation
+workload
(162 บ./คน)
P&P Dental
(10 บ./คน)
Quality
Performance
(20 บ./คน)
หน่วยบริการ/
อปท.,/
หน่วยงานต่างๆ
กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให ้สามารถบูรณการการบริหารงบ (2) และ (3)
เพือ
่ ให ้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามทีก
่ าหนด เนือ
่ งจากไม่มส
ี าขาจังหวัดและบริบทพืน
้ ทีแ
่ ตกต่าง
นโยบายสุขภาพ ปี 57
สปสช.
กรม
PPNP
สป
กรม
บูรณาการ
สปสช.เขต
PPA
งบ UC
MOU
(BS,NP)
PPA
กากับติดตาม
จังหวัด
แผนยุทธ
PPB
(NP)
5
Flagships
เขต สธ.
แผนยุทธ
(6,000 ล้าน)
MOU
กากับติดตาม
อาเภอ
งบ สป.สธ.
(1000 ล้าน)
แผนบูรณาการเชิงรุก
แผนยุทธศาสตร์ เห็นทิศทางในภาพรวม
เน้นปัญหาสาคัญ
แผนแก้ปญั หา
จัดกลุม่ ปัญหา/บูรณาการ
แต่ละปัญหามีกลยุทธ์/งบประมาณชัดเจน
มาตรการชัดเจน
งบประมาณตามกิจกรรม
แผนปฏิบตั ิ
กิจกรรม
คุณลักษณะของแผน 3 ระดับ
แผนยุทธศาสตร์
แผนแก้ ไขปั ญหา
แผนปฏิบัติ
แผนยุทธศาสตร์ (องค์กร/พื ้นที่) แผนยุทธศาสตร์ (ปั ญหา)
แผนงาน (ปั ญหา)
การพัฒนาสุขภาพในพืน้ ที่ การแก้ ไขปั ญหาหนึ่ง
เป้าหมาย/
วัตถุประสงค์ ของแผน (เน้ นปั ญหาที่หลากหลาย และ อย่ างเจาะจง
ผลกระทบที่เกิดขึ ้น)
กลยุทธ / มาตรการ
เนือ้ หาสาระของแผน ทิศทาง / ยุทธศาสตร์
โครงการ (ปั ญหา/พื ้นที่)
ขอบเขตของการ
วิเคราะห์ ปัญหา
“เจาะจงปั ญหาและ
พืน้ ที่”
ชื่อที่นิยมใช้
“ไม่ เจาะจงปั ญหา”
“เจาะจงปั ญหา”
(ใช้ ข้อมูล สถานะสุขภาพ สถิติ (ใช้ ข้อมูล สถานการณ์
เปรี ยบเทียบ และการจัดลาดับ ปั ญหา ระบาดวิทยา และ
ความสาคัญ)
ข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง)
การดาเนินงานเพื่อ
แก้ ปัญหาเฉพาะพืน้ ที่
กิจกรรมปฏิบตั ิ
ผลลัพท์ ท่ สี าคัญ
การจัดสรรทรัพยากร
ที่สอดคล้ องกับยุทธศาสตร์
(ใช้ ข้อมูล สถานการณ์
ปั ญหา และข้ อมูลในพื ้นที่)
ประสิทธิภาพของมาตรการ ประสิทธิผลของการ
ดาเนินงาน
แหล่ งงบประมาณ
หน่ วยงาน องค์ การ
หลายแหล่ ง
หลายแหล่ ง
แหล่ งเดียว
ประเทศ / เขต / จังหวัด
ประเทศ / เขต / จังหวัด
หน่วยงาน / สถานบริการ
กลไกการบูรณาการระดับจังหวัด
นพ.สสจ.
คทง.
กลุ
ม
่
คกก. MCH
วัยเรียน
คทง. กลุม่
วัยรุ่น
คทง. กลุม่
วัยทางาน
คทง. กลุม่
สูงอายุ
บูรณาการระหว่างกลุ่มงาน
Provincial Program Managers
MCH
Manager
Child Dev.
Manager
Teenage
Manager
NCD
Manager
Aging
Manager
District Program Managers
MCH
Manager
Child Dev.
Manager
Teenage
Manager
NCD
Manager
Aging
Manager
บทบาทของจังหวัดที่ปรับเปลี่ยน
1. มองการดูแลสุขภาพ บูรณาการกิจกรรมเป็ นกลุม่ วัย แทนที่จะ
มองเป็ นกิจกรรมแยกตามฝ่ าย/หน่ วยงาน
2. จังหวัดมีหน้าที่ กากับดูแลการดาเนิ นงาน ทัง้ หน่ วยงานในสังกัด
ท้องถิ่น และภาคส่วนอืน่ ๆ
3. ตัวชี้วดั เป็ นเพียงสะท้อนผลลัพท์ แต่ กระบวนการ เป็ นตัวส่งให้
เกิดผลลัพท์ ความชัดเจนของมาตรการดาเนิ นงานจึงเป็ นสิง่ สาคัญ
4. แผนสุขภาพ แตกต่างจาก แผนยุทธศาสตร์ในอดีต
แนวทางดาเนิ นงาน PP 57
1. อิงกรอบแนวทางร่วม สธ.-สปสช. (PP Model)
2. จาก KPI ยุทธศาสตร์ 44 ตัว (PP 11 ตัว) สูก่ ารปฏิบตั ิท่บี ูรณา
การโดยยึดประชากรกลุม่ วัยเป็ นตัวตัง้ ส่วนกลางควรวาง “กรอบ
แผนงานส่งเสริมสุขภาพกลุม่ วัย” 5 แผนหลัก ที่มีองค์ประกอบ
ของงานครบถ้วน
3. พัฒนาพื้นฐานของระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
4. สร้างกลไก M&E ผลการดาเนิ นงานของเขตบริการสุขภาพ
ความท้าทายในอนาคต
1. การพัฒนาแผนยุทธศาสตร์สุขภาพตามกลุม่ วัย ระยะ ๓ ปี
2. การรวบรวมคลังความรูแ้ ละข้อมูลสถานการณ์จากแหล่ง
ต่างๆ ที่สามารถติดตามความเปลีย่ นแปลงได้ทนั การ
3. การกาหนดมาตรการที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
4. การพัฒนาระบบการกากับ ติดตาม และประเมินผล