รายงานการพัฒนาคุณภาพที่เป็นผลจากการใช้ SPA in action

Download Report

Transcript รายงานการพัฒนาคุณภาพที่เป็นผลจากการใช้ SPA in action

รายงานการพัฒนาคุณภาพที่เป็ นผลจากการใช้
SPA in action
รพ.กุดชุม อ.กุดชุม จ.ยโสธร
Hospital profile
วิสัยทัศน์
โรงพยาบาลกุดชุม ให้บริ การที่มีคุณภาพ ผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โดยการบริ หารจัดการที่ มี
ประสิ ทธิ ภาพ ภาคีมีส่วนร่ วม เพื่อประชาชนมีสุขภาพดี บุคลากรเก่ง ดี มีสุข
ความท้าทายที่สาคัญ
-การเงินวิกฤติระดับ 7 สภาพคล่องทางการเงินไม่เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
-การพัฒนาระบบบริ การแบบองค์รวม
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
ภาวะวิกฤตทางการเงินลดลง
ระบบบริ การสุ ขภาพแบบองค์รวมที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน
Hospital profile
ความสามารถเฉพาะขององค์กร (Core competency)
ระบบสารสนเทศในการดูแลผูป้ ่ วย
การดูแลผูป้ ่ วยเบาหวานด้วยการแพทย์แผนไทย
เครื อข่ายการดูแลผูป้ ่ วยด้านยาเสพติด สุ ขภาพจิต
โรคสาคัญในพื้นที่
เบาหวาน ความดันโลหิ ตสู ง อุจาระร่ วง ปอดอักเสบ หลอดลมอักเสบ
กลุ่มผูป้ ่ วยเป้ าหมาย
ผูป้ ่ วยกลุ่มเสี่ ยงสู ง ผูป้ ่ วยเรื้ อรัง ผูป้ ่ วยนอนนาน ผูป้ ่ วยค่าใช้จ่ายสู ง
เข็มมุ่ง/จุดเน้น
การบริ หารความเสี่ ยงด้านการเงิน
พัฒนาคุณภาพบริ การสุ ขภาพแบบองค์รวม
รายงานการพัฒนาคุณภาพทางคลินิก (Clinical CQI Outcome)
กลุ่มโรค
เบาหวาน
วัตถุประสงค์ของการพัฒนา(purpose)
ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน
กิจกรรมการพัฒนา(process improvement)
การค้ นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ ยง ทาการคัดกรองเบื้องต้นในประชากรกลุ่มเสี่ ยงอายุมากกว่า 15 ปี
กระบวนการรักษาพยาบาล ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับน้ าตาลในเลือดไม่เกิน 130 mg% รพ.สต.ลูกข่าย
ตรวจรักษาโดยพยาบาลเวชปฏิบตั ิตาม CPG รพ.สต.แม่ข่าย มีแพทย์ออกตรวจรักษาในวันหยุดราชการ ๖
แห่ง
การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้ อน ผูป้ ่ วยเบาหวานรายเก่ารับการรักษาตามแนวทางการดูแลผูป้ ่ วยเรื้ อรัง
และการติดตามการตรวจภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า ไต มีการตรวจเลือดประจาปี ทุกคน
กระบวนการสร้ างเสริมสุ ขภาพ มีหมู่บา้ น / ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ร่ วมกับองค์กรท้องถิ่น มีการจัดทาประชาคมหมู่บา้ น สร้างกระแสการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวถิ ี
ชีวติ ไทยในพื้นที่ โดยการมีส่วนร่ วมจากภาคีเครื อข่าย
กระบวนการดูแลต่ อเนื่องและฟื้ นฟูสภาพ มีระบบการส่ งต่อผูป้ ่ วยตามแนวทางและติดตามเยีย่ มบ้านหลัง
จาหน่ายโดยรพสต.ที่มี นสค. รับผิดชอบและเยีย่ มบ้านโดยทีมสหวิชาชีพ ใน รพ.สต.แม่ข่าย
ผลลัพธ์/การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น(performance)
3 Pในระดับหน่วยงาน
หน่ วยงาน
เป้ าหมายสาคัญ
ห้องบัตร
สะดวก รวดเร็ ว ถูกต้อง ครบถ้วน
ข้อมูลเป็ นปัจจุบนั
ห้องคลอด
ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย
การปรับปรุ ง/ผลการพัฒนาที่สาคัญ
การรวมเวชระเบียนที่ซ้ าซ้อนให้เป็ นหนึ่ง อุบตั ิการณ์ออกเวชระเบียนซ้ าซ้อนลดลง
จาก 3 รายเป็ น 1 ราย/เดือน
การตรวจสอบความสมบูรณ์ของเวชระเบียน มีการกาหนดแนวทางการนาเข้าข้อมูล
ขั้นต่า กาหนดชุดข้อมูลมาตรฐาน สุ่ มตรวจความสมบูรณ์ของข้อมูลทุกสัปดาห์
ประเมินผลงาน ประชุมชี้แจง ป้ อนกลับข้อมูลผลการประเมินการทางานทุกเดือน
พบว่าอัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 91 เป็ นร้อยละ 93
3 Pในระดับหน่วยงาน
หน่ วยงาน
เป้าหมายสาคัญ
การปรับปรุ ง/ผลการพัฒนาทีส่ าคัญ
ผูป้ ่ วยนอก
ผูป้ ่ วยได้รับบริ การสะดวก รวดเร็ ว
ทันเวลา
ผูป้ ่ วยอุบตั ิเหตุฉุกเฉิน
ผูป้ ่ วยอุบตั ิเหตุได้รับบริ การที่ถูกต้อง
รวดเร็ ว ปลอดภัยและไม่มี
ภาวะแทรกซ้อน
การส่ งตรวจไขมันในเลือดกลุ่มผูป้ ่ วยเรื้ อรัง สามารถลดระยะเวลารอคอยการตรวจลง
ร้อยละ 50 ระดับความพึงพอใจเพิ่มขึ้น บรรยากาศการทางานดีข้ ึน
ขยายบริ การตรวจรักษาผูป้ ่ วยนอกเวลาราชการ เพื่อลดความแออัดและลดระยะเวลารอ
คอย ผลการพัฒนาระยะเวลารอคอยลดลง
การจัดทาข้อบ่งชี้ในการรายงานแพทย์ มีแนวทางเกณฑ์ในการรายแพทย์งานชัดเจน
จัดทาข้อตกลงในการดูแลรักษา ผูป้ ่ วยได้รับบริ การแก้ไขปั ญหาฉุ กเฉิ นได้รวดเร็ ว
ทันเวลา
ผูป้ ่ วยใน
ถูกต้อง ปลอดภัยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
ผูป้ ่ วยโรคเรื้ อรัง ได้รับการ
Empowerment ให้สามารถดูแลตนเองได้
อย่างเหมาะสมเมื่อกลับบ้าน
ผลการพัฒนาในสไลด์ถดั ไป
ความสมบรู ณ์เวชระเบียน เป้ าหมาย มากกว่า ร้อยละ 95
100
ร้อยละ
80
92.5
94.5
98.18
60
40
20
0
2554
2555
2556
ทบทวนแนวทางการบันทึกเวชระเบียนโดยใช้รูปแบบการประเมิน
ของ สปสช.
กาหนดให้มีการทบทวนความสมบรู ณ์เวชระเบียนทุกเดือนโดยกาหนด
แนวทางการสุ่ มเวชระเบียน
นาผลการทบทวนมาปรับปรุ งในส่ วนที่ขาด
ปรับปรุ งแบบบันทึกเพื่อให้ครอบคลุมประเด็นที่สาคัญเช่นใบ Inform
consent,History,Physical exam, Nurse note
อัตราการติดเชื้อจากการให้สารน้ าทางหลอดเลือดดา (Phlebitis) เป้ าหมาย 0 : 1000 วันนอน
 2548 - 2549 พบPhlebitis กรณี ให้ยา Amphotericin B ปรับระบบโดย ปรับ
วันจากการให้น้ าเกลือจาก 5 วันเป็ น 3 ปฏิบตั ิตามตามแนวทางการให้ IV สี รุ้ง
2553 เกิด Phlebitis เด็ก 5 ปี เพราะไม่ได้เปลี่ยนตาแหน่งน้ าเกลือเนื่องจากหาเส้นเลือด
ยาก ปรับปรุ งโดยให้ Dressing ทุกเวร ,Observe อาการบวมแดง
2554-2556 ไม่พบการเกิด Phlebitis
0.05
ร้ อยละ
0.04
0.03
0.02
0.02
0.01
0
0
0
0
2553
2554
2555
2556
อัตราการ Re-Admission ด้วยโรคเดิมภายใน 28 วัน เป้ าหมาย น้อยกว่าร้อยละ 2
3.5
3.47
3
ร้อยละ
2.5
2
3.37
2.62
1.5
1
0.5
0
2554
2555
2556
กาหนดกลุ่มโรคเรื้ อรังร่ วมกับทีมHCT
จัดทาแนวทางการดูแลผูป้ ่ วย
ประเมินความต้องการ ความคาดหวังผูป้ ่ วย
จัด Self-Health Group
ส่ งต่อข้อมูลให้ PCU เพื่อติดตามเยีย่ มและดูแลต่อเนื่อง
ร้อยละ
อัตราการบาดเจ็บจากการใช้เครื่ องผูกยึดหรื ออุปกรณ์ทางการแพทย์ น้อยกว่าร้อยละ 0.05
0.5
ปี 2554 พบ Burn จากกระเป๋ าน้ าร้อน ในผูส้ ู งอายุ ซึ่ งพบว่า
มีผวิ หนังบาง ลืมว่าให้บริ การกระเป๋ าน้ าร้อน น้ ามีอุณหภูมิสูง
เกินไป ใช้ปลอกหมอนห่อกระเป๋ าน้ าร้อน
ทบทวนและปรับปรุ งแนวทางการปฏิบตั ิงานโดย ทาถุงผ้าหนา 3
ชั้น ใช้น้ าอุ่นอุณหภูมิ 70ํ c ให้ญาติมีส่วนร่ วมในการดูแล ให้เปลี่ยน
ตาแน่งทุก 10 นาที พยาบาลประเมินอาการทุก 10 นาที
0.4
0.3
0.2
0.1
0.05
0
2554
0
0
2555
2556
อัตราการส่ งต่อข้อมูลเพื่อดูแลต่อเนื่อง
DM
30
HT
ร้ อยละ
COPD
20
10
26.67
CHF
16.66 16.66 16.66
0
2553
Asthma
11.66 11.66
ETC
กาหนดกลุ่มโรคที่ตอ้ งส่ งต่อข้อมูลเพื่อดูแลต่อเนื่อง
ออกแบบใบส่ งต่อเพื่อดูแลต่อเนื่อง
ประสาน PCU ประเมินผูป้ ่ วยร่ วมกันก่อนจาหน่าย
ส่ งต่อข้อมูลเพื่อดูแลต่อเนื่อง
PCU ตอบกลับผลการรักษาให้หน่วยที่ส่งต่อ
ปัญหา PCU ไม่สามารถมาประเมินผูป้ ่ วยก่อนจาหน่ายได้ทุกราย หน่วยไม่
สามารถระบุปัญหาที่เหลือเพื่อให้ไปดูแลต่อเนื่อง PCUไม่สามารถเยีย่ ม
ผูป้ ่ วยได้ทุกรายเนื่องจากภาระงานที่มาก
ความคลาดเคลื่อนทางยา Administration เป้ าหมาย น้อยกว่า 3.5 ต่อ 1000 วันนอน
ความคลาดเคลื่อนส่ วนใหญ่เกิดจากให้ยาผิดเวลา ผิดขนาด และลืมให้ยา
ต่อ1000วันนอน
2.5
2
1.5
1.88
2.5
1.51
1
0.5
0
2554
2555
2556
มีการควบคุม/ทบทวนให้ปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบริ หารยา
ยกเลิก Card ยา ,Kardex ,ปรับปรุ งใบ Mar
ใช้ Infusion pump ในการให้ยาHAD
มีการทบทวนการใช้ยา HAD ร่ วมกับ PCT และติดตามกากับ
เภสัชกรตรวจเช็คยาทุกวัน
ปรับระบบการดูแลผูป้ ่ วยแบบเจ้าของไข้
อัตราการตกเตียง
0.5
ร้ อยละ
0.4
0.3
0.2
0.09
0.1
0.08
0.05
กำหนดกลุ่มเสี่ ยง กลุม่ เด็ก,ผูส้ ูงอำยุ,ระดับควำม
รู ้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ,ผูป้ ่ วยโรคจิต
กำหนดให้ประเมินระดับควำมรู ้สึกตัวทุกครั้งเมื่อรับใหม่
ผูป้ ่ วย ,ประเมินซ้ ำทุกเวร เมื่อมีอำกำรเปลี่ยน
จัดเตียงที่มีไว้ก้ นั เตียง,ส่วนเด็กเล็กให้นอนเตียงที่มีไม้กนั เตียง
ชนิดพิเศษและจัดหำผ้ำปูเตียงชนิดพิเศษ
0
2554
2555
2556
ร้อยละ
อัตราการบาดเจ็บจากการใช้ เครื่องผูกยึดหรืออุปกรณ์ ทางการแพทย์
0.5
0.4
0.3
0.2
0.1
0.05
0
2554
0
2555
0
2556
ปี 2554 พบ Burn จำกกระเป๋ ำน้ ำร้อน ในผูส้ ูงอำยุ ซึ่ง
พบว่ำมีผิวหนังบำง ลืมว่ำให้บริ กำรกระเป๋ ำน้ ำร้อน น้ ำ
มีอุณหภูมิสูงเกินไป ใช้ปลอกหมอนห่อกระเป๋ ำน้ ำ
ร้อน
ทบทวนและปรับปรุ งแนวทำงกำรปฏิบตั ิงำนโดย ทำถุงผ้ำ
หนำ 3 ชั้น ใช้น้ ำอุ่นอุณหภูมิ 70ํ c ให้ญำติมีส่วนร่ วมในกำร
ดูแล ให้เปลี่ยนตำแน่งทุก 10 นำที พยำบำลประเมินอำกำรทุก
10 นำที
อัตราการส่ งต่ อข้ อมูลเพือ่ ดูแลต่ อเนื่อง
DM
30
HT
ร้ อยละ
COPD
20
10
26.67
CHF
16.66 16.66 16.66
0
2553
Asthma
11.66 11.66
ETC
กาหนดกลุ่มโรคที่ตอ้ งส่ งต่อข้อมูลเพื่อดูแลต่อเนื่อง
ออกแบบใบส่ งต่อเพื่อดูแลต่อเนื่อง
ประสาน PCU ประเมินผูป้ ่ วยร่ วมกันก่อนจาหน่าย
ส่ งต่อข้อมูลเพื่อดูแลต่อเนื่อง
PCU ตอบกลับผลการรักษาให้หน่วยที่ส่งต่อ
ปัญหา PCU ไม่สามารถมาประเมินผูป้ ่ วยก่อนจาหน่ายได้ทุกราย หน่วยไม่
สามารถระบุปัญหาที่เหลือเพื่อให้ไปดูแลต่อเนื่อง PCUไม่สามารถเยีย่ มผูป้ ่ วย
ได้ทุกรายเนื่องจากภาระงานที่มาก
3 Pในระดับหน่วยงาน
หน่ วยงาน
เป้าหมายสาคัญ
การปรับปรุ ง/ผลการพัฒนาทีส่ าคัญ
โรงอาหาร
เพื่อผูป้ ่ วยได้รับบริ การอาหารที่
สะอาด ปลอดภัย อาหารถูกคน ถูก
โรค และ ตรงเวลา ผูร้ ับบริ การพึง
พอใจ
การปรับเปลี่ยนเวลาในการบริ การอาหารเพื่อให้ผปู้ ่ วยรับประทานอาหารเหมือนเวลา
ปกติที่บา้ น เดิมให้บริ การอาหารเย็นเวลา 15.00 น. – 15.30 น.พบว่าผูป้ ่ วยรับประทาน
อาหารไม่หมด เนื่องจากยังไม่อยากอาหาร จึงปรับเปลี่ยนเวลารับประทานอาหารเย็น
เป็ นเวลา 16.30 น. – 17.30 น.
งานเภสัชกรรม
ผูป้ ่ วยได้รับยาถูกต้อง ปลอดภัย
จัดทา Drug monograph เสนอคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบัดของโรงพยาบาล
เพื่อใช้ประกอบการเสนอยาเข้าและตัดยาออกจากบัญชียาโรงพยาบาล
จัดทา Drug Information Handbook ของยาทุกรายการที่มีในบัญชียาโรงพยาบาลกุดชุม
จัดทาคู่มือการใช้ยาในกลุ่มผูป้ ่ วยที่ตอ้ งระวังเป็ นพิเศษ ได้แก่ การใช้ยาในเด็ก การใช้ยา
ในหญิงตั้งครรภ์ การใช้ยาในหญิงให้นมบุตร การใช้ยาในผูป้ ่ วยโรคไต
จัดทาและทบทวนคู่มือ High Alert Drugs เพื่อความสะดวก รวดเร็ วในการใช้ขอ้ มูล
ประกอบการดูแลผูป้ ่ วย ซึ่งรพ.กุดชุมมีท้ งั หมด 13 รายการ กระจายให้จุดบริ การผูป้ ่ วย
ครบทุกจุดของรพ. ได้แก่ ER,OPD,LR/OR,PCU และ IPD
จัดทาเอกสารการใช้ชื่อย่อยาที่เป็ นสากล และรวบรวมชื่อการค้าของยาที่แพทย์มกั ใช้สั่ง
จ่ายบ่อยๆในรพ.เพื่อการสื่ อสาร ระหว่างทีมสหวิชาชีพ ที่ตรงกันในการดูแลผูป้ ่ วย และ
เพื่อป้ องกัน
3 Pในระดับหน่วยงาน
หน่ วยงาน
เป้าหมายสาคัญ
การปรับปรุ ง/ผลการพัฒนาทีส่ าคัญ
งานชันสู ตร
ให้บริ การตรวจวิเคราะห์ถูกต้อง
ทันเวลา ครบถ้วน น่าเชื่อถือ
ห้องปฏิบตั ิการผ่านการรับรองมาตรฐานห้องปฏิบตั ิการทางเทคนิคการแพทย์ (LA) ปี
2555
ปรับปรุ งระบบการนาส่ ง การรับสิ่ งส่ งตรวจและมีบุคลากรตรวจสอบสิ่ งส่ งตรวจ
จัดทาหลักเกณฑ์การจัดซื้ อน้ ายาวิเคราะห์/วัสดุอุปกรณ์ จัดทาหลักเกณฑ์การตรวจรับ
น้ ายาตรวจวิเคราะห์/วัสดุอุปกรณ์
ให้ความรู ้วชิ าการเกี่ยวกับการเก็บสิ่ งส่ งตรวจที่ถูกต้อง และจัดทาคู่มือการเก็บสิ่ งส่ ง
ตรวจให้แก่เจ้าหน้าที่ในตึกผูป้ ่ วยใน และห้องอุบตั ิเหตุฉุกเฉิ น รวมทั้งเจ้าหน้าที่
โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตาบลในเขตอาเภอกุดชุม
ผลการดาเนินงาน
ลาดับ
ตัวชี้วดั
เป้าหมาย
ปี 2556
ต.ค. - เม.ย. 57
1
ร้อยละการรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ทนั เวลา
90%
90
92
2
อัตราการเก็บสิ่ งส่ งตรวจไม่ถูกต้อง
5%
2
1
3
อัตราการการรายงานผลผิดพลาด
0.5%
0.4
1
4
อัตราการการควบคุมคุณภาพภายนอกห้องปฏิบตั ิการ( EQA)
80%
90
90
5
ผลการควบคุมคุณภาพภายนอกผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
80%
90
90
6
อัตราการการควบคุมคุณภาพภายในห้องปฏิบตั ิการ( IQC)
100%
100
100
3 Pในระดับหน่วยงาน
หน่ วยงาน
เป้าหมายสาคัญ
การปรับปรุ ง/ผลการพัฒนาทีส่ าคัญ
งานซักฟอก จ่ายกลาง
ให้บริ การเครื่ องมือปราศจากเชื้อ
เพียงพอ พร้อมใช้
ระบบสารองเครื่ องมือ
ระบบ First in first out
ลดการ Re sterile เครื่ องมือ
ระบบ Central supply
กาหนดเส้นทางเดิน เวลาในการส่ งของ Sterile
ผลลัพธ์ ไม่พบการติดเชื้อ Spore test ผ่านการทดสอบ
3 p ในระบบงานที่สาคัญ
ระบบงาน
เป้าหมายสาคัญ
การปรับปรุ ง/ผลการพัฒนาทีส่ าคัญ
ขีดความสามารถและ
ความสามารถ
ให้มีบุคลากรมีความรู้
ความสามารถ
กาหนดนโยบายและสนับสนุนทรัพยากรในการพัฒนาบุคลากร โดยมอบหมายให้หวั หน้า
หน่วยงานจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล มีการประเมินผลการพัฒนาโดยหัวหน้า
หน่วยงาน มีแนวทางการคัดเลือก สรรหา ว่าจ้างบุคลากร มีการมอบหมายงานตาม
ความรู ้ความสามารถ ให้อานาจในการตัดสิ นใจ เปิ ดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่ วมในการ
พัฒนางาน
บรรยากาศในการทางาน
สถานที่ทางานมีปลอดภัย
จัดสถานที่ทางานให้เป็ นสัดส่ วน มีการประเมินสถานที่ทางานตามมาตรฐานวิศกรรม
ความปลอดภัย
สุ ขภาพบุคลากร
บุคลากรมีสุขภาพดี
มีการตรวจสุ ขภาพ ตรวจสมรรถภาพทางกาย สร้างเสริ มภูมิคุม้ กันโรคในบุคลากรกลุ่ม
เสี่ ยง พบว่าบุคลากรกลุ่มเสี่ ยงได้รับการเข้าค่ายสุ ขภาพ ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่ม
ป่ วยได้รับการรักษา มีสถานที่ออกกาลังกาย มีการจัดงานสังสรรค์รื่นเริ งตามฤดูกาล
ความเพียงพอของ
บุคลากร
มีบุคลากรเพียงพอ
มีการใช้ ภาระงานและ FTE ในการจัดอัตรากาลัง
พบว่าอัตรากาลังในวิชาชีพหลักขาดแคลน ต้องทางานติดต่อกัน 8-16 ชม. บุคลากรที่มี
อายุมากยังต้องปฏิบตั ิงานเวรผลัด
การบริ หารงานบุคคล
3 p ในระบบงานที่สาคัญ
ระบบงาน
เป้าหมายสาคัญ
การปรับปรุ ง/ผลการพัฒนาทีส่ าคัญ
การบริ หารจัดการ
สิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ
และเครื่ องมือ
ผูร้ ับบริ การมีความปลอดภัย
มีการจัดทาทางลาดชัน ติดกริ่ งราวในห้องน้ า ห้องส้วม มีการตีเส้น จัดระบบจราจรภายในบริ เวณ
รพ. มีการติดไฟส่ องสว่าง ปิ ดกล้องวงจรปิ ดในหน่วยงานที่มีความเสี่ ยงสู ง
มีการสอบเทียบเครื่ องมือร่ วมกับศูนย์วทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ พบจานวน 2 รายการที่สอบเทียบไม่ผา่ น
เกณฑ์มาตรฐาน มีการซ้อมแผนรับอุบตั ิเหตุ อุบตั ิภยั ปี ละครั้ง
3P ในประเด็นเชิงยุทธศาสตร์
กลยุทธ์
เป้าหมายสาคัญ
การปรับปรุ ง/ผลการพัฒนาทีส่ าคัญ
พัฒนาบริ การสุ ขภาพแบบองค์รวม
และผสมผสาน ให้มีประสิ ทธิภาพ
ระบบบริ การสุ ขภาพแบบองค์รวมและ
ผสมผสานมีประสิ ทธิภาพ
1.กาหนดกลุ่มผูป้ ่ วยเป้ าหมายได้แก่ โรคที่มีความเสี่ ยงสู ง นอนนาน
ค่าใช้จ่ายสู ง โรคเรื้ อรัง มีการทบทวนแนวทางการดูแลผูป้ ่ วย ติดตาม
เครื่ องชี้วดั รายเดือน
2. ทบทวน 12 กิจกรรมขณะดูแลผูป้ ่ วย หากพบอุบตั ิการณ์ ทาการ
ทบทวนแบบไม่เป็ นทางการ
พัฒนาระบบบริ หารจัดการด้าน
การเงิน
ลดความเสี่ ยงด้านการเงิน
ตรวจสอบการบันทึกบัญชี
จัดการระบบหนี้ให้เป็ นปั จจุบนั
เร่ งรัดการจัดเก็บรายได้ มีแผนการตลาด
ขยายบริ การนอกเวลาทันตกรรม แผนไทย แก่ขา้ ราชการ
มีแผนควบคุมค่าใช้จ่าย ติดตามประเมินผลทุกเดือน ประเมินแผนการ
เงินการคลังทุก 3 เดือน
การบริ หารความเสี่ ยง (การตอบสนองอุบตั ิการณ์)
อุบัติการณ์
RCA
การปรับปรุ งระบบงาน
ใบเสร็ จรับเงินสู ญหาย
ความละเอียด รอบคอบ
การรับ ส่ งใบเสร็ จรับเงิน
การตรวจสอบ
การเก็บรักษา
จัดทาแนวทางการรับ ส่ งใบเสร็ จรับเงิน
มีการตรวจสอบก่อนรับ ส่ ง ทุกครั้ง
แยกใบเสร็ จรับเงินทุกหน่วยงานที่ออกใบเสร็ จรับเงินและให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเก็บรักษาใบเสร็ จรับเงิน
ผลลัพธ์ ไม่พบการสู ญหาย
ขโมยทรัพย์สิน
การเก็บรักษาทรัพย์สินมีค่า
สถานที่มืด เปลี่ยว
ความถี่ในการตรวจตราของ รภฟ.
ทบทวนมาตรการป้ องกัน
ติดเหล็กดัด เพิม่ ไฟส่ องสว่าง ติดตั้งกล้องวงจรปิ ด
ปิ ดป้ ายประกาศเตือนการเก็บรักษาสิ่ งของมีค่าแก่
ผูร้ ับบริ การทราบ
เพิ่มความถี่ในการตรวจตราของเวรยาม
การบริ หารความเสี่ ยง (การตอบสนองอุบตั ิการณ์)
อุบัติการณ์
RCA
การปรับปรุ งระบบงาน
ไฟไหม้กาต้มน้ า
ความรอบรอบ
ภาระงาน
ความตระหนัก
ทบทวนมาตรการป้ องกัน
ทบทวนการบริ หารอัตรากาลัง การจัดอัตรากาลัง
เพิ่มการตรวจตราของหัวหน้าเวร
การให้ยาผิดพลาด
ความละเอียด รอบคอบ
การทบทวนคาสัง่ ใช้
การจัดยา
การบริ หารยา
ทบทวนแนวทางการใช้ยาตามหลัก 5 R
ให้ทบทวนการสัง่ ใช้ยาก่อนบริ หารยาทุกครั้ง
พัฒนาบุคลากรโดยทีม PTC
มีการสอนงาน ฝึ กปฏิบตั ิงานคู่กบั พี่เลี้ยง
ระบบ Double check โดยเภสัชกร
การจ่ายยา ให้แยกขนาด แยกขวดให้ชดั เชน
ปรับการจ่ายยา Dali Dose, เภสัชกรร่ วมตรวจเยีย่ มผูป้ ่ วย
ใช้ระบบ HosXP,มีระบบ Cross Check ระหว่างพยาบาลและ
เภสัชกร,มีระบบการสารองยา,มีระบบ High Alert Drug
ระบบบริ หำรควำมเสี่ ยง
โอกสพัฒนา
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
วัฒนธรรมความปลอดภัย
มีกาส่ งต่อความเสี่ ยงในการรับ-ส่ งเวรประจาวัน มีการตรวจตราความเสี่ ยงโดยหัวหน้าหน่วยงานในช่วง
เช้าก่อนการปฏิบตั ิงาน ให้อานาจหัวหน้าหน่วยงาน หัวหน้าเวรในการแก้ไขความเสี่ ยงเบื้องต้น
การระบุ/บ่งชี้ความเสี่ ยง
มีการจัดทา Risk profile ในทุกระดับ ทั้งระดับรพ.และระดับหน่วยงาน
มีการกาหนดคาจากัดความของความเสี่ ยง แยกโปรแกรมความเสี่ ยง 8 โปรแกรม 6 ระดับ กาหนด
ช่องทางการรายงานความเสี่ ยง มีการพัฒนาโปรแกรมการรายงานความเสี่ ยงผ่าน Hos XP
การจัดทารายการความเสี่ ยงยังไม่ครอบคลุม
การกาหนดมาตรการป้ องกัน
มีการวางมาตรการป้ องกันความเสี่ ยงแยกรายโปรแกรม ผลลัพธ์ บุคลากรยังเข้าใจไม่ตรงกัน ได้ทบทวน
มาตรการป้ องกันเป็ นระยะๆ
การรายงานอุบตั ิการณ์
บุคลากรยังขาดความตระหนักในการรายงานความเสี่ ยง ได้กาหนดให้ การรายงานความเสี่ ยงเป็ นภาระงาน
หน้าที่รับผิดชอบของบุคลากรทุกคน เพื่อใช้ประกอบการประเมินการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
การเรี ยนรู้จากอุบตั ิการณ์
สื บเนื่องจากระบบการบริ หารจัดการความเสี่ ยงเป็ นแบบเชิงรับ การตอบสนองล่าช้า จึงเกิดเหตุการณ์ซ้ า
เช่นใบเสร็ จรับเงินหาย โจรลักขโมย การรายงานความเสี่ ยงยังไม่ครบถ้วน ครอบคลุม จึงควรกาหนดให้
เป็ นภาระงานของบุคลากรทุกคน
ระบบบริ หำรควำมเสี่ ยง
โอกาสพัฒนา
การติดตามแนวโน้มของอุบตั ิการณ์
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
การติดตามแนวโน้มความเสี่ ยงแยกรายโปรแกรม แต่ทาไม่ต่อเนื่อง /สม่าเสมอ ขาดการบริ หารความเสี่ ยง
เชิงรุ ก เห็นควรให้ทีมนาไปทบทวนร่ วมกัน
Patient safety Goals
Goals
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง
ผลลัพธ์
การระบุตวั ผูป้ ่ วย
มีการสอบถาม ชื่อ สกุลทุกครั้งในการให้บริ การ
ผป.นอก มีการระบุตวั ผูป้ ่ วยอย่าน้อย 2 วิธี (ชื่อ สกุล/บัตรประชาชน
บัตรประจาตัวผูป้ ่ วย)
ผป.ในระบุตวั ผูป้ ่ วย โดยใช้ป้ายข้อมือ ป้ ายหน้าเตียง หน้าห้องผูป้ ่ วย
ห้องคลอดระบุตวั ผูป้ ่ วย โดยใช้ชื่อ มารดาผูใ้ ห้กาเนิด
Infection
ใส่ สายสวนปั สสาวะเมื่อมีขอ้ บ่งชี้ทางการแพทย์
ใช้ Sterile technic ในการใส่ สายสวนปั สสาวะ
มีแนวทางการดูแลผูป้ ่ วยใส่ สายสวนปั สสาวะ
มีการประเมินการติดเชื้อทุกวัน
ไม่พบผูป้ ่ วยติดเชื้อจากสายสวนปั สสาวะ
Medication
มีการควบคุม/ทบทวนให้ปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบริ หารยา
ยกเลิก Card ยา ,Kardex ,ปรับปรุ งใบ Mar
ใช้ Infusion pump ในการให้ยา HAD
มีการทบทวนการใช้ยา HAD ร่ วมกับ PCT และติดตาม กากับ
เภสัชกรตรวจเช็คยาทุกวัน
ปรับระบบการดูแลผูป้ ่ วยแบบเจ้าของไข้
ปรับการจ่ายยา Dali Dose, เภสัชกรร่ วมตรวจเยีย่ มผูป้ ่ วย
ใช้ระบบ HosXP,มีระบบ Cross Check ระหว่างพยาบาลและ
เภสัชกร,มีระบบการสารองยา
มีแนวทางการใช้ยา HAD
ผลลัพธ์ Medication error ผป.นอก 1.81 /1000 ใบสั่งยา ไม่มีระดับ
E
Medication error ผป.ใน 9.12 /1000 วันนอน
Patient safety Goals
Goals
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง
การรับ Order ทางโทรศัพท์
มีการทบทวนคาสั่งและบันทึกคาสั่งทันทีทุกครั้ง
ให้มีการบันทึกลงใน Doctor Order Sheet โดยเขียน รคส.พร้อมลง
ชื่อผูส้ ั่งการรักษาทุกครั้ง ระบุวนั ที่ เวลา ชื่อผูร้ ับคาสั่ง ให้ชดั เจน
กรณี เป็ น Standing Order สามารถสั่งการรักษาได้โดยไม่ตอ้ งทวน
คาสั่ง
กรณี สั่งการใช้ยาให้บนั ทึกชื่อยา ขนาด ความเข้มข้นจานวน
วิธีการใช้/ช่องทาง เวลาในการให้ยาให้ครบถ้วน
การรายงานผลค่าวิกฤติ
กาหนดผูร้ ับผิดชอบในการรายงานผลค่าวิกฤติคือ แพทย์ พยาบาล
จนท.งานชันสู ตร
ระยะเวลารอคอยการรายงานค่าวิกฤติแก่แพทย์เจ้าของไข้ ภายในเวลา
ไม่เกิน 15 นาที
มีแนวทางในการดูแลผูป้ ่ วยที่มีค่าวิกฤติ
ผลลัพธ์
Patient safety Goals
Goals
Hand hygience
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง
ผลลัพธ์
จัดให้มีสบู่เหลว และผ้าเช็ดมือ ในหน่วยบริ การผูป้ ่ วย
จัดให้มี Waterless ห้องตรวจโรค ห้องทาหัตถการ รถตรวจผูป้ ่ วย
จัดให้มีอ่างล้างมือ ที่ผรู ้ ับบริ การเข้าถึงได้สะดวก
ติดโปสเตอร์ แสดงขั้นตอนการล้างมือ 7 ขั้นตอน
ผลการประเมินปี 2555 ล้างมือถูกต้อง ทุกขั้นตอน 78 %
ปี 2556 ล้างมือถูกต้อง ทุกขั้นตอน 88 %
การป้ องกันการติดเชื้อ
โอกาสพัฒนา
Standard precuation
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
มีแนวทางในการปฏิบตั ิงาน ในการคัดแยกผูป้ ่ วย การจัดโซนนิ่ง การคัดแยกขยะ การสวมชุดป้ องกัน มีการ
ติดตาม ควบคุม กากับโดย ICWN ทุกสัปดาห์ พบมีบุคลากรโดนเข็มทิ่มตาจากการไม่ปฏิบตั ิตามแนวทาง
จานวน 2 ราย ดีรับการดูแลตามขั้นตอน
การทาลายเชื้อและทาให้ปราศจาก
ล้างอุปกรณ์ดว้ ยน้ า ผงซักฟอก แล้วล้างด้วยน้ าสะอาด นาไปนึ่งใน Autoclave
เชื้อ
Re-sterile เครื่ องมือทุก 7 วัน สาหรับเครื่ องมือที่มีอตั ราการใช้นอ้ ยใช้ซองซิ ลแทน Re- sterile ทุก 3 เดือน
การจัดการสิ่ งที่ปนเปื้ อนเชื้อโรค
การส่ งเสริ มการล้างมือ
ผ้าเปื้ อนเหงื่อไคล ซักด้วยผงซักฟอก ผ้าเปื้ อนเลือด สารคัดหลัง่ ซักล้างสิ่ งสกปรกออกก่อน แล้วจึงซักต่อด้วยน้ าร้อน
อุณหภูมิ 70 องศาซี มีโรงพักขยะที่ถูกสุ ขลักษณะ มีที่สาหรับล้างอุปกรณ์เก็บและขนขยะ รถขนขยะได้มาตรฐาน
มีบุคลากรเก็บขยะโดยเฉพาะ มีบริ ษทั เอกชนมาดาเนินการรับขยะไปกาจัดปั ญหาการกาจัดขยะประเภทขวดยาฉีดมี
น้ าหนักมากจึงมีค่าใช้จ่ายสู ง
ติดโปสเตอร์ วธิ ี การล้างมือที่อ่างล้างมือ จัดหาน้ ายา / ผ้าเช็ดมือ ให้เพียงพอ จัดทาอ่างล้างมือให้เพียงพอทั้งในอาคาร
และนอกอาคารสาหรับผูป้ ่ วยและญาติจดั หาน้ ายาล้างมือ waterless ไว้กรณี ที่ไม่มีอ่างล้างมือ หรื อไม่สะดวกที่จะเดิน
ไปล้างมือประเมินการล้างมือของบุคลากรปี ละ 2 ครั้ง ผลการประเมินปี 2555 ล้างมือถูกต้อง ทุกขั้นตอน 78 %ปี
2556 ล้างมือถูกต้อง ทุกขั้นตอน 88 %
กำรป้ องกันกำรติดเชื้อ
โอกาสพัฒนา
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
ความสะอาดจากพื้นที่ปนเปื้ อน
มีการกาหนดพื้นที่สะอาดและพื้นที่ปนเปื้ อน แต่ยงั ไม่ครอบคลุมทุกจุด คือห้องอุบตั ิเหตุ-ฉุ กเฉิ นยังไม่มีหอ้ งสังเกต
อาการ ห้องพ่นยาแยกเป็ นสัดส่ วนมีเส้นทางการขนส่ งสิ่ งของสะอาดและของสกปรกและมีการกาหนดเวลาขนส่ งสิ่ งของ
ชัดเจน
จุดที่มีโอกาสแพร่ กระจายเชื้อทาง
อากาศ
กาหนดแนวทางปฏิบตั ิในผูป้ ่ วยที่เสี่ ยงต่อการแพร่ กระจายเชื้อทางอากาศ โดยการให้ผปู ้ ่ วยสวมMask และผูใ้ ห้บริ การ
ปฏิบตั ิตามหลัก Standard precautionจัดให้มี จนท .คัดกรองที่จุดคัดกรองก่อนทาบัตรผูป้ ่ วยวัณโรคมาตามนัด มีจุดให้
ผูป้ ่ วยนัง่ รอพบแพทย์ มีอ่างล้างมือบริ เวณทางขึ้นตึกผูป้ ่ วยนอก
ผูป้ ่ วยในมีหอ้ งแยกโรคแบบ Negative pressure 1 ห้อง ห้องแยกโรคโดยใช้พดั ลมดูดอากาศ 4 เตียง ผ่านการประเมิน
ตามมาตรฐานวิสกรรมความปลอดภัย
การปนเปื้ อนในสิ่ งแวดล้อม
มีระบบบาบัดน้ าเสี ยแบบการใช้จุลินทรี ยใ์ นการย่อยสลาย แต่น้ าเสี ยไม่ได้ปล่อยออกสู่ ชุมชนเพราะน้ าที่ผา่ นการบาบัด
แล้วจะนามาใช้รดต้นไม้ของ รพ. ส่ งกรวดน้ าเสี ยจากบ่อบาบัดปี ละ 2 ครั้ง ปี 2556 ยังไม่ได้ส่งตรวจน้ าเสี ยที่ผา่ นการ
บาบัด
กำรป้ องกันกำรติดเชื้อ
โอกาสพัฒนาในพืน้ ทีเ่ ฉพาะ
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
ห้องคลอด
การแยกโซนผูป้ ่ วยรอคลอดและหลังคลอด มีทางเข้าออกแบบทางเดียว ในกรณี มารดาหรื อทารกป่ วยแยกโซนต่างหาก
ห้องผ่าตัด
มีหอ้ งผ่าตัดห้องเดียว ผ่าตัดเฉพาะทาหมันหญิง ส่ วนผ่าตัดเล็กบริ การที่แผนกอุบตั ิเหตุฉุกเฉิ น
หน่วยซักฟอก
จัดเส้นทางเดินของสะอาดและปนเปื้ อนแยกจากกัน กาหนดเวลาขนส่ งให้ชดั เจน มีแนวทางในการป้ องกันการแพร่ กระจาย
เชื้อในการซักผ้า การแยกผ้า การแช่ผา้ การซักผ้า
หน่วยจ่ายกลาง
กาหนดเวลาขนส่ งให้ชดั เจน มีแนวทางในการป้ องกันการแพร่ กระจายเชื้อในการซักผ้า การแยกผ้า การแช่ผา้ การซักผ้า
ระบบ Central supply กาหนดวันเดือนปี หมดอายุ การจัดเก็บในหน่วยงานใช้ระบบ First in First out ตรวจเชคอุปกรณ์
เครื่ องมือโดยหัวหน้าหน่วยงาน
โรงครัว
ยังไม่มีหอ้ งผลิตอาหารสายยาง กาหนดเวลาในการผลิตอาหาร จัดโซนนิ่งในการประกอบอาหาร กาหนดทางเข้าออกของ
วัตถุดิบและอาหารปรุ งสุ ก ผ่านการตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานโรงอาหารของโรงพยาบาล
ผูป้ ่ วยนอก
มีการจัดโซนนิ่งผูป้ ่ วยระบบทางเดินหายใจ ให้ใส่ หน้ากากอนามัยในกลุ่มเสี่ ยง มีที่นงั่ รอตรวจหลังห้องฉุ กเฉิ น มีอ่างล้างมือ
น้ ายาล้างมือ
การป้ องกันการติดเชื้อ
การติดเชื้อ
อัตราการติดเชื้อ
การปรับปรุ ง/มาตรการป้องกันที่ใช้ ปฏิบัติ
สายสวนปัสสาวะ
ปี 2554-2556 ไม่พบการติดเชื้อสายสวน
ปัสสาวะ
ใส่ สายสวนปั สสาวะเมื่อมีขอ้ บ่งชี้ทางการแพทย์
ใช้หลัก Sterile technic ในการใส่ สายสวนปั สสาวะ
มีแนวทางการดูแลผูป้ ่ วยใส่ สายสวนปั สสาวะ
มีการประเมินการติดเชื้อทุกวัน
แผลฝี เย็บ
ปี 2554-2555 ไม่พบการติดเชื้อแผลฝี เย็บ พัฒนาบุคลากรโดยการสอน สาธิ ตและปฏิบตั ิงานคู่กบั พี่เลี้ยง
ปี 2556 พบการติดเชื้อ 2 ราย
ให้บริ การโดยยึดหลัก Sterile technic
ทบทวนการดูแลผูป้ ่ วยโดยหัวหน้าหน่วยงาน
ติดตาม ประเมินผล
แผลสะดือเด็ก
ปี 2554-2555 พบการติดเชื้อ 1 ราย
ปี 2556 ไม่พบการติดเชื้อ
พัฒนาบุคลากรโดยการสอน สาธิ ตและปฏิบตั ิงานคู่กบั พี่เลี้ยง
ให้บริ การโดยยึดหลัก Sterile technic
ทบทวนการดูแลผูป้ ่ วยโดยหัวหน้าหน่วยงาน
ติดตาม ประเมินผล
การป้ องกันการติดเชื้อ
การติดเชื้อ
อัตราการติดเชื้อ
การปรับปรุ ง/มาตรการป้องกันที่ใช้ ปฏิบัติ
สายน้ าเกลือ
ปี 2554-2556 ไม่พบการติดเชื้อ
กาหนดระยะเวลาในการเปลี่ยน Set IV เปลี่ยนตาแหน่งในการให้สารน้ า
ประเมินอาการการติดเชื้อทุกเวร
อุบตั ิเหตุสารคัดหลัง่
กระเด็น/เข็มทิ่มตา
ปี 2556 พบสัมผัสสารคัดหลัง่ 1 ราย
เข็มทิ่มตา 3 ราย
สาเหตุเกิดจากการไม่ปฏิบตั ิตามแนวทาง ไม่สวมชุดป้ องกัน
ได้ทบทวนแนวทางการปฏิบตั ิ
ให้วคั ซี นป้ องกันโรค ให้การรักษาตามความเหมาะสม
ติดตามประเมินผล
ระบบกำรจัดกำรด้ำนยำ (กำรสัง่ ใช้และกำรจัดเตรี ยมยำ)
โอกาสพัฒนา
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
ปั ญหาเกี่ยวกับการสั่งใช้ยา
การสั่งใช้ยาไม่สัมพันธ์กบั อาการ จานวนยาขาดหรื อเกิน การสั่งใช้ยาสมุนไพรยังมีนอ้ ย แนวทางปฏิบตั ิใน
การรักษาไม่เป็ นไปในแนวทางเดียวกัน แนวทางแก้ไข เภสัชกรปรึ กษาหารื อกับแพทย์เจ้าของไข้เป็ นรายๆไป
ทบทวนแนวทางในการใช้ยาสมุนไพรร่ วมกับทีมนาทางคลินิก
มีการประเมินการใช้ยาปฏิชีวนะ DUE ADR กาหนดรายการยามีแนวทางการใช้ และติดตามประเมินผล
HAD
ปั ญหาเกี่ยวกับการถ่ายทอดคาสั่ง
ผูป้ ่ วยนอก แพทย์ผสู ้ ั่งใช้ยาพิมพ์คาสัง่ การรักษาผ่านระบบ Hos XP ในกรณี การสั่งการรักษาอย่างเร่ งด่วน
เขียนในใบสื่ อสารระหว่างหน่วยงาน ผูป้ ่ วยในแพทย์เขียนคาสั่งการรักษาในใบ Docter order sheet เภสัชกร
คัดลอกคาสั่งลงในโปรแกรม Hos XP เภสัชจัดยาไปยังแผนกผูป้ ่ วยใน มีระบบ Double check ระหว่าง
พยาบาลและเภสัชกร
การเข้าถึงเภสัชสนเทศ
จัดให้มีเภสัชกรบริ การผูป้ ่ วยทั้งในและนอกเวลาราชการตั้งแต่เวลา 08.00-24.00 น. เภสัชกรมีหน้าที่ในการให้
ข้อมูลทางยาแก่บุคลากรทุกระดับ มีช่องทางการสื่ อสารทั้งระบบ Intranet / Internet
มีแนวทางขอคาปรึ กษาด้านยาทั้งในและนอกเวลาราชการ โทรศัพท์ขอคาปรึ กษาด้านยาตลอด 24 ชม. จัด
ประชุมวิชาการประจาปี
ระบบกำรจัดกำรด้ำนยำ (กำรสัง่ ใช้และกำรจัดเตรี ยมยำ)
โอกาสพัฒนา
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
การเข้าถึงข้อมูลผูป้ ่ วย
ไม่สามารถดูประวัติการรักษาผูป้ ่ วยเอดส์ในรายที่ไม่เปิ ดเผยได้ แนวทางการแก้ไข โทรศัพท์ประสานงานไปยัง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ระบบ Drug reconcile
ผูป้ ่ วยโรคเรื้ อรัง เบาหวาน ความดันโลหิ ตสู ง หอบหื ด COPD แนะนาให้ผปู้ ่ วยนายาเดิมมาด้วยทุกครั้ง มีแนวทาง
ในการคัดลอกยาเดิม การรักษาต่อเนื่องในสมุดประจาตัวผูป้ ่ วย พบว่า ผูป้ ่ วยไม่ทราบชื่อยา ขนาด ไม่ได้นายาเดิมมา
ด้วย
Predispensing error
มีแนวทางในการปฏิบตั ิงานโยให้ใช้ชื่อสามัญทางยา จัดแยกยา LASA มีระบบเตือน สัญญาณเตือนโดยใช้
สติ๊กเกอร์ สีสะท้อนแสงสาหรับยา HAD
การเลือกซื้ อยาที่สีต่างกัน เพื่อป้ องกันการจัดยาผิด มีระบบ Double check ก่อนจ่ายยา พบว่ายังมีการจ่ายยาผิดขนาน
Medication error
มีแนวทางในการบริ หารยา มีสัญญาณเตือนการแพ้ยา Drug Interaction ในโปรแกรม Hos XP ผูป้ ่ วยใน แพทย์
เขียนคาสั่งการรักษาในใบ Docter order sheet เภสัชกรคัดลอกคาสั่งลงในโปรแกรม Hos XP เภสัชจัดยาแบบ
Daily dose ไปยังแผนกผูป้ ่ วยใน มีระบบ Double check ระหว่างพยาบาลและเภสัชกร
การบริ หารยา ยกเลิกการใช้ Card ยา ใช้ใบ MAR ในการบริ หารยาแทน พบว่ายังมีการให้ยาผิดเวลา ลืมให้ยา
ผูป้ ่ วย ให้ยาผิดขนาด
การบริ หารยาและการติดตามผล
โอกาสพัฒนา
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
ADR
มีการบันทึกประวัติการแพ้ยาในโปรแกรม Hos XP โดยเภสัชกร ออกบัตรแพ้ยาให้แก่ผปู ้ ่ วย
มีการส่ งต่อข้อมูลการแพ้ยาไปยังรพ.สต. มีสัญญาณเตือนการแพ้ยาในโปรแกรม Hos XP ผูป้ ่ วยในเภสัชกรเขียน
ชื่อยาที่แพ้ใน Docter order sheet
การให้ขอ้ มูลผูป้ ่ วย
เภสัชกร แพทย์แผนไทย เป็ นผูแ้ นะนาการใช้ยาแก่ผปู ้ ่ วยในและผูป้ ่ วยนอก รวมทั้งแจ้งการเปลี่ยนแปลงลักษณะ
ของยา ในคลินิกโรคเรื้ อรัง โรคเอดส์ วัคซี น มีเภสัชกรรับผิดชอบในการบริ หารจัดการยา ระดับรพ.สต.มี
เภสัชกร แพทย์แผนไทยประยุกต์ ออกให้บริ การในรพ.สต.แม่ข่ายร่ วมกับทีมสหวิชาชีพในวันหยุดราชการ
การติดตามผลการใช้ยา
ผูป้ ่ วยนอก ติดตามการใช้ยาโดยเภสัชกร ผูป้ ่ วยใน ติดตามประเมินผลโยทีม PTC มีแนวทางในการติดตาม
ประเมินผลการใช้ยา HAD ยาที่มีค่าใช้จ่ายสู ง ยาที่ใช้มาก ยาปฏิชีวนะที่เสี่ ยงต่อการดื้อยา พบว่า ผูป้ ่ วยทานยา
ARV ไม่ถูกต้อง
การรายงานเมื่อเกิดปั ญหา
มีการรายงานผลการใช้ยาในหน่วยงานทุกเดือน การรายงานตามลาดับขั้น มีการทบทวนแนวทางร่ วมกับทีมสห
วิชาชีพ
Inform consent
โอกาสพัฒนา
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
กลุ่มผูป้ ่ วยที่มีปัญหาในการรับรู้และ
เข้าใจ
ผูป้ ่ วยพิการทางสมอง หูหนวก ใบ้ ,มะเร็ งระยะสุ ดท้ายที่ไม่ทราบ__>แนวทางการสื่ อสารให้ผปู้ ่ วยที่มีปัญหา
การสื่ อสาร
ข้อมูลที่สาคัญที่ผปู้ ่ วยต้องได้รับทราบ
การวินิจฉัยโรค พยากรณ์โรค แนวทางการรักษา แนวทางการให้ขอ้ มูลก่อนนอนรพ.
ข้อมูลที่แพทย์ตอ้ งให้ผปู้ ่ วยด้วยตนเอง
การวินิจฉัยโรค พยากรณ์โรค แนวทางการรักษา แนวทางการให้ขอ้ มูลก่อนนอนรพ.
หัตถการที่ควรทาสื่ อพิเศษ
ทาหมัน สื่ อรู ปภาพ VDO
ข้อมูลที่ควรบันทึกในInform consent
ตามเกณฑ์ของสปสช
กำรประเมินผูป้ ่ วย
โอกาสพัฒนา
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
ระบบที่มกั เป็ นปัญหาประเมิน(Hx/PE) AMI, head injury,เมาสุ รา  CPG โรคเสี่ ยง
ไม่ครอบคลุม
การระบุปัญหาและความต้องการที่
สาคัญ/เร่ งด่วน
AMI, head injury,PPH  ปฏิบตั ิตาม CPG / ทบทวน
มิติองค์รวมที่มกั ประเมินไม่สมบูรณ์
ด้านจิตใจ ประเมินภาวะซึ มเศร้า เครี ยด ในกลุ่มผูป้ ่ วยเรื้ อรัง
CPG ที่มีโอกาสนามาใช้ในการ
ประเมิน
AMI, stroke, head injury, asthma, DM HT->ทบทวน CPG โดยทีมสหวิชาชีพ
กลุ่มผูป้ ่ วยที่ตอ้ งมีการประสานที่ดีใน
การประเมิน
DM HT stroke, HI injury_> progressnote , การส่ งต่อ
กลุ่มโรคที่มกั มีปัญหาประเมินล่าช้า/
ไม่ถูกต้อง
AMI, stroke, multiple injury ->ทบทวน CPG / ทบทวน case
กำรประเมินผูป้ ่ วย
กลุ่มผู้ป่วย
ปัญหาเฉพาะ
การออกแบบแนวทางการประเมิน
อายุนอ้ ยมาก
การประเมินยาก ต้องดูแลใกล้ชิด
ประเมินการดูแลบุตร
สู งอายุมาก
ผูป้ ่ วยดูแลตัวเองน้อย ต้องมีผดู ้ ูแล โรคร่ วมมาก
การประเมินโรคในผูส้ ู งอายุ
การประเมินความรู้และความพร้อมของผูด้ ูแล
ระยะสุ ดท้าย
ผูป้ ่ วยไม่ทราบโรค ญาติไม่เข้าใจ prognosis โรค
ประเมินการรับรู้โรค ของผูป้ ่ วยและญาติ
หญิงเจ็บท้องคลอด
วิตกกังวลในการคลอด
ประเมินความเข้าใจ ในการคลอด
ผิดปกติทางจิตใจ
ความรู ้ความเข้าใจของผูด้ ูแล การรักษาไม่ต่อเนื่อง
ประเมินทางจิตใจของผูด้ ูแล
สงสัยว่าจะติดยา/สุ รา
ไม่ให้ความร่ วมมือในการบาบัด ไม่ตระหนักถึงพิษ
ภัย
Family therapy ภาคีมีส่วนร่ วม
กำรประเมินผูป้ ่ วย
กลุ่มผู้ป่วย
ปัญหาเฉพาะ
การออกแบบแนวทางการประเมิน
เหยือ่ ที่ถูกกระทาทารุ ณ
การรักษาความปลอดภัย
ประเมินแบบองค์รวม ร่ วมกับเครื อข่ายอื่น
พยายามฆ่าตัวตาย
เสี่ ยงต่อฆ่าตัวตาย
ประเมิน 2Q 9Q ในผูป้ ่ วยโรคเรื้ อรัง ซึ มเศร้า พิการ ทุกราย
ถูกข่มขืน
ปกปิ ดข้อมูล
แนวทางการรักษาความลับผูป้ ่ วย และแนวทางการดูแลผูป้ ่ วย
กำรวินิจฉัยโรค
โอกาสพัฒนา
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
การวินิจฉัยโรคที่ไม่เฉพาะเจาะจง
Fever/ abdominal pain/Head injuryทบทวนการให้รหัสถูกหลัก ICD 10
มีการ Audit เวชระเบียนโดยทีมสหวิชาชีพ Approve โดยแพทย์เจ้าของไข้
โรคที่มีโอกาสวินิจฉัยผิด
AMI stroke head injury appendicitis__> แนวทางการส่ งต่อ รับกลับร่ วมกับรพ.แม่
ข่าย
โรคที่มีโอกาสวินิจฉัยคลาดเคลื่อน
MI stroke head injury appendicitis
โรคที่มีโอกาสวินิจฉัยล่าช้า
Sepsis, DF __> พัฒนา CPG
ภาวะที่แต่ละวิชาชีพวินิจฉัยไม่สอดคล้องกัน
Acute MI, stroke
ภาวะสาคัญที่มกั จะมิได้รับการวินิจฉัย
sepsis
การวางแผนการดูแลผูป้ ่ วย
โอกาสพัฒนา
การปฏิบตั ิ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
โรคที่ตอ้ งวางแผนดูแลร่ วมกัน
Stroke , DM_> ใช้ CPG/progress note
ปั ญหาของผูป้ ่ วยที่มกั ไม่มีแผนดูแล/ไม่ได้รับการดูแล
 ประเมินผูป้ ่ วยก่อน D/C ระบบการส่ งต่อข้อมูล
โรคที่ควรใช้ขอ้ มูลวิชาการเป็ นแนวทางการดูแลเพิ่มขึ้น
การวางแผนการจาหน่าย
โอกาสพัฒนา
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
โรคที่ควรมีแผนจาหน่ายในรู ปแบบ Care map
ล่วงหน้า
ผูป้ ่ วย Stroke มีการประเมินปัญหา ความต้องการของผูป้ ่ วยแบบองค์รวมเพื่อการดูแล
ต่อเนื่อง
กลุ่มผูป้ ่ วยที่มกั พบและสามารถรับรู ้ปัญหาหลัง
จาหน่ายได้ต้ งั แต่แรกรับ
Stroke , Old CVA ,DM พัฒนาทักษะผูด้ ูแล ในการดูแลผูป้ ่ วยเพื่อป้ องกันภาวะแทรกซ้อน
การเตรี ยมความพร้อมผูป้ ่ วยและครอบครัวที่จาเป็ น
การป้ องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนเรื่ องแผลกดทับ การเคลื่อนย้ายผูป้ ่ วย การฟื้ นฟู
สมรรถภาพร่ างกาย การให้อาหารทางสายยาง การป้ องกันการสาลัก
กำรวำงแผนกำรดูแลผูป้ ่ วย
โอกาสพัฒนา
การปฏิบตั ิ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
โรคที่ควรให้ผปู้ ่ วย/ครอบครัวมีส่วนร่ วมใน
การตัดสิ นใจ
มะเร็ งระยะสุ ดท้าย ไตวายระยะสุ ดท้าย
 การให้ขอ้ มูลผูป้ ่ วยและญาติ
โรคที่มกั ต้องมีการทบทวนและปรับแผนการ
ดูแล
DM poor control stroke
 ประเมินโดยทีมเยีย่ มบ้าน การดูแลผูป้ ่ วยเฉพาะราย
กำรดูแลผูป้ ่ วยที่มีควำมเสี่ ยงสูง
ผู้ป่วย/บริการทีเ่ สี่ ยงสู ง
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
ผูป้ ่ วยโรคติดต่อ
ห้องแยก /universal precaution
ผูป้ ่ วยที่มีภูมิคุม้ กันต่า
ห้องแยกปลอดเชื้อ
ผูป้ ่ วยที่ถูกผูกยึด
แนวทางการปฏิบตั ิ
ผูส้ ู งอายุ
การประเมินภาวะเสี่ ยง และผูด้ ูแล
ผูป้ ่ วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
ป้ องกัน bedsore
การให้เลือด
แนวทางการให้เลือด/ การดูแลเมื่อแพ้เลือด
กระบวนการดูแลผูป้ ่ วย การลดอุปสรรคต่อการเข้าถึง
อุปสรรคต่ อการเข้ าถึง
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
โรคที่ไม่สามารถให้บริ การได้
โรคที่ตอ้ งรักษาโดยแพทย์เฉพาะทาง โรคศัลยกรรม ผูป้ ่ วยหนัก มีแนวทางในการดูแลรักษาเบื้องต้น พัฒนา
ระบบส่ งต่อ รับกลับร่ วมกับ รพ.แม่ข่าย
โรคที่มีปัญหาในการเดินทาง
Acute MI อุบตั ิเหตุ Stroke ให้ภาคีเครื อข่ายมีส่วนร่ วมในการดูแลผูป้ ่ วย จัดทาแนวทางการดูแลผูป้ ่ วย
ขณะส่ งต่อ พัฒนาระบบส่ งต่อแบบ Fast track
โรคที่ไม่ยอมมา ไม่ถูกพามา
ผูป้ ่ วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ผูป้ ่ วยจิตเวช ผูป้ ่ วยสู งอายุที่ไม่มีญาติ จัดทีมออกติดตามเยีย่ มบ้านโดยทีมสห
วิชาชีพ
โรคที่ไม่ตอ้ งมารพ.ถ้าใช้ IT
โรคทัว่ ไป โรคเรื้ อรังที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนโดยการขอคาปรึ กษาจากแพทย์ทางโทรศัพท์ Facebook
อุปสรรคด้านกายภาพ
สถานที่คบั แคบ ผูป้ ่ วยมีจานวนมาก แนวทางแก้ไข ส่ งผูป้ ่ วยโรคเรื้ อรังตามข้อบ่งชี้ไปตรวจรักษาที่รพ.สต.
ใกล้บา้ น
กระบวนการดูแลผูป้ ่ วย การลดอุปสรรคต่อการเข้าถึง
อุปสรรคต่ อการเข้ าถึง
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
อุปสรรคด้านภาษา
ในกรณี ภาษาถิ่นให้พยาบาลในพื้นที่เป็ นผูแ้ ปลความหมายให้วชิ าชีพอื่นที่เป็ นคนต่างพื้นที่ ในกรณี ภาษาต่างประเทศ
ให้ญาติมีส่วนร่ วมในการให้ขอ้ มูล
อุปสรรคด้านวัฒนธรรม
พฤติกรรมการบริ โภคอาหารสุ กๆดิบๆ การดื่มสุ รา การสู บบุหรี่ ให้ครอบครัว ชุมชนและภาคีเครื อข่ายมีส่วนร่ วม
ในการดูแล
ขั้นตอนที่ไม่มีประโยชน์
การรอคอยการซักประวัต การสั่งตรวจทางห้องปฏิบตั ิการในกรณี โรคเรื้ อรัง พัฒนาโยการสั่งตรวจทาง
ห้องปฏิบตั ิการล่วงหน้า ผูป้ ่ วยรับบริ การได้ทนั ทีหลังทาบัตรไม่ตอ้ งผ่านขั้นตอนการซักประวัติ
การรอคอย
ระยะเวลารอคอยเฉลี่ย 84 นาที ได้ขยายบริ การการตรวจรักษาผูป้ ่ วยนอกเวลาราชการ ส่ งผูป้ ่ วยโรคเรื้ อรังกลับไปรับ
การตรวจรักษาที่รพ.สต.ตามข้อบ่งชี้ ออกบการในชุมชน
การใช้ขอ้ มูลเพื่อกาหนดบริ การ
ข้ อมูลปัญหาสุ ขภาพของชุ มชน
การนามาใช้ เพือ่ ปรับปรุ ง/ขยายบริการ
เบาหวาน ความดันโลหิตสู ง
เปิ ดบริ การตรวจรักษานอกเวลาราชการ ส่ งกลับ รพ.สต. แม่ข่ายตามข้อบ่งชี้ ตรวจคัดกรอง เยีย่ มบ้านโดย
ทีมสหวิชาชีพ บริ การเชิงรุ กในชุมชน
ทันตกรรม
เปิ ดบริ การตรวจรักษานอกเวลาราชการ ออกบริ การในชุมชน รพ.สต.เดือนละครั้ง
แพทย์แผนไทย
เปิ ดบริ การตรวจรักษานอกเวลาราชการ ตรวจคัดกรอง เยีย่ มบ้าน บริ การเชิงรุ กในชุมชน รพ.สต.เดือนละ
ครั้ง
การดูแลผูป้ ่ วยฉุ กเฉิ นและเร่ งด่วน
กลุ่มผู้ป่วยทีต่ ้ องดูแลฉุ กเฉิน/เร่ งด่ วน
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
แผนกอุบตั ิเหตุฉุกเฉิน
Acute MI Appendicitis การวินิจฉัย การส่ งต่อล่าช้า ได้ทบทวนแนวทางการดูแล จัดบริ การรับคาปรึ กษา ตรวจ
ชันสู ตรตลอด 24 ชม. พัฒนาบุคลากรในการตรวจคัดกรองเบื้องต้น ระบบการขอคาปรึ กษาจากแพทย์
แผนกผูป้ ่ วยนอก
ผูป้ ่ วยไข้สูง ผูป้ ่ วยที่มีสัญญาณชีพผิดปกติ ผูป้ ่ วยโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ได้จดั ทาแนวทางในการคัดกรอง
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น แนวทางการส่ งต่อผูป้ ่ วยระหว่างแผนก แนวทางในการป้ องกันการแพร่ กระจายเชื้อ
สนับสนุนอุปกรณ์ป้องกัน จัดสถานที่ในการตรวจรักษาแยกต่างหากสาหรับโรคทางเดินหายใจ
แผนกผูป้ ่ วยใน
ผูป้ ่ วยได้รับการรักษาล่าช้า ได้พฒั นาการดูแลแบบเจ้าของไข้ พัฒนาบุคลากรโยการปฏิบตั ิงานคู่กบั พี่เลี้ยง
แผนกห้องคลอด
ผูป้ ่ วย PPH Birth Asphyxia ทบทวนแนวทางการดูแลผูป้ ่ วย มีแนวทางการขอรับคาปรึ กษาจากแพทย์ พัฒนา
บุคลากรโดยการสอนงาน สาธิ ต ฝึ กปฏิบตั ิและปฏิบตั ิงานคู่กบั พี่เลี้ยง
แผนกจิตสังคม บาบัด
ผูป้ ่ วยคุม้ คลัง่ เอะอะ โวยวาย ให้ภาคีมีส่วนร่ วมในการรักษา
การรับ/ส่ งต่อ
โอกาสพัฒนา
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
โรค/ปั ญหาการตัดสิ นใจรับไว้รักษาโดยไม่
เหมาะสม
ผูป้ ่ วย Acute MI Stroke Trauma HI พัฒนาบุคลากรในการ Early Detection มีแนวทางในการ
รับไว้รักษาในรพ.
โรค/ปั ญหาการตัดสิ นใจส่ งต่อโดยไม่
เหมาะสม
ผูป้ ่ วย Acute MI Stroke Trauma HI พัฒนาระบบการส่ งต่อ-รับกลับ ให้ภาคีเครื อข่ายมีส่วนร่ วม
ในการรักษา จัดทา Standing order พัฒนาบุคลากรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ปั ญหาการอธิ บายและช่วยเหลือผูป้ ่ วยในการ
หารพ.
ผูป้ ่ วยที่ตอ้ งรักษาโดยแพทย์เฉพาะทาง โรคหัวใจ ประสานรพ.แม่ข่าย ระบบRefer online
การวางแผนการดูแลผูป้ ่ วย
โอกาสพัฒนา
การปฏิบตั ิ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
โรคที่ควรให้ผปู้ ่ วย/ครอบครัวมีส่วนร่ วมใน
การตัดสิ นใจ
Old CVA Asthma COPD DM ที่มีภาวะแทรกซ้อน วางแผนการดูแลร่ วมกันระหว่างทีมสห
วิชาชีพ ตรวจเยีย่ มผูป้ ่ วยทุกวัน บันทึก SOAP การเปลี่ยนแปลงใน Progress note เมื่ออาการ
เปลี่ยนแปลง
โรคที่มกั ต้องมีการทบทวนและปรับแผนการ
ดูแล
Old CVA Stroke DM พัฒนาการดูแลผูป้ ่ วยเฉพาะโรค พัฒนาทักษะผูด้ ูแล ให้มีความรู้
ความสามารถในการดูแลผูป้ ่ วยเบื้องต้นได้
การดูแลทัว่ ไป
โอกาสพัฒนา
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
ความล่าช้าในการดูแลผูป้ ่ วย
การประเมินล่าช้า Early Detection พัฒนาระบบการดูแลผูป้ ่ วย แนวทางในการให้การพยาบาลผูป้ ่ วย
เบื้องต้น
การดูแลที่อาจเกินความสามารถ
มอบหมายงานให้ตรงตาม Job Spec มีการควบคุม กากับโดยผูช้ านาญกว่า
แนวทางปฏิบตั ิที่อาจถูกละเลย
พฤติกรรมบริ การ ทบทวนสมรรถนะด้านการบริ การที่ดี กาหนดเป็ นเครื่ องชี้วดั ระดับบุคคล
สิ่ งที่ไม่เอื้อต่อความเป็ นส่ วนตัวของ
ผูป้ ่ วย
การซักประวัติในโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ไม่มีสถานที่เป็ นสัดส่ วน
การดูแลทัว่ ไป
โอกาสพัฒนา
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
โอกาสสร้างสิ่ งแวดล้อมเพื่อการเยียวยา
ห้องแยกโรค เตียงใหญ่สาหรับแม่และลูกได้สัมผัสโอบกอดกัน มีที่แขวนอู่สาหรับเด็กทารกที่เจ็บป่ วยตาม
ประเพณี มีการอบสมุนไพรแทนการอยูไ่ ฟตามวัฒนธรรมอิสาน มีม่านกั้นเตียงผูป้ ่ วย
สิ่ งแวดล้อมที่อาจเป็ นอันตรายต่อผูป้ ่ วย/
โอกาสเกิดอุบตั ิเหตุต่อผูป้ ่ วย
ทางต่างระดับ มีการทาสี ทาสัญลักษณ์สาหรับทางต่างระดับ ห้องน้ าผูป้ ่ วย มีกริ่ ง ราวจับ กาต้มน้ าร้อน มีที่ก้ นั
มีป้ายเตือน
ภาวะแทรกซ้อนที่มีโอกาสพบ
การติดเชื้อในรพ. มีแนวทางในการควบคุมและป้ องกันการติดเชื้อ การแพร่ กระจายเชื้อ
กำรดูแลผูป้ ่ วยที่มีควำมเสี่ ยงสู ง
โอกาสพัฒนา
การพัฒนา/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
การทาหัตถการที่มีความเสี่ ยง
I&Dในตาแหน่งที่เสี่ ยง ICD
การเฝ้ าระวังการเปลี่ยนแปลง
ใช้ Early Warning Signs
การรายงานการเปลี่ยนแปลงของผูป้ ่ วย
มีแนวทางในการขอรับคาปรึ กษาจากแพทย์
การตอบสนองเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่
ภาวะวิกฤติ
ผูป้ ่ วยวิกฤตให้การช่วยเหลือภายใน 4 นาที รายงานแพทย์ภายใน 1 นาที แพทย์ตอ้ งมาภายใน 4 นาที
ความไวในการตรวจจับหรื อบ่งชี้เหตุการณ์ไม่
พึงประสงค์
รายงานอุบตั ิการณ์ การทบทวนผูป้ ่ วยจากเหตุการณ์สาคัญ การทบทวนเวชระเบียน
กำรให้ขอ้ มูลและเสริ มพลัง
การดูแลตนเอง/การเสริมทักษะ
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
การทาแผล
สอน สาธิ ต ฝึ กปฏิบตั ิแก่ญาติหรื อผูด้ ูแล
การฉีดยา
แนะนา สาธิ ต ฝึ กปฏิบตั ิก่อนการจาหน่าย
การพน่ยา
สอนการพ่นยาโดยเภสัชกร ส่ งต่อข้อมูลแก่รพ.สต.เพื่อติดตามเยีย่ มบ้านต่อไป
การประกอบอาหาร
แนะนาผูด้ ูแลในการจัดเตรี ยมอาหารแก่ผปู ้ ่ วย
กายภาพบาบัด
ส่ งเสริ ม ผูด้ ูแลในการฟื้ นฟูสมรรถภาพร่ างกายแก่ผปู ้ ่ วย
การดูแลสายสวน
แนะนาการดูแลความสะอาดแก่ผปู ้ ่ วยและญาติ
การให้ขอ้ มูลและเสริ มพลัง
การดูแลตนเอง/การเสริมทักษะ
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
การดูดเสมหะ
ส่ งต่อข้อมูลแก่รพ.สต.
การเปลี่ยนถุงอุจจาระ
ส่ งต่อข้อมูลแก่รพ.สต.
กำรดูแลต่อเนื่อง
โอกาสพัฒนา
การปฏิบัติ/การปรับปรุ ง/ผลลัพธ์
กลุ่มผูป้ ่ วยที่จาเป็ นต้องติดตามต่อเนื่อง
ผูป้ ่ วยหลังคลอด ผูป้ ่ วยโรคเรื้ อรัง มีการวางแผนการจาหน่าย และส่ งต่อข้อมูลให้รพ.สต. ทีมเยีย่ มบ้านใน
การดูแลต่อเนื่อง มีแนวทางในการเยีย่ มบ้าน ประเมินผลการดูแลต่อเนื่อง
กลุ่มผูป้ ่ วยที่จาเป็ นต้องการความช่วยเหลือและ
คาปรึ กษาหลังจาหน่าย
ผูป้ ่ วยโรคหอบหืด COPD โรคเรื้ อรังที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้ให้คาแนะนาการดูแลแก่ผดู ้ ูแล ติดตามเยีย่ ม
บ้านโดย นสค.
การประสานงานข้อมูลกับหน่วยบริ การในพื้นที่
มีการรับส่ งข้อมูลผ่านระบบ Internet, Face book ,โทรศัพท์
การประสานข้อมูลกับทีมเยีย่ มบ้าน
มีการรับส่ งข้อมูลผ่านระบบ Internet, Face book ,โทรศัพท์
การประสานข้อมูลกับแผนกผูป้ ่ วยนอก
ระบบนัด มีการรับส่ งข้อมูลผ่านระบบ Internet, Face book ,โทรศัพท์
การสร้างความร่ วมมือและพัฒนาศักยภาพให้หน่วย
บริ การในพื้นที่
ออกหน่วยบริ การร่ วมกับภาคีเครื อข่าย ออกบริ การในชุมชน ติดตามเยีย่ มบ้านโดย นสค.
Additional Improvement Report Summary
ประเด็นมาตรฐาน
กิจกรรมพัฒนา
ผลลัพธ์
การเข้าถึงบริ การ
ผูป้ ่ วยสุ ขภาพจิต ยาเสพติด ติดสุ รา
โดยใช้ขบวนการกลุ่ม มีภาคีเครื อข่ายร่ วมในการบาบัดรักษาได้แก่
อปท. ชุมชนบ้านพอเพียง บ้านร่ มเย็น โดยการอบสมุนไพร อาชีวะ
บาบัด เข้าค่าย
การดูแลผูป้ ่ วย
การดูแลผูป้ ่ วยข้อไหล่ติด
โดยการนวดราชสานัก 3 ครั้ง/สัปดาห์ ติดต่อกัน 1 เดือน ผลการรักษา
อาการข้อไหล่ติดทุเลาลง 22 ราย
การเสริ มพลัง
การฟื้ นฟูสภาพผูพ้ ิการ
โดยการติดตามเยีย่ มบ้านทีมสหวิชาชีพในชุมชน ผูพ้ ิการ
ระบบข้อมูล
สารสนเทศ