การประเมินตนเอง (สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล องค์การมหาชน)

Download Report

Transcript การประเมินตนเอง (สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล องค์การมหาชน)

การประเมินตนเอง
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องค์การมหาชน)
1
SA 2011
• Scoring 2011
• SAR 2011 ( Self
Assessment Report 2011)
2
Scoring Guideline 2011
Scoring Guideline
วัตถุประสงค์ของ scoring guideline
• เป็ นเครื่องมือเพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของโรงพยาบาล
• เป้าหมายสาคัญของการให้คะแนนนั้น คือให้ทราบถึงทิศทางการพัฒนา
ข้างหน้า
แนวทางการใช้
• ใช้ประเมินการปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน หรือเปรียบเทียบกับเป้าหมายของ
หน่วยงาน
• การตัดสินใจต้องอาศัยการมองในภาพรวม และการใช้ดลุ ยพินิจร่วมกัน
การใช้ scoring guideline ของผูเ้ ยีย่ มสารวจ
• เพื่อเสนอแนะต่อคณะกรรมการรับรอง
• เพือ่ เขียนข้อเสนอแนะต่อโรงพยาบาล
2
Scoring Guideline:
For Continuous Improvement to Excellence
1.5
1
2
2.5
3
3.5
4
โดดเด่นพร้อมเล่า
5
ผลลัพธ์ดีเลิศ
พอใจกับผลงาน
เพิ่งเริ่มต้น
ยังต้องปรับปรุง
ในประเด็นสาคัญ
ผลลัพธ์อยูใ่ น
ระดับเฉลี่ย
ผลลัพธ์ดีกว่า
ระดับเฉลี่ย
ผลลัพธ์ไม่น่าพึงพอใจ
กิจกรรม
คุณภาพพื้ นฐาน
5 ส., ข้อเสนอแนะ
ตัง้ ทีม
วางกรอบการทางาน
ปรับปรุงโครงสร้าง
แก้ไขเมื่อเกิดปั ญหา
เริ่มต้น
นาไปปฏิบตั ิ
สื่อสาร
มีความเข้าใจ
ออกแบบ
กระบวนการ
เหมาะสม
บรรลุเป้าหมาย
พื้ นฐาน
ปรับปรุงระบบ
บูรณาการ
นวตกรรม
นาไปปฏิบตั ิ
ครอบคลุม
ถูกต้อง
ประเมินผล
อย่างเป็ นระบบ
สอดคล้องกับ
บริบท
เป็ นแบบอย่างที่ดี
ของการปฏิบตั ิ
มีวฒ
ั นธรรม
คุณภาพ
วัฒนธรรม
เรียนรู ้
สังเกตความเชื่อมโยง
ของแต่ละระดับขัน้
-> พัฒนาต่อเนื่ อง
5
Beauty Scoring Guideline
1.
2.
3.
4.
5.
เป็ นคนอยากสวย
มีแนวโน้ มว่าจะสวย
สวยระดับเฉลี่ย
สวยวันสวยคืน
สวยสุดยอด
ใช้ Scoring Guideline เพื่อยกระดับการพัฒนา
1
1.5
เพิ่งเริ่มต้น
กิจกรรม
คุณภาพพื้ นฐาน
5 ส., ข้อเสนอแนะ
ตัง้ ทีม
วางกรอบการทางาน
ปรับปรุงโครงสร้าง
Set Up
กาหนดผูร้ บั ผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชดั เจน
กาหนดแนวทางการทางาน
วิเคราะห์ปัญหาสาคัญที่เคยเกิดขึ้ นหรือมีโอกาสจะเกิดขึ้ น
แก้ไขปั ญหาแบบตั้งรับ
ปรับปรุงในส่วนที่เป็ นเรื่องง่ายๆ
แก้ไขเมื่อเกิดปั ญหา
3
ใช้ Scoring Guideline เพื่อยกระดับการพัฒนา
1.5
1
เพิ่งเริ่มต้น
2
2.5
ยังต้องปรับปรุง
ในประเด็นสาคัญ
ผลลัพธ์ไม่น่าพึงพอใจ
กิจกรรม
คุณภาพพื้ นฐาน
5 ส., ข้อเสนอแนะ
ตัง้ ทีม
วางกรอบการทางาน
ปรับปรุงโครงสร้าง
แก้ไขเมื่อเกิดปั ญหา
เริ่มต้น
นาไปปฏิบตั ิ
สื่อสาร
มีความเข้าใจ
ออกแบบ
กระบวนการ
เหมาะสม
Plan & Do
ออกแบบกระบวนการทางานให้เหมาะกับปั ญหา
สื่อสารทาความเข้าใจ
เริ่มต้นนาไปปฏิบตั ิดว้ ยความเข้าใจ
การปฏิบตั ิครอบคลุมพื้ นที่สาคัญจานวนหนึ่ง
4
ใช้ Scoring Guideline เพื่อยกระดับการพัฒนา
1.5
1
2
2.5
3
3.5
พอใจกับผลงาน
เพิ่งเริ่มต้น
ยังต้องปรับปรุง
ในประเด็นสาคัญ
ผลลัพธ์อยูใ่ น
ระดับเฉลี่ย
ผลลัพธ์ไม่น่าพึงพอใจ
กิจกรรม
คุณภาพพื้ นฐาน
5 ส., ข้อเสนอแนะ
ตัง้ ทีม
วางกรอบการทางาน
ปรับปรุงโครงสร้าง
แก้ไขเมื่อเกิดปั ญหา
เริ่มต้น
นาไปปฏิบตั ิ
สื่อสาร
มีความเข้าใจ
ออกแบบ
กระบวนการ
เหมาะสม
บรรลุเป้าหมาย
Do & Check
พื้ นฐาน
การออกแบบที่ดี (HFE)
การปฏิบตั ิครอบคลุมพื้ นที่สาคัญ
นาไปปฏิบตั ิ การปฏิบตั ิถูกต้องตามที่ออกแบบ
ครอบคลุม
เริ่มประเมินเชิงคุณภาพ
ถูกต้อง
เห็นผลการปฏิบตั ิที่บรรลุเป้าหมาย
สอดคล้องกับ
บริบท
5
ใช้ Scoring Guideline เพื่อยกระดับการพัฒนา
4
โดดเด่นพร้อมเล่า
ผลลัพธ์ดีกว่า
ระดับเฉลี่ย
Check & Act
ประเมินผลอย่างเป็ นระบบ (Evaluation)
ปรับปรุงระบบ (Improvement)
บูรณาการ (Integration)
นวตกรรม (Innovation)
ปรับปรุงระบบ
บูรณาการ
นวตกรรม
ประเมินผล
อย่างเป็ นระบบ
6
•
•
•
•
•
•
•
สามารถแสดงให้เห็นการบรรลุเป้ าประสงค์ขององค์กร
สามารถแสดงให้เห็นผลลัพธ์ที่ดีขึน้ โดยเฉพาะ clinical outcome
มีการประเมิ นประสิ ทธิ ภาพของระบบหลักๆ
มีการใช้นวตกรรมและความคิ ดสร้างสรรค์
มีวฒ
ั นธรรมคุณภาพ ความปลอดภัย การเรียนรู้
มีบรู ณาการของการพัฒนา
มีการพัฒนาที่สามารถใช้เป็ นแบบอย่างให้แก่โรงพยาบาลอื่น
Check & Act
ประเมินผลอย่างเป็ นระบบ (Evaluation)
ปรับปรุงระบบ (Improvement)
บูรณาการ (Integration)
นวตกรรม (Innovation)
4
5
โดดเด่นพร้อมเล่า
ผลลัพธ์ดีเลิศ
ผลลัพธ์ดีกว่า
ระดับเฉลี่ย
ปรับปรุงระบบ
บูรณาการ
นวตกรรม
เป็ นแบบอย่างที่ดี
ของการปฏิบตั ิ
มีวฒ
ั นธรรม
คุณภาพ
วัฒนธรรม
เรียนรู ้
ประเมินผล
อย่างเป็ นระบบ
11
สวยสุดยอด
สวยวันสวยคืน
สวย
แนวโน้ มจะสวย
อยากสวย
Overall Scoring
• Overall Scoring คือการให้คะแนนตาม Overall Requirement
(ข้อกาหนดโดยรวม) ของมาตรฐาน
• เป็ นการมองภาพรวมของทิศทางการพัฒนาว่าจะนาไปสูก่ ารบรรลุ
เป้าหมายได้เพียงใด โดยไม่ตอ้ งลงในรายละเอียดจานวนมาก
• อิงตาม scoring guideline 5 ระดับ และตามสภาวะที่เป็ นจริง
• เลือกประเด็นที่มีความสาคัญสูง ไม่เน้นความสมบูรณ์ในทุก
ประเด็น เลือกประเด็นที่รบั รูไ้ ด้ง่ายโดยไม่ตอ้ งเจาะลึก ประเมินได้
จากการรับฟั งเรือ่ งเล่าของ รพ.
• เป้าหมายเพื่อช่วยให้ รพ.เห็นตัวเองได้ง่าย เข้าใจหัวใจของ
มาตรฐานใหม่ได้ง่ายก่อนลงรายละเอียด รพ.พัฒนาได้ง่ายขึ้น
8
แนวคิด HA Scoring 2011
1) การเยีย
่ มสารวจคือการทบทวนโดยมิตรจากภายนอก (external
peer review) เพือ
่ รับรู้ maturity ของการพัฒนา และกระตุนให
้
้
เกิด CQI
2) ผู้เยีย
่ มสารวจมีหน้าทีใ่ นการ
a. รับรู้บริบทและผลงานการพัฒนาของโรงพยาบาล
b. สร้างกระบวนการเรียนรูจากผลงานของโรงพยาบาล
้
c. รวมกั
บโรงพยาบาลในการจัดทาประเด็นในแผนการพัฒนา
่
(Issues for Improvement-IFI) ทีเ่ หมาะสมและสมบูรณ์
3) โรงพยาบาลมีหน้าทีใ่ นการ
a. ใช้ HA Scoring 2011 ในการประเมินตนเองและจัดทาราง
่
ประเด็นในแผนการพัฒนาเพือ
่ ยกระดับ maturity
b. พาผู้เยีย
่ มสารวจตามรอยระบบงานตางๆ
ของโรงพยาบาล
่
9
แนวคิด HA Scoring 2011
4) การผานการรั
บรองจะมีระดับตางๆ
่
่
ซึ่งรับรูกั
้ นเป็ นการภายใน และมีผลตอ
่
ความเขมข
ดตามดังนี้
้ นของการติ
้
a. ระดับพอผาน
เมือ
่ mode ของ score อยูระหว
าง
2.5 -3.0
่
่
่
b. ระดับดี เมือ
่ mode ของ score อยูระหว
าง
3.0-3.5
่
่
c. ระดับดีมาก เมือ
่ mode ของ score อยูระหวาง
3.5-4.0
่
d. ระดับดีเยีย
่ ม เมือ
่ mode ของ score มากกวา่ 4.0
9
แนวทางการกาหนดระดับคะแนน
1) พิจารณาตามระดับ maturity ของการพัฒนา
คะแนน 1 เป็ นช่ วงเริ่มต้ นการพัฒนา อาจจะมีลกั ษณะตั้งรับ เน้ นที่การวิเคราะห์ การตั้งทีม การจัดหาทรัพยากร การ
กาหนดแนวทาง
คะแนน 2 เป็ นช่ วงของการวางระบบงานและเริ่มนาไปสู่ การปฏิบัติ
คะแนน 3 เป็ นช่ วงของการปฏิบัตติ ามแนวทางที่ออกแบบไว้จนเห็น early result ถือว่าเป็ นระดับที่คาดหวังโดย
เฉลีย่ เป็ นระดับที่หวังผล (effective)
คะแนน 4 เป็ นช่ วงของการมีความโดดเด่ นในกระบวนการบางอย่ าง ซึ่งอาจจะเป็ นนวตกรรม การเชื่อมโยง หรือวิธีการที่
ได้ ผลดีต่างๆ ตัวอย่ างที่แนะนาไว้เป็ นเพียงแนวทางซึ่งไม่ จาเป็ นต้ องทาได้ ครบถ้ วน และอาจจะมีเรื่องอืน่ ๆ
ที่จาเป็ นต้ องใช้ ดุลยพินิจประกอบ
คะแนน 5 เป็ นระดับที่แสดงถึงกระบวนการประเมินและปรับปรุงอย่ างเป็ นระบบ (systematic
evaluation & improvement) ส่ งผลให้ มีผลลัพธ์ ที่เป็ นเลิศ เป็ นผู้นาในด้ านนั้นๆ
แนวทางการกาหนดระดับคะแนน
2) พิจารณาตามระดับความยากงายในการด
าเนินการ
่
อาจจะนาขอก
นมาพิจารณาวา่
้ าหนดในมาตรฐานแตละประเด็
่
ประเด็นใดทีท
่ าไดง้ ายที
ส
่ ด
ุ และยากขึน
้ เป็ นลาดับขัน
้
โดย
่
พยายามให้สอดคลองกั
บแนวทางในขอ
้
้ 1)
อาจจะพิจารณาระดับความยากงายตามศั
กยภาพของโรงพยาบาล
่
3) พิจารณาตามลาดับขัน
้ ตอนทีโ่ รงพยาบาลตองด
าเนินการกอนหลั
ง
้
่
อาจพิจารณาวาในความเป็
นจริง มี sequence ของการ
่
ดาเนินการวางระบบงานอยางไรบ
าง
เช่น เริม
่ จากการวิเคราะห ์
่
้
ข้อมูล การออกแบบระบบ การฝึ กอบรม การนาสู่การปฏิบต
ั ิ
เป็ นตน
้
4) พยายามให้มีการพิจารณาในภาพรวม
ให้มีรายละเอียดเทาที
่ าเป็ น ไมต
่ จ
่ ้องคัดลอกมาจากมาตรฐาน
ทัง้ หมด
Scoring Summation
1
2
3
4
5
1
2
3
4
5
1
2
3
4
5
1
1
2
3
4
5
1
2
3
4
5
1
2
3
4
2
5
3
4
5
ตัวอย่างการให้คะแนนและระบุประเด็นพัฒนา
ในตอนท้ายของรายงานประเมินตนเองแต่ละบท
การประเมินตนเองด้วย
SAR 2011
21
•
•
•
•
•
•
ประเด็นค ุณภาพที่สาคัญ
ข้อมูลสถิติ/ตัวชี้วดั
บริบท
กระบวนการสาคัญ
ผลการพัฒนาที่สาคัญ
Score & ประเด็นการพัฒฯ
22
SAR 2011: การนาไปใช้
23
การประเมิน
• Scoring 2011
• SAR 2011
Approach
• Gap Analysis
•
•
•
•
•
•
Mini Research
Self Enquiry
Review
Story telling
Tracer
Indicator
24
มุ่งเน้นที่ action
มากกว่าการทา guideline
evidence
Recommendation
Current/Actual
Practice
Desired
Practice
Action Plan
มีอิสระที่จะเลือก
ว่าสามารถทาอะไรได้ทนั ที
25
เป็ นเพียงการประยุกต์หลักการวิจยั มิใช่ทางานวิจยั มิใช่ R2R
เริ่มด้วยการตัง้ คาถามที่ชดั เจน (ถ้าให้ดีให้ต้งั คาถามจากมาตรฐาน)
ตัง้ ประเด็นไม่ตอ้ งใหญ่ เก็บข้อมูลแต่นอ้ ย
สุม่ ตัวอย่างจานวนน้อย พอให้ได้ความเชื่อมั ่น (เช่น 10-30)
เก็บข้อมูลเสร็จใน 2-3 ชั ่วโมง
ประมวลผลได้ในหนึ่งคืน (ถ้าทาได้)
ทาได้สปั ดาห์ละหลายเรื่อง หลายจุด ทากันทุกสัปดาห์
ข้อมูลมีคณ
ุ ค่า: เป็ นโอกาสพัฒนาและตอบแบบประเมินตนเอง
26
นพ.อนุ วฒ
ั น์ ศุภชุตกิ ุล “คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA” 10th HA National Forum 12 มีนาคม 2552
มองเห็น
จากแนวคิดนแาสูล่
กระบวนการดู
การปฏิ
บัติ
ผูป้ ่ วยที
่พบโอกาส
พัฒนาและโรค/
ความเสี่ ยงทางคลินิก
การประเมินตนเอง (Self Assessment)
เริ่มที่
แล้วจึงประเมิน
ส ุดท้ายเขียน
ประเมินอะไรดี
•
•
•
•
ประเมินสิ่งที่ตนเองทาว่ามีดีอะไร
ประเมินสิ่งที่ตนเองทามีโอกาสพัฒนาอะไร
ประเมินสิ่งที่มีเมื่อเทียบกับมาตรฐาน
ประเมินข้อPractice ในSPA ว่ามีสิ่งใดที่ทาแล้วสิ่งใดที่
น่าทา
• ประเมินสิ่งต่างๆที่วางระบบไว้ว่ามีการปฎิบตั ิอย่างไร โดย
การตามรอย
• ประเมินสิ่งที่ไม่รไ้ ู ม่แน่ใจผ่าน Mini research
ประเมินโดยใคร?
ตัวอย่างการประเมินผ่านMini
research
• ข้อสงสัยจากมาตรฐาน III-1(5) ว่าผูป้ ่ วยได้รบั ข้อมูลที่
จาเป็นอย่างเพียงพอด้วยความเข้าใจหรือไม่
• เก็บ Mini research โดยให้ผช้ ู ่วยเหลือคนไข้เป็นคนเก็บ
ข้อมูล
• ผลลัพธ์ ผูป้ ่ วยนอก ทราบวินิจฉัยโรค 93.3% กลมุ่ ที่ไม่
ทราบผลวินิจฉัยส่วนใหญ่เป็นผูป้ ่ วยเด็กและผูป้ ่ วยห ูคอจมูก
• ผูป้ ่ วยใน ในเวลาราชการ/นอกเวลาราชการ ทราบเหต ุผลที่
ต้องนอนรักษาในโรงพยาบาล81.81%/93.75% ทราบ
แผนการรักษา 54.54%/37.5% ทราบสิทธ์การรักษา
90.90%/75%
สรุปประเด็นสาคัญ
• จากการทาMini research เพื่อประเมิน
การได้รบั ข้อมูลที่จาเป็นของผูป้ ่ วยพบว่า ผูป้ ่ วย
ส่วนใหญ่ไม่ทราบแผนการักษา และยังมีปัญหา
เรื่องสิทธิการรักษานอกเวลาราชการ จึงมีแผน
ที่จะพัฒนาเรื่องการสื่อสารระหว่างแพทย์กบั
พยาบาล และการจัดตัง้ ศูนย์Admit 24
ชัว่ โมง เพื่อพัฒนาการให้ขอ้ มูลให้สมบูรณ์
ยิ่งขึ้น
แบบประเมินตนเอง
เริ่มที่
แล้วจึงประเมิน
สุ ดท้ ายเขียน
• ทาความเข้าใจกับแบบประเมิน
33
ประเด็นที่จะต้องตอบในแบบประเมิน
ตนเอง ตาม SAR 2011
• ประเด็นค ุณภาพ,ความเสี่ยงที่สาคัญ ของแต่ละกระบวนการ
• สร ุปออกมาเป็นข้อมูลตัวชี้วดั โดยกาหนดเป้าหมายและผลที่
ทาได้เปรียบเทียบแต่ละปี
• กาหนดบริบทของกระบวนการนัน้ ๆของโรงพยาบาลเรา
• บทเรียนที่ได้จากการทางานและสอดคล้องกับมาตรฐานใน
แต่ละข้อ
• ผลการพัฒนาที่สาคัญ
• ประเมินให้คะแนนในแต่ละข้อมาตรฐาน
• ประเด็นที่จะพัฒนาใน1-2ปี
คุณค่ าของรายงานการประเมินตนเอง
คือใช้ เป็ นเครื่องมือ KM
ล ักษณะสาค ัญของโรงพยาบาล
(Hospital Profile)
ตอนที่ I การบริหารองค์กรในภาพรวม
ตอนที่ II ระบบงานสาคัญของโรงพยาบาล
ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู ้ป่ วย
เป้าหมาย :
• self recommendation
• guide surveyor
ล ักษณะการตอบ:
• ทาอะไร ทาอย่างไร ได้ผล
อะไร
• scoring
• ประเด็นทีจ
่ ะพ ัฒนา
เป้าหมาย :
•guide surveyor
PCT Profile & Clinical Tracer Highlight ล ักษณะการตอบ:
ั
• กระชบ
ตอนที่ IV ผลการดาเนินการขององค์กร
เป้าหมาย :
• confirm process maturity
ล ักษณะการตอบ:
• วิเคราะห์ขอ
้ มูล อธิบาย
เหตุผล
• การตอบสนอง
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง
เป้ าหมาย
มาตรฐานตอนที่ I-III
• รพ.ทบทวนบทเรียนและวางแผนพัฒนาร่วมกัน
• ผูเ้ ยีย่ มวางแผนการเยีย่ มสอดคล้องกับความพยายามของ รพ.
• นาสิง่ ทีท่ าจริงมาตอบอย่างกระชับ ในลักษณะ bullet
• ตอบง่ายๆ ได้ใจความ: ทาอะไร ทาอย่างไร ผลเป็ นอย่างไร
• คาตอบเป็ นผลของการปฏิบตั ติ ามแนวทางใน SPA
• สือ่ ให้เห็นทัง้ ในภาพรวม และรูปธรรมของการปฏิบตั ใิ นบางเรือ่ ง
• ความยาวรวม 3 ตอนไม่เกิน 150 หน้า
• ปรับเพิม่ ลดประเด็นและตัวชีว้ ดั ได้ตามความเหมาะสม
• มาตรฐานตอนที่ III รวมของทุก PCT/CLT มาอยูใ่ นชุดเดียวกัน
• ยกร่างฉบับกลางแล้วให้ PCT/CLT เติม, หรือ
• PCT/CLT ส่งตัวแทนมาร่วมกันสรุปประเด็นสาคัญ
• PCT/CLT Profile และ Clinical Tracer Highlight เป็ นส่วนขยาย
ของตอนที่ III ทีแ่ ต่ละทีมจะสรุปบทเรียนของตน
SAR 2011
•
•
•
•
•
•
•
•
ประเด็นคุณภาพที่สาคัญ (มีเริ่มต้นให้เป็ นตัวอย่าง)
ผลการติดตามตัวชี้วัดสาคัญ (มีเริ่มต้นให้เป็ นตัวอย่าง)
บริบท (กาหนดประเด็นให้)
กระบวนการ (กาหนดประเด็นให้)
การพัฒนาที่สาคัญ (สรุปในลักษณะ bullet)
Scoring & Issues for Improvement
ความยาวแต่ละหมวดไม่เกิน 3-5 หน้า
Clinical Tracer Highlight โรคละ 1 -2หน้า (ขอให้มี HIV,
TB, Nicotine dependent รวมอยูด่ ว้ ย)
มาตรฐานตอนที่ IV
วิเคราะห์ สาเหตุ
เมือ่ มีปัญหาเพิม่ ขึน้
วิเคราะห์ เปรียบเทียบ
(ตามความเหมาะสม)
อธิบายสาเหตุหรือการปรับปรุงทีท่ า
ให้ ผลลัพธ์ เปลีย่ นแปลง
Better
ใช้ ตารางถ้ าเป็ นข้ อมูลง่ ายๆ (ไม่ ต้องเป็ นกราฟเสมอไป)
ใช้ กราฟเส้ นหรือกราฟแท่ งถ้ าต้ องการแสดงแนวโน้ มของข้ อมูล
ใช้ กราฟแท่ งถ้ าต้ องการเปรียบเทียบข้ อมูลตามกลุ่มต่ างๆ
ระบุหน่ วยนับ และช่ วงเวลาให้ ชัดเจน
•
•
•
•
จัดทาอย่างกระชับ ตรงประเด็น ตามแนวทางใน SPA
พร้อมที่จะนาเสนอคณะกรรมการรับรองได้
แสดงให้เห็นประเด็นสาคัญของ รพ. และประสบการณ์จริงของ รพ.
หลีกเลี่ยงการตอบเชิงทฤษฎี แต่แสดงให้เห็นประสบการณ์ บทเรียน
หรือผลลัพธ์ จากการนาทฤษฎีมาสูก่ ารปฏิบตั ิ
• หลีกเลี่ยงการคัดลอกเอกสารที่ รพ.ใช้มาใส่ในแบบประเมินตนเอง
แต่สรุปใจความสาคัญ ที่มาที่ไป และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
• พยายามนาเสนอผลการทา mini-research ถ้ามี
• ทาแล้วอ่านกันในทีมงานให้ทั ่วถึง วิพากษ์และปรับปรุง
41
ประเมินตนเอง 3 ประเด็น 3 บรรทัด
ทาอะไร
• รพ.ได้ ปรับปรุงการดูแลผู้ป่วยจิตเวชทีเ่ สี่ ยงต่ อการฆ่ า
ตัวตายใน รพ. ด้ วยการเฝ้ าระวังผู้ป่วยทีม่ ีอาการทาง
จิต เช่ น ประสาทหลอน เพิม่ จากทีเ่ คยมุ่งเน้ นเฉพาะ
ผู้ป่วยทีม่ ีอาการซึมเศร้ า ทาให้ จานวนผู้ป่วยที่ลงมือ
ฆ่ าตัวตายลดลงจากปี ละ 10 รายเหลือ 0-1 ราย
ทาอย่างไร
ผลเป็ นอย่างไร
42
ส่งเสริมให้สร ุปประเด็นสาคัญสะสมเก็บไว้
ทาอะไร
• PCTสูติได้ปรับกระบวนการให้ขอ้ มูลผูป้ ่ วยเสริม
พลังผูป้ ่ วยPlcenta Previa ใหม่ดว้ ยการเชิญสามีและ
บ ุคคลในครอบครัวเข้ามารับฟังและซักถามการ
ปฎิบตั ิตนเมื่อกลับบ้านแทนการให้ขอ้ มูลเฉพาะ
ผูป้ ่ วย ทาให้เมื่อผูป้ ่ วยกลับไปพักรักษาตัวที่บา้ น
สามารถปฎิบตั ิตามคาแนะนาได้เพิ่มมากขึ้น
ทาอย่างไร
ผลเป็ นอย่างไร
43
เป้าหมายของแบบประเมินตนเอง
• สถานพยาบาลได้ ทบทวนผลการทางานและการพัฒนา
คุณภาพร่ วมกันได้ เรียนรู้ ร่วมกันถึงจุดแข็งและโอกาส
พัฒนาและวางแผนการพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
• เป็ นเครื่องมือสื่ อสารให้ ผ้ ูเยีย่ มสรวจและคณะกรรมกา
รับรองได้ รับรู้ ผลงานการพัฒนาของสถานพยาบาลใน
ลักษณะกระชับ
ความเหมือน และความต่างของ
SPA กับ SAR ?????
SPA กับ SAR
• SPA (Standards-PracticeAssessment) คือส่วนขยายความของ
มาตรฐาน HA ซึ่งเน้นรายละเอียดของการ
ปฏิบตั ิ (practice) และให้แนวทางในเขียน
รายงานการประเมินตนเอง การตอบแบบ SPA
อย่างที่หลายท่านพูดถึงคือการตอบประเด็นที่
ระบ ุไว้ใน A ในลักษณะ free style
SPA กับ SAR
• SAR2011 เป็นแบบฟอร์มสาหรับการเขียน
รายงานการประเมินตนเองในลักษณะที่กระชับ
แต่ครอบคล ุมประเด็นสาคัญครบถ้วน เป็นการ
ดึงเอา A ใน SPA มาตัง้ ประเด็นให้ตอบ
• ทัง้ SPA และ SAR2011 จึงเป็นเรือ่ ง
เดียวกัน เพียงแต่หน้าตาไม่เหมือนกัน
ข้อแนะนา
• ถ้าโรงพยาบาลได้จดั ทารายงานการประเมินตนเองไว้ในร ูปแบบ
ใดอยูแ่ ล้ว ก็ให้ใช้ร ูปแบบนัน้ ต่อไป และพยายามให้ทีมงานที่
เกี่ยวข้องมาแลกเปลี่ยนเรียนรร้ ู ว่ มกัน ตามรอยให้ประจักษ์แจ้ง
และเติมเต็ม
• ถ้าโรงพยาบาลยังไม่ได้เริม
่ ทารายงานการประเมินตนเอง
คาแนะนาคือควรใช้แบบฟอร์ม SAR2011 เป็นแนวทาง
• สาหรับโรงพยาบาลที่ได้ทารายงานการประเมินตนเองไปแล้ว แต่
พบว่าการใช้ SAR2011 จะให้ประโยชน์แก่ทีมงานมากกว่า
และทีมงานเห็นพ้องกันว่าไม่ได้เป็นภาระมากขึ้น ไม่ได้ทาให้งาน
ประจาต้องเสียหาย ก็สามารถปรับมาใช้ SAR2011ได้
ลักษณะการทาแบบประเมินที่ดี
อยากให้ทาแบบประเมินตนเองอย่างมีชีวิตชีวามี
ความส ุข
อยากให้ได้แบบประเมินตนเองที่อ่านแล้วมองเห็น
ภาพที่มีชีวิต
อยากให้ใช้แบบประเมินตนเองในชีวิตทางานประจาวัน
เคล็ดลับ
ทาด้ วยใจ
กับสองมือ
ใช้ สมอง
เอกสารที่ตอ้ งส่ง สรพ
กรณีขอ ACC & Reacc
ระดับโรงพยาบาล
ระดับทีมนาทางคลินิก
ระดับหน่ วยงาน
-Hospital Profile….ตอนที๋ IV
-แบบประเมินตาม SPA I-II หรือ แบบ
ประเมิน SAR 2011 ตอน I- II
-Scoring 2011 กรณี re-acc
-Service Profile PCT
-Clinical Tracer
- แบบประเมินตาม SPA III หรือ SAR
2011 ตอน 3
-Service Profile ทุกหน่ วยงาน
( ไม่ ต้องส่ งให้ เก็บไว้ ทโี่ รงงพยาบาล )
53