งานนำเสนอ - WordPress.com

Download Report

Transcript งานนำเสนอ - WordPress.com

การจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
เสนอ
อาจารย์ จงใจ วิโย
จัดทาโดย
น.ส. ขวัญฤทัย บัวเขียว
น.ส. กรกนก เมืองขวา
น.ส. นฤมล ชนะเคน
น.ส. กมลชนก เขตขงขวาง
น.ส.ชนากานต์ นิวงษา
น.ส. ทัศน์ วรรณ มัยวงศ์
น.ส. ปาริฉัตร มีทองแสน
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ห้ อง 1
การจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
• การจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หมายถึง แผนซึ่งกาหยดแนวทางการ
จักการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการจาเป็ นพิเศษของบุคคลพิการ
แต่ละบุคคล ตลอดจนกาหนดสิ่ งอานวยความสะดวก สื่ อบริ การ และ
ความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษาให้เป็ นเฉพาะบุคคล
วัตถุประสงค์ในการใช้ IEP
• 1. IEP เป็ นแผนที่เขียนขึ้นเป็ นลายลักษณ์อกั ษรสาหรับเด็กคนใดคน
หนึ่งโดยเฉพาะ IEP หรื อที่ประชุมเด็กเฉพาะกรณี ใน IEP จะมีขอ้ มูลใน
การจักเด็กเข้ารับบริ การการศึกษาและบริ การที่เกี่ยวข้องอืน่ ๆ
2. IEP เป็ นเครื่ องมือในการจัดการกับกระบวนการตรวจสอบและ
กระบวนการสอนทั้งหมด ฉะนั้น IEP ในแง่ที่เป็ นส่ วนสาคัญของ
กระบวนการตรวจสอบและกระบวนการสอนจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ
ประเมินผลและวิธีการสอน
การจัดทา IEP
1. การศึกษาที่จกั ให้กบั เด็กที่มีความต้องการพิเศษ หรื อเด็กที่มีความ
บกพร่ องแต่ละคนนั้นเหมาะสมกับความต้องการพิเศษทางการเรี ยนรู ้
ของเด็ก
2. เมื่อมีการกาหนดการให้บริ การทางการศึกษาพิเศษใน IEP แล้วนั้น
ได้มีการให้บริ การดังกล่าวจริ ง
3. มีการกาหนดการควบคุมติดตามผลการให้บริ การ
ขั้นตอนของกระบวนการตรวจสอบและการสอนตาม IEP
แผนการจักการศึกษาเฉพาะบุคคล ( IEP ) กระบวนการตรวจสอบและ
กระบวนการสอนตาม IEP
กระบวนการสอนตาม IEP
แบ่งออกได้เป็ น 3 ขั้นตอนใหญ่ๆ ดังนี้
1. ขั้นส่ งต่อ
แบ่งออกเป็ น 2 ขั้นย่อยดังนี้
ขั้นที่ 1 กิจกรรมก่อนการส่ งต่อ
กิจกรรมก่อนการส่ งต่อ คือ มาตรการการให้ความช่วยเหลือในระยะเริ่ มต้น
ของปัญหาที่ครู ปกติใช้ เมื่อพบว่ามีนกั เรี ยนที่มีปัญหาหรื อความบกพร่ องอยู่
ในชั้นเรี ยนของตน โดยครู ใช้วิธีการง่ายๆที่ใช้อยูใ่ นชั้นเรี ยนรวบรวมข้อมูล
เกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานของนักเรี ยน และด้วยความช่วยเหลือจากบุคคลเหล่านี้
ได้แก่ ครู การศึกษาพิเศษ ศึกษานิเทศก์ หรื อผูช้ ่วยอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิชาการ ครู
จะทาการวิเคราะห์ปัญหาวิชาการและพฤติกรรมของนักเรี ยน และจะร่ วม
ปรึ กษาหาหรื อในการช่วยเหลือนักเรี ยนด้วยวิธีต่าง ๆ
รู ปแบบการให้ความช่วยเหลือในระยะเริ่ มต้นของปัญหา 2 รู ปแบบ
• รู ปแบบให้ คาแนะนา ในระบบโรงเรี ยน ครู ผทู ้ าหน้าที่ให้คาแนะนาจะตอบสนอง
คาขอของครู ปกติ โดยมีการดาเนินงานตามลาดับขั้นดังนี้
1.ครู ปกติผทู ้ ี่จะส่ งต่อนักเรี ยน ขอคาแนะนาเกี่ยวกับนักเรี ยน
2.ครู ผใู ้ ห้คาแนะนาหาวิธีการให้ความช่วยเหลือนักเรี ยนนักเรี ยนที่เป็ นไปได้โดย
ร่ วมมือกับครู ปกติ
3.ครู ปกติผทู ้ ี่จะส่ งต่อนักเรี ยน นาข้อเสนอไปใช้ปฏิบตั ิในชั้นเรี ยน และประเมินผล
การปฏิบตั ิตามข้อเสนอแนะ
4.หากจาเป็ นต้องมีการตัดสิ นใจเพิ่มเติม ครู ผใู ้ ห้คาแนะนาสังเกตนักเรี ยนในชั้นเรี ยน
แล้วจึงประชุมหาหรื อกับครู ปกติ
5.หากนักเรี ยนยังคงมีปัญหาอยู่ จะมีการส่ งต่อนักเรี ยนอย่างเป็ นทางการเพื่อน
ประเมินว่านักเรี ยนมีความต้องการการศึกษาพิเศษหรื อไม่
• รู ปแบบการให้คณะครู ช่วย เป็ นรู ปที่ให้ครู ปกติในโรงเรี ยน 2-3 คนกับ
ครู ปกติผทู ้ ี่จะส่ งต่อนักเรี ยน ประชุมร่ วมกันเพื่อระดมสมองและช่วยครู ผู ้
ที่จะส่ งต่อนักเรี ยนจัดทาแผนเพื่อช่วยปรับปรุ งการปฏิบตั ิงานของ
นักเรี ยนในห้องเรี ยนให้มีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น ซึ่งรู ปแบบนี้จะช่วยลด
จานวนนักเรี ยนที่มีความบกพร่ องหรื อพิการที่จาเป็ นต้องส่ งต่อลงไปมาก
และนอกจากนี้ ประโยชน์ที่ได้รับเพิ่มเติม คือ ครู ร่วมมือทางานเพื่อแก้ไข
ปัญหาของชั้นเรี ยน
ขั้นที่ 2 การส่ งต่ อและการวางแผนในระยะเริ่มต้ น
(Referral and Initial Planning)
• การส่ งต้องนักเรี ยนในระยะเริ่ มต้นเพื่อไปรับการประเมิน อาจผ่านมาได้
จากหลายทาง ได้แก่จากพ่อแม่ ครู นักอาชีพอื่นๆ ผูซ้ ่ ึงรูจ้ กั คุน้ เคยกับ
นักเรี ยน หรื อนักเรี ยนอาจส่ งต่อตนเองก็ได้ บุคคลกรของโรงเรี ยน
จะต้องทาหน้าที่ติดตามการส่ งต่อนั้น ต้องมีการแจ้งให้พอ่ แม่ทราบว่า
ทางโรงเรี ยนค้นพบ อะไรเกี่ยวกับนักเรี ยน และทางโรงเรี ยนจะต้อง
วางแผนให้มีการประเมินนักเรี ยน และนอกจากนี้ จะต้องมีการตักสิ นใจ
ว่าต้องการข้อมูลอะไรเพิ่มเติมอีก และใครจะเป็ นผูร้ วบรวมข้อมูลเหล่านี้
ขั้นตรวจสอบ
• ขันตรวจสอบนี
้
้เป็ นส่วนสำคัญยิ่งของกระบวนกำรสอนตำม IEP ซึง่ จะ
เกี่ยวข้ องกับกำรจักทำและกำรเรี ยน IEP
ขั้นที่ 3 การประเมินโดยคณะสหวิทยาการ
(Multidisciplinary Assessment)
การทดสอบต้องกระทาโดยบุคลากรที่ได้รับการฝึ กอบรมมาโดยเฉพาะ
คณะผูต้ รวจสอบจะต้องรวมเอาครู การศึกษาพิเศษเป็ นหนึ่งในคณะผู ้
ตรวจสอบด้วย หากนักเรี ยนใช้ภาษาพูดเป็ นภาษาถิ่น การทดสอบก็ควรจะ
ดาเนินการโดยใช้ภาษาถิ่นที่นกั เรี ยนใช้ แบบทดสอบและสื่ อทีใ่ ช้ในการ
ทดสอบต้องเที่ยงตรง มีค่าความเชื่อมัน่ ในระดับสู ง และนอกจากนี้ยงั
ทดสอบความต้องการทางการศึกษาของเด็กเฉพาะเรื่ องได้ โดยไม่มีแต่ตวั เลข
แสดงระดับเชาว์ปัญญา (IQ) เท่านั้น หากแบบทดสอบนั้นๆ ใช้เด็กที่มีความ
บกพร่ องทางการได้ยนิ ทางการเห็น หรื อที่มีความบกพร่ องเกี่ยวกับการใช้
มือหรื อทักษะทางการพูด ผลที่ได้จากการทดสอบจะต้องสะท้อนให้เห็นถึง
ความสามารถจริ งหรื อระดับผลสัมฤทธิ์ของเด็กจริ ง ๆ ที่แบบทดสอบนั้น
ประเมิน
ขั้นที่ 4 การประชุ มเด็กเฉพาะกรณี หรือการประชุ มเพือ่ เขียน IEP
(Case Conference or IEP Meeting the IEP)
• หลังจากที่ได้มีการรวบรวมข้อมูลโดยคณะสหวิทยาการแล้ว จะมีการติดต่อ
พ่อแม่เพื่อประชุมร่ วมกัน และที่ประชุมจะร่ วมกันเขียน IEP โดยที่ประชุม
จะต้องประกอบไปด้วยบุคคลเหล่านี้อย่างน้อย
• ผู้แทนจากโรงเรียนปกติ ซึ่งไม่ใช่ครู ของนักเรี ยน และ เป็ นผูท้ ี่มีคุณวุฒิและมี
ความรู ้ ความสามารถในสาขาความบกพร่ องที่ตรงกับความบกพร่ องของ
นักเรี ยน โดยทาหน้าที่เป็ นผูน้ ิเทศหรื อให้บริ การศึกษาพิเศษ
• ครู ของนักเรียน จะพิจารณาว่าเป็ นใครนั้น อาจพิจารณาได้หลายประเด็น
เช่น การที่นกั เรี ยนได้รับการศึกษาพิเศษจาก “ครู ” ครู คนนี้กอ็ าจเป็ น “ครู
การศึกษาพิเศษ” หรื อ หากนักเรี ยนที่มีความบกพร่ องทางการพูด “ครู ”
ของนักเรี ยนก็อาจเป็ นครู ปกติ หรื อครู การศึกษาพิเศษที่ให้บริ การสอนเสริ ม
หรื อตัวแทนครู ปกติหลายๆ คนที่สอนเด็กคนเดียวกัน
• ตัวนักเรียนเอง ในหลายกรณี เด็กนักเรี ยนเองสามารถเข้าร่ วมประชุม IEP และ
ออก
ความเห็นเกี่ยวกับการศึกษาที่เขาต้องการ ฉะนั้นอาจให้นกั เรี ยน
เข้าร่ วมประชุมด้วยหากเป็ นไปได้
• พ่อแม่ ต้องมีส่วนร่ วม เพราะพ่อแม่เป็ นศูนย์กลางในเรื่ องที่เกี่ยวกับการศึกษา
ของลูกของเขาต้องมีการเชิญให้พอ่ แม่มาร่ วมประชุมหากพ่อแม่ไม่สามารถมาได้
ทั้งสองคน ก็ควรจะมีคนใดคนหนึ่งมาร่ วมประชุม และหากไม่สามารถมาได้เลย
ทั้งสองคน ทางโรงเรี ยนจะต้องมีวธิ ี ให้พอ่ แม่มีส่วนร่ วมโดยอาจเชิญพ่อแม่มา
พบเป็ นเฉพาะบุคคล หรื ออาจใช้การปรึ กษาหารื อทางโทรศัพท์หรื อจดหมาย
นอกจากนี้จาเป็ นต้องมีส่วนร่ วมในกระบวนการตัดสิ นใจตั้งแต่ในขั้นตอนการ
ส่ งต่อ
เนือ้ หาสาระของ IEP ควรประกอบไปด้ วยเนือ้ หาสาระดังนี้
1.ข้ อมูลส่ วนตัวเกีย่ วกับนักเรียน ได้แก่ ชื่อ เพศ อายุ ประเภทของความ
บกพร่ อง เป็ นต้น
2. ผู้ร่วมชุ มเขียน IEP ระยะเวลาซึ่งระบุวนั เดือน ปี ที่ประชุม IEP วันเริ่ มต้น
ให้บริ การและวันสิ้ นสุ ดการให้บริ การ
3. ระดับความสามารถในการปฏิบตั งิ านในปัจจุบนั ในด้ านต่ างๆ เช่น ด้านการ
พูด และภาษา คณิ ตศาสตร์ การเขียน การสังคม ทักษะการเคลื่อนไหว
พฤติกรรมการรับรู ้ การช่วยเหลือตนเอง
4. เป้ าหมายระยะยาวหนึ่งปี โดยทัว่ ไปจะต้องกาหนดไว้วา่ เมื่อครบหนึ่งปี
แล้วนักเรี ยนจะเรี ยนรู ้หรื อแสดงพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ พฤติกรรมทางสังคม
อารมณ์ เป็ นต้น
5. จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมหรือจุดประสงค์ ระยะสั้ น เป็ นสิ่ งที่ครู นาไปใช้กาหนด
เขียนแผนการสอนเฉพาะบุคคล ซึ่งสามารถจัดทาแผนประจาหรื อประจาสัปดาห์
ก็ได้ โดยมีเนื้อหารายละเอียดเกี่ยวกับวิธีสอน สื่ อ การประเมินจุดประสงค์
6.กระบวนการประเมิน จะต้องมีการกาหนดให้มีการประเมินเป้ าหมายระยะยาวหนึ่ง
ปี ว่าจะกระทาเมื่อใด คือต้องระบุวา่ อย่างน้อยจะประเมินปี ละครั้ง
7.บริการเกีย่ วข้ องอื่นๆ จะระบุบริ การเกี่ยวข้องที่นกั เรี ยนที่มีความบกพร่ อง
จาเป็ นต้องได้รับ เช่น การสอนเสริ มทักษะ การทาความรู้คุน้ เคยกับ
สภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว
8. ความเห็นชอบจากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง เมื่อเขียน IEP เสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว ก่อนที่จะ
ส่ งนักเรี ยนเข้ารับบริ การและการบริ การจะเริ่ มได้น้ นั พ่อแม่จะต้องเห็นด้วยกับ
IEP นี้เป็ นรายลักษณ์อกั ษร
• แผนการจัดการศึกษา/การฝึ กอาชีพ จะระบุบริ การศึกษาที่จาเป็ นต้องจัดให้กบั
นักเรี ยน โดยต้องระบุอย่างชัดเจนว่า นักเรี ยนที่มีความบกพร่ องจะเข้าร่ วมใน
โรงเรี ยนหรื อชั้นเรี ยนปกติเป็ นเวลานานเท่าไรในแต่ละวันและแต่ละสัปดาห์
ขั้นเรียนการสอน
จะเกิดขึ้นหลังจากได้เขียน IEP เสร็ จสมบูรณ์แล้ว ในขั้นนี้จะ
ประกอบด้วยการสอนและการติดตามความก้าวหน้าของเด็ก ดังนี้
ขั้นที่ 5 การปฏิบัติตามแผนการสอน (Implementation of the
Teaching Plan)
• ในขั้นนี้ นักเรี ยนจะได้รับการจัดให้เข้าเรี ยนตามที่ตกลงกันไว้ IEP
และจะได้รับการสอนตามแผนการสอนเฉพาะบุคคล ซึ่งเป็ น
แผนการสอนที่จดั ขึ้นเฉพาะเจาะจงสาหรับนักเรี ยนคนนั้น
ขั้นที่ 6 การติดตามความก้าวหน้ าของนักเรียน
(Monitoring the Studnts Progress)
• ในหลักการ ได้มีการกาหนดให้มีการทบทวน IEP อย่างน้อยปี ละครั้ง
ในปัจจุบนั ได้มีการเสนอแนะให้ทบทวนอย่างน้อยภาคเรี ยนละครั้ง และ
มีการประเมินแผนในลักษณะคิดตามความก้าวหน้าของนักเรี ยนใน IEP
เป็ นระยะๆ
ประโยชน์ของแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
1. ครู ผูบ้ ริ หารและผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้บุคคลที่มีความ
บกพร่ องตระหนักและมีความรับผิดชอบ ต่อผลของการจัดการศึกษาที่มี
ต่อบุคคลเหล่านี้
2. ครู ผูบ้ ริ หารและผูท้ ี่เกี่ยวข้องตระหนักและทราบว่าบุคคลที่มีความ
บกพร่ องต้องการ การศึกษาเฉพาะบุคคลที่เหมาะสมและสอดคล้องกับ
ความต้องการพอเศษ ครู จึงมีหน้าที่ ที่จะต้องเตรี ยมพร้อมที่จะสอน
3.พ่อแม่ มีส่วนร่ วมในการสอน IEP สาหรับลูกของเราและได้รับทราบโดยตลอด
ตั้งแต่ตน้ ว่าทางโรงเรี ยนจะจัดการศึกษา และบริ การที่เกี่ยวข้องให้กบั ลูกของตน
อย่าไร และ แค่ไหน และทางพ่อแม่จะรับรู้ถึงสิ ทธิที่จะขอรับทราบข้อมูลต่างๆ
เกี่ยวกับลูกของตนทุกระยะ นอกจากนี้พอ่ แม่ยงั สามารถให้การสนับสนุนให้กบั
ทางโรงเรี ยนในการช่วยให้ทางโรงเรี ยนบรรลุจุดประสงค์ที่วางไว้
4.IEP รับประกันการจัดการศึกษาที่มีประสิ ทธิภาพให้กบั นักเรี ยน ไม่ใช่จดั ให้
นักเรี ยนเข้าเรี ยนโดยทางครู และโรงเรี ยนไม่มีหน้าที่ในการรับผิดชอบในการ
ติดตามความก้าวหน้า และนอกจากนี้จะต้องนาเสนอผลการประเมินต่อ พ่อ แม่
ด้วย
5.IEP ช่วยให้ทางโรงเรี ยนจัดหารหรื อจัดบริ การเสริ มที่นกั เรี ยนจาเป็ นต้องได้รับ
เพื่อช่วยให้การฟื้ นฟูสมรรถภาพในการศึกษาสาหรับนักเรี ยนที่มีความบกพร่ อง
หรื อมีความต้องการพิเศษ หรื อ ประสิ ทธิภาพ มีผลต่อการพัฒนาทุกด้านของ
นักเรี ยน
สรุป
• ในการจัดแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลนั้น โดยทัว่ ไปจะจัดให้กบั เด็กอายุ
3 ปี ขึ้นไป ซึ่งโดยทัว่ ไปเด็กเหล่านี้จะเข้ามาอยูใ่ นระบบการศึกษา
อย่างไรก็ตาม นักการศึกษายังมีความเห็นว่า สาหรับการจัดแผนการ
ศึกษาเฉพาะบุคคลให้กบั เด็กอายุ 0-2 ปี ควรจะจัดทาแผนเฉพาะ
ครอบครัว โดยให้ความสาคัญต่อสิ ทธิของครอบครัวที่จะต้องได้รับ
ความคุม้ ครอง ช่วยเหลือตามกระบวนการทางกฎหมาย กล่าวคือ
1.มีสิทธิ ต่อข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาของเด็กทั้งหมดที่หน่วยงานจัดหาและเก็บ
รวบรวมได้ซ่ ึ ง จะช่วยให้พอ่ แม่เข้าใจชัดเจนยิง่ ขึ้นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานของ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในเรื่ องของการประเมินเพื่อบุ่งชี้ความบกพร่ อง หรื อ
ความต้องการพิเศษของเด็ก การประเมินผลและการติดตามความก้าวหน้าของ
พัฒนาการของเด็กและจัดการให้เด็กเข้ารับบริ การเพิ่มเติมและบริ การทาง
การศึกษา
2.ได้รับการแจ้งล่วงหน้า อาจจะมีการริ เริ่ มหรื อการเปลี่ยนแปลงในเรื่ องที่เกี่ยวกับ
การประเมินเพื่อรับบริ การการเข้าเรี ยน ในการแจ้งล่วงหน้านี้ตอ้ งมีคาอธิบาย
ทางเลือกอื่นๆที่ทางโรงเรี ยนไม่ได้เลือกใช้กบั เด็ก และจะต้องอธิ บายถึกการ
ใช้ขอ้ มูลจัดการประเมิน สิ่ งที่สาคัญยิง่ คือ คาอธิ บายต่างๆเหล่านี้ตอ้ งจัดทาให้
พ่อแม่เกิดความเข้าใจ เช่น อาจจาเป็ นต้องมีการอธิ บายเป็ นภาษาท้องถิ่นใน
การสื่ อความเข้าใจกับพ่อแม่
3.ได้รับอนุญาตจากพ่อแม่ก่อนที่จะประเมินเด็กเพื่อจัดเข้ารับบริ การ หรื อเข้ารับ
การศึกษาพิเศษ
4.จัดให้มีกระบวนการรับฟังความเห็น หมายถึง การประชุมเพื่อทาความตกลงใน
ข้อที่ขดั แย้งเกี่ยวกับเรื่ องของความประเมินเพื่อบ่งชี้ การประเมินติดตาม
ความก้าวหน้า การจัดให้เข้ารับการบริ การ หรื อ เข้าเรี ยนทางการศึกษา
5.หากพ่อแม่ไม่พอใจกับผลประเมิน โดยหน่อยงานของรัฐหรื อโรงเรี ยน และ
ต้องการให้มีการประเมินใหม่ ก็อาจขอร้องให้มีการประเมินจากองค์การ หรื อ
หน่วยงานอิสระได้ รัฐควรเป็ นผูร้ ับผิดชอบค่าใช้จ่าย นอกจากสิ ทธิของพ่อแม่
ตามกระบวนการตามกฎหมายแล้ว IFSP ยังให้ความสาคัญต่อการรักษาข้อมูล
ของเด็กและครอบครัวเป็ นความลับ และอาจจะมีการให้ขอ้ มูลแก่บุคคลอื่นหรื อ
หน่วยงานใด จะต้องได้รับอนุญาตจากพ่อแม่เสี ยก่อน รวมทั้งต้องมีการระบุใน
IFSP เกี่ยวกับการจัดให้เด็กเข้ารับบริ การในหน่วยงานใดและสิ่ งแวดล้อมของ
สถานะนั้นๆ