โดย ผศ.ดร.กิริยา กุลกลการ

Download Report

Transcript โดย ผศ.ดร.กิริยา กุลกลการ

การบริหารจัดการแรงงานข้ ามชาติ
ในประเทศไทยและต่ างประเทศ
ผศ.ดร. กิริยา กุลกลการ
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
[email protected]
สนับสนุนโดยสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
10 กรกฎาคม 2557
หัวข้อการบรรยาย
•
•
•
•
ข้ อมูลแรงงานเพื่อนบ้ านในประเทศไทย
พัฒนาการนโยบายแรงงานต่างด้ าวของไทย
นโยบายแรงงานต่างชาติในต่างประเทศ
บทเรี ยนและข้ อเสนอแนะในการบริหารจัดการแรงงานข้ ามชาติใน
ประเทศไทย
ข้อมูลเกี่ยวกับแรงงานเพือ่ นบ้านในประเทศไทย
• แรงงานเพื่อนบ้ านมีจานวนเพิ่มสูงขึ ้นเป็ น 4 ล้ านคน คิดเป็ น 10%
กาลังแรงงานไทย หรื อ 20% ของกาลังแรงงานที่มีการศึกษาต่ากว่า
ประถม 6
• องค์ประกอบแรงงานเพื่อนบ้ านที่มีใบอนุญาตทางานเปลี่ยนไปมาก
• ปี 2557 แรงงานต่างด้ าว 1.5 ล้ านคน พิสจู น์สญ
ั ชาติ 1.1 ล้ านคน
MOU 3 แสนคน เข้ าเมืองผิดกฎหมายตามมติครม.3 สัญชาติ 2
หมื่นคน
ปี 2555 จานวนแรงงานต่างด้ าว 3 สัญชาติที่ได้ รับใบอนุญาตทางานรวม
994,749 คน
ปี 2553 จานวนแรงงานต่างด้ าว 3 สัญชาติที่ได้ รับ
ใบอนุญาตทางานรวม 1,203,698 คน
19.0%
16.9%
พิสจู น์สญ
ั ชาติ
3.6%
9.4%
MOU
73.7%
เข้ าเมืองผิดกม.ตามมติ
ครม.3สัญชาติ
77.4%
พัฒนาการของนโยบายแรงงานต่ าวด้ าวของไทย
• 2535-2543 จดทะเบียนเฉพาะตัวแรงงาน อนุญาตทางานเฉพาะบางจังหวัด บาง
ภาคการจ้ างงาน แรงงานต้ องมีนายจ้ างพามาจดทะเบียน เริ่ มบังคับซื ้อบัตรประกัน
สุขภาพปี 2542
• 2544 ตังกบร.และเปิ
้
ดให้ จดทะเบียนทัว่ ประเทศ ทุกอุตสาหกรรมครัง้ แรก
• 2545-46 ทา MOU การจ้ างแรงงานระหว่างไทยกับ 3 ประเทศ
• 2547 เปิ ดให้ มีการจดทะเบียนขึ ้นทัว่ ประเทศ ทุกอุตสาหกรรม ในลักษณะของการเป็ น
พลเมือง จดทะเบียนนายจ้ าง กาหนดโควตา
• 2548 นาเข้ าแรงงานอย่างถูกกฎหมาย
• 2550 พิสจู น์สญ
ั ชาติ
• 2551 พรบ.การทางานของคนต่างด้ าวฉบับใหม่
• 2553 ขยายเวลาพิสจู น์สญ
ั ชาติและกาหนดให้ แรงงานส่งเงินเข้ ากองทุนส่งกลับ
• 2555 พยายามปิ ดตานานแรงงานข้ ามชาติเถื่อนในประเทศไทย
• 2556-ปั จจุบนั ขยายเวลาพิสจู น์สญ
ั ชาติ เปิ ดจดทะเบียน (อีกแล้ ว?)
22 ปี (2535-2557) ของการบริหารจัดการแรงงานต่ างด้ าว
ในประเทศไทย
แบ่งเป็ น 3 ขัน้
1. การขึ ้นทะเบียนเพื่อผ่อนผันให้ แรงงานข้ ามชาติผิดกฎหมายอยูใ่ น
ประเทศไทยได้ ชวั่ คราว
2. การปรับสถานะแรงงานข้ ามชาติที่ขึ ้นทะเบียนให้ เป็ นผู้เข้ าเมืองถูกต้ อง
ตามกฎหมาย
3. การนาเข้ าแรงงานข้ ามชาติอย่างถูกกฏหมายจากประเทศต้ นทางทัง้
ระบบ
ประเมินนโยบายเบื้องต้น (1)
1. ยังไม่เห็นความพยายามจะลดการพึง่ พาแรงงานข้ ามชาติ
2. นโยบายมีลกั ษณะระยะสัน้ และไม่ยืดหยุน่ ตามพื ้นที่และอุตสาหกรรม
3. การปฏิบตั ิงานขาดบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ไม่นาข้ อมูลมาใช้
และขาดแคลนบุคลากร
4. โควตาไม่ได้ สะท้ อนความต้ องการแรงงานที่แท้ จริง และขาดการมอง
ปั ญหาระดับมหภาค
5. ค่าธรรมเนียมค่อนข้ างสูง ขันตอนและเอกสารมาก
้
ประเมินนโยบายเบื้องต้น (2)
6. การสกัดกัน้ ปราบปราม ส่งกลับยังด้ อยประสิทธิภาพ
7. การคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการแรงงานยังมีปัญหา
8. รัฐบาลต้ องรับภาระการคลังด้ านต่างๆ
9. เกิดชุมชนแรงงานต่างด้ าวในพื ้นที่ตา่ งๆ
10. ยังไม่มีนโยบายชัดเจนในเรื่ องครอบครัว
การบริ หารจัดการแรงงานต่างชาติในต่างประเทศ
ประเทศสิงคโปร์
1980s ผลิตสินค้ าเข้ มข้ นด้ านเทคโนโลยี
-
เลิกจ้ างแรงงานต่ างชาติ
เก็บภาษีการใช้ แรงงานต่ างชาติ
ตรวจการตัง้ ครรภ์
ห้ ามแต่ งงาน
กาหนดเพดานการพึ่งพา
แรงงานก่ อสร้ างต้ องได้ รับใบรั บรองผลการทดสอบฝี มือ
มีการกาหนดอายุแรงงานไม่ เกิน 50 ปี
อัตราภาษีขนึ ้ กับประเภทอุตสาหกรรม อัตราการพึ่งพา ทักษะฝี มือ
แรงงาน
อัตราพึ่งพาและอัตราภาษีการใช้ แรงงานต่ างชาติ
•Temporary Worker
•Foreign Domestic Worker
-อายุ 23-65 ปี
- อัตราภาษีของแรงงานต่ างชาติ เดือนละ 265
ดอลลาร์ สิงคโปร์
-อายุ 23-50 ปี
-การศึกษา ภาษา
-การฝึ กอบรม
-อัตราภาษีของแรงงานต่ างชาติ
เดือนละ 265 ดอลลาร์ สิงคโปร์
- นายจ้ างต้ องผ่ านการอบรม
EOP และการสอบสั มภาษณ์
ข้ อสังเกตเกี่ยวกับนโยบายสิงคโปร์
1.มีการแบ่งประเภทของการให้ ใบอนุญาตตามทักษะฝี มือ และการทางานในแต่ละ
ภาคอุตสาหกรรมอย่างชัดเจน โดยการใช้ การผ่านการทดสอบฝี มือแรงงาน
2.รัฐบาลมีการปรับอัตราภาษี อัตราการพึง่ พาแรงงานต่างชาติให้ ตอบสนองต่อ
สถานการณ์ในประเทศอยูเ่ สมอ
3.นายจ้ างมีสว่ นรับผิดชอบในการจ้ างแรงงานประเภทไร้ ฝีมือ หรื อกึง่ ฝี มือมากทังในเรื
้ ่ อง
ของการจัดหาที่อยูอ่ าศัย ค่ารักษาพยาบาล ประกันสังคม การอบรมพัฒนาทักษะ
แรงงาน และการเสียภาษี แรงงานต่างชาติตามระดับการพึง่ พาแรงงานต่างชาติ
4.กฎระเบียบ และกฎหมายต่างๆที่เข้ มงวด และนโยบายที่เป็ นระบบ
5.มีการใช้ เทคโนโลยีเข้ ามาช่วยในการตรวจสอบแรงงานต่างชาติผิดกฎหมาย
6. แม่บ้านชาวต่างชาติในสิงคโปร์ ไม่ได้ รับการคุ้มครองจากพระราชบัญญัติการจ้ างงาน
(Employment Act) มีเพียงการทาสัญญาการจ้ างงาน
7. จากัดสิทธิของแรงงานต่างชาติที่ไร้ ฝีมือมากในเรื่ องการตังครรภ์
้
และแต่งงาน (แต่
อาจจะดีตอ่ สังคมของสิงคโปร์ )
เกาหลีใต้
• นโยบายแรงงานทดแทนในฐานะผู้ฝึกงาน(ITS)
• นโยบายใบอนุญาตทางาน (EPS)
• อนุญาต 5 สาขา
– อุตสาหกรรมที่มีคนงานไม่ เกิน 300 คน
– การประมง ระวางเรื อ 10-25 ตัน
– เกษตรเลีย้ งสัตว์
– ก่ อสร้ าง
– การบริการ เช่ น ร้ านอาหาร งานสนับสนุนการประกอบการ เช่ น
ทาความสะอาดตึก แม่ บ้าน
ขั้นตอนการจัดส่ งแรงงาน
ไทย
1.รั บสมัครสอบภาษาเกาหลี
เกาหลีใต้
5.HRDตรวจสอบ/รั บรองรายชื่อที่ส่งมาจากไทย
2.ผู้สอบผ่ านตรวจสุขภาพ
6.นายจ้ างยื่นคาร้ องขอจ้ างแรงงานต่ างชาติ
3.รั บรายงานตัวผู้สอบผ่ าน
7.นายจ้ างคัดเลือกคนหางาน
4.จัดทาบัญชีรายชื่อคนหางาน
8.กระทรวงแรงงานเกาหลีใต้
ออกใบอนุญาตการจ้ างงาน
เกาหลีใต้
ไทย
9. HRDรั บมอบอานาจจากนายจ้ าง
ในการทาสัญญาจ้ าง
ไทย
10. คนหางานลงนามสัญญาจ้ างงาน
11.อบรมภาษาและวัฒนธรรม
ก่ อนการเดินทาง 45 ชั่วโมง
13.เดินทางไปเกาหลี
เกาหลีใต้
14.ตรวจสุขภาพ
และฝึ กอบรมก่ อนการทางาน
15.ส่ งคนงานเข้ าทางานกับนายจ้ าง
16.ทางานครบ 1 ปี เดินทางกลับ
12.ยื่นขอวีซ่า
***ผู้ท่ ไี ม่ เคยเปลี่ยนนายจ้ างสามารถเดินทางกลับมา
ทางานระบบ re-entry สูงสุดอีก 4ปี 11เดือน
ข้อสังเกตเกี่ยวกับนโยบายเกาหลีใต้
•
•
•
•
จัดการแบบรัฐต่อรัฐ
มีการฝึ กอบรมแรงงาน และมีระบบคุ้มครองแรงงานอย่างดี
ตามใจผู้ประกอบการ ไม่มีการเก็บ levi
มีทีมงานคอยหาข้ อมูลเศรษฐกิจเพื่อประกอบการกาหนดโควตา
ไต้ หวัน
กาหนดอาชีพที่ใช้ แรงงานต่างชาติได้ 5 ประเภท ดังนี ้
1. ก่อสร้ าง
2. โรงงาน-ส่งออก
3. แม่บ้าน -เด็กอายุไม่เกิน 3 ขวบ หรื อฝาแฝด และคนแก่
4. พยาบาล
5. ภาคเกษตรและประมง
ลักษณะของนโยบาย
•
•
•
•
•
•
อนุญาตให้ ใช้ แรงงานต่างชาติได้ เนื่องจากการขาดแคลนแรงงาน
ใช้ ทงระบบรั
ั้
ฐต่อรัฐ และให้ เอกชนทา
มีการใช้ Levy และเพดานพึง่ พิง
ปรับลดโควตาลงสาหรับบริษัทที่แรงงานต่างชาติหลบหนี
ยึดใบอนุญาตบริษัทนายหน้ าที่แรงงานต่างชาติหลบหนีบอ่ ยเกินไป
ยืดอายุใบอนุญาตเพื่อลดต้ นทุนการฝึ กอบรม
มาเลเซีย
มาตรการอภัยโทษ
- เริ่ มตั้งแต่ปลายเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.1991 ถึงเดือน
สิ งหาคม ค.ศ.1994
- เริ่ มทาทีละส่วน เริ่ มจากงานรับใช้ ขยายไปสู่ภาค
เกษตรกรรมและภาคก่อสร้าง
- ประสบความสาเร็จในระดับหนึ่งแต่ยงั คงมีแรงงาน
ผิดกฎหมายบางส่วนที่ไม่เข้าร่ วมมาตรการนี้
มาตรการ Ops Nyah 1
- เริ่ มตั้งแต่ 3 ธันวาคม ค.ศ.1992 ถึง ธันวาคม ค.ศ.1995
- เป็ นมาตรการตรวจจับแรงงานต่างชาติผดิ กฎหมายอย่าง
เข้มงวดและรุ นแรง โดยเน้นตรวจจับตามตะเข็บชายแดน
และอาณาเขตน่านน้ าต่างๆ จึงมีแรงงานต่างชาติที่พยายาม
ลักลอบเข้าประเทศถูกจับเป็ นจานวนมาก
- แรงงานที่ถูกจับได้จะถูกดาเนินคดีตามสถานกักกัน
ในแต่ละพื้นที่โดยไม่มีการยกเว้น
- ยังมีขอ้ บกพร่ องตรงที่ไม่สามารถจับแรงงานผิด
กฎหมายที่อยูใ่ นประเทศอยูแ่ ล้วได้
มาตรการ Ops Nyah 2
- เป็ นมาตรการที่พฒั นาต่อจาก Ops Nyah 1
- เริ่ มตั้งแต่กรกฎาคม ค.ศ.1992 ถึง ธันวาคม ค.ศ.1995
- ตรวจจับแรงงานต่างชาติผดิ กฎหมายภายในประเทศโดย
อาศัยกองกาลังต่างๆ เช่น RELA และ MMEA
- เมื่อใช้ควบคู่กบั มาตรการ Ops Nyah 1 ทาให้เกิด
ประสิ ทธิภาพในการจับกุมแรงงานต่างชาติผดิ กฎหมาย
ขึ้นมาก เพราะสามารถตรวจจับผูท้ ี่เล็ดรอดจาก
มาตรการอภัยโทษและ Ops Nyah 1 ได้ดี
การจ้ างแรงงานต่ างชาติ
แรงงานต่างชาติทางานได้ใน 5 ภาค
ส่ วน คือ
1.ภาคการผลิต
2.ภาคการเพาะปลูกหรื องานสวน
3.ภาคเกษตรกรรม
4.ภาคก่อสร้าง
5.ภาคบริ การ
ภาคบริ การ แบ่งย่อยเป็ น 11 ประเภทดังนี้
1.บริ การในร้านอาหาร
2.ทาความสะอาด
3.บริ การขนส่ งสิ นค้า
4.บริ การซักรี ด
5.แคดดี้ในสนามกอล์ฟ
6.ช่างตัดผม
7.ช่างตัดเย็บผ้า
8.พนักงานขายสิ นค้า
9.คนดูแลสถานสงเคราะห์
10.พนักงานโรงแรม,รี สอร์ต
11.งานรี ไซเคิลโลหะ
ประเภทของงาน
ประเทศทีส่ ามารถทางานได้
ภาคการก่อสร้ าง
ฟิ ลิปปิ นส์(เฉพาะผูช้ าย) อินโดนีเซีย กัมพูชา คาซัสถาน ลาว พม่า เนปาล ไทย เติร์กเมนิสถาน อุซเบกิสถาน
เวียดนาม บังคลาเทศ
ภาคการผลิต
ฟิ ลิปปิ นส์(เฉพาะผูช้ าย) อินโดนีเซีย(เฉพาะผูห้ ญิง) กัมพูชา คาซัสถาน ลาว พม่า เนปาล ไทย เติร์กเมนิสถาน
อุซเบกิสถาน เวียดนาม บังคลาเทศ
ภาคการเพาะปลูก/เกษตรกรรม
ฟิ ลิปปิ นส์(เฉพาะผูช้ าย) อินโดนีเซีย อินเดีย กัมพูชา คาซัสถาน ลาว พม่า เนปาล ไทย เติร์กเมนิสถาน อุซ
เบกิสถาน เวียดนาม บังคลาเทศ
ภาคการบริการ
- ร้ านอาหาร
ทุกประเทศ(ส่ วนประเทศอินเดียทาได้เฉพาะงานทาอาหารเท่านั้น)
- ซักรีด
ทุกประเทศยกเว้นอินเดีย
- ทาความสะอาด
ทุกประเทศยกเว้นอินเดีย
- แค๊ ดดีใ้ นสนามกอล์ฟ
ทุกประเทศยกเว้นอินเดีย
- พนักงานรีสอร์ ตตามเกาะต่ างๆ
ทุกประเทศยกเว้นอินเดีย
- งานในสถานสงเคราะห์
ทุกประเทศยกเว้นอินเดีย
- ขนส่ งสิ นค้ า
ทุกประเทศยกเว้นอินเดีย
- ติดตั้งสายเคเบิล
เฉพาะแรงงานจากประเทศอินเดียอย่างเดียวเท่านั้น
คนรับใช้
ศรี ลงั กา อินโดนีเซีย ไทย ฟิ ลิปปิ นส์ กัมพูชา และห้ามชาวเวียดนามทา
พยาบาลต่ างชาติ
อัลบาเนีย อินเดีย บังคลาเทศ ฟิ ลิปปิ นส์ ปากีสถาน อินโดนีเซีย พม่า และห้ามชาวเวียดนามทา
ประเภทของใบอนุญาต
ประเภทของแรงงาน
ระยะเวลา
ภาคเศรษฐกิจ
ค่าธรรมเนียม
Visit pass temporary
employment
ไร้ฝีมือและกึ่งมีฝีมือ
หรื อแรงงานมีฝีมือที่มีเงิน
ได้นอ้ ยกว่า 1,200 ริ งกิต
มาเลเซียต่อเดือนและมี
อายุระหว่าง 18-45 ปี
ไม่เกิน 1 ปี
สามารถต่อ
สัญญาได้ 5 ปี ใน
ภาคการ
เพาะปลูกและ 3
ปี ในภาคการผลิต
และบริ การ
ภาคการผลิต
- ไร้ฝีมือ 840 ริ งกิตมาเลเซีย
- กึ่งมีฝีมือ 1,200 ริ งกิตมาเลเซีย
- มีฝีมือ 1,800 ริ งกิตมาเลเซีย
ภาคก่อสร้าง
มี
ไม่เกิน 1 ปี
ภาคการเพาะปลูก มี
ภาคบริ การ
มี
ภาคงานรับใช้
มี
ไม่กาหนด
-
Visit pass professional
employment
แรงงานจาพวกช่าง
เทคนิค
Employment pass
แรงงานมีฝีมือ ช่าง
อย่างต่า 2 ปี ต่อ ภาคการผลิต
ผูช้ านาญการ นักลงทุน สัญญาได้อีกเป็ น
นักบริ หารระดับสูง และ ระยะเวลา 5 ปี
มีค่าจ้างไม่ต่ากว่า 1,200
ริ งกิตมาเลเซียต่อเดือน
อื่นๆ
- Technical 2,400 ริ งกิตมาเลเซีย
- Professional
& middle
management 3,600 ริ งกิตมาเลเซีย
- Upper
management 4,800 ริ งกิตมาเลเซีย
มี
ประเทศสหรัฐอเมริกา
Guest worker program เป็ นโครงการเพื่อนาเข้ า
แรงงานไร้ ฝีมือมาทางานในสหรัฐฯชัว่ คราวหรื อตามฤดูกาล โดยไม่สามารถ
พาครอบครัวของแรงงานเข้ ามาได้ แบ่งเป็ น
H-2A Visa สาหรับงานในภาคการเกษตร และ
H-2B Visa สาหรับงานนอกภาคการเกษตร
ซึง่ อนุญาตให้ นายจ้ างสามารถจ้ างแรงงานต่างชาติเข้ ามาทางานที่
คนอเมริกนั ไม่ต้องการทาได้ ซงึ่ ส่วนใหญ่คืองานชันล่
้ าง ภายใต้ การควบคุม
โดยรัฐบาล
ผลของการใช้ Guest Worker Program ที่ผ่านมา
• ผลต่อนายจ้ าง
1) กระบวนการเหล่านี ้ทาให้ นายจ้ างยุง่ ยาก ใช้ เวลานานและต้ องเสียเงินในการ
ดาเนินการมากกว่าการจ้ างแรงงานผิดกฎหมาย ทาให้ ในทางปฏิบตั ิโครงการนี ้
ใช้ ไม่ได้ ผลมากนัก
2) จากการกาหนดจานวน H-2B Visa ไว้ ที่ 66,000 วีซา่ ต่อปี และไม่ให้
เปลี่ยนนายจ้ างนัน้ ทาให้ อตุ สาหกรรมบางอย่างที่เติบโตสูงในช่วงหน้ าร้ อนไม่กี่
เดือน ไม่สามารถหาแรงงานเข้ ามาเติมเต็มงานชัว่ คราวช่วงนี ้ได้ พอ เพราะ
จานวนนี ้ถูกจากัดให้ ทางานได้ ที่เดียวเป็ นระยะเวลาหนึ่งปี และเมื่อครบจานวนวี
ซ่าแล้ ว ก็ไม่เปิ ดเพิ่มให้ ขอได้ อีกจนกว่าจะถึงครึ่งต่อมาของปี งบประมาณ
• ผลต่อแรงงาน
• จากลักษณะของโครงการซึง่ แรงงานจะต้ องผูกติดกับนายจ้ างเดียว และไม่มี
การควบคุมการปฏิบตั ติ ามสัญญาจ้ างงานอย่างเคร่งครัดจากรัฐบาล อานาจ
ระหว่างนายจ้ างกับแรงงานจึงไม่เท่าเทียมกันอย่างมาก นายจ้ างมีอานาจ
มากกว่า เพราะแรงงานไปหางานทาที่อื่นไม่ได้ ไม่เช่นนันจะกลายเป็
้
นแรงงาน
ผิดกฎหมายทันที ทาให้ แรงงานโดนเอาเปรี ยบได้ ง่าย
• ไม่มีการอบรมภาษาอังกฤษให้ กบั แรงงานหรื อการอบรมใดก็ตามก่อนหน้ า
เนื่องจากไม่มีข้อกาหนดเอาไว้ ทาให้ แรงงานไม่เข้ าใจสัญญาจ้ างงานและ
สิทธิประโยชน์ที่ตนเองพึงจะได้ รับ
• อุตสาหกรรมบางอย่างไม่ทราบฤดูกาลที่ชดั เจนว่าช่วงเวลาใดถึงทาการผลิต
หรื อเก็บเกี่ยวได้ เช่น อุตสาหกรรมอาหารทะเล ทาให้ บางครัง้ แรงงานอาจไม่
มีงานทาได้ หลายสัปดาห์โดยนายจ้ างไม่จา่ ยค่าจ้ างให้ เนื่องจากไม่มีงานให้
ทา แต่แรงงานอาจต้ องจ่ายค่าอาหารและที่พกั เอง
บทเรี ยน
• อนุญาตให้ แรงงานต่างชาติไร้ ฝีมือทางานเพียงชัว่ คราว ต้ อนรับแรงงาน
มีฝีมือมากกว่าไร้ ฝีมือ
• แนวทางบริหารจัดการคานึงถึง 3 ด้ าน
– ความมัน่ คงของชาติ – USA
– ความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ – สิงคโปร์
– ความมัน่ คงของแรงงาน --- เกาหลี
ข้อเสนอแนะ
•
•
•
•
•
กาหนดทิศทางประเทศ เพื่อกาหนดนโยบายแรงงานให้ สอดรับ
บังคับใช้ กฏหมาย
มีมาตรการควบคุมคุณภาพแรงงานและลดการพึง่ พิงแรงงานราคาถูก
นายจ้ างเสียภาษี การใช้ แรงงานต่างชาติตามระดับการพึง่ พา
สร้ างระบบที่เหมาะสมกับประเภทอุตสาหกรรมและพื ้นที่ แต่ต้องง่ายต่อการ
ปรับเปลี่ยนให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
• มีหน่วยงานทาหน้ าที่วิเคราะห์ข้อมูลและสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคม
อย่างเป็ นระบบและมีประสิทธิภาพ
• นาเทคโนโลยีมาใช้ ในการจัดเก็บข้ อมูลแรงงานต่างชาติและนายจ้ างอย่างเป็ น
ระบบ เปิ ดเผยและนาข้ อมูลมาใช้ ประโยชน์
• ดูแลคุ้มครองและพัฒนาฝี มือแรงงานต่างชาติ