ไฟล์บรรยายจาก กรมการจัดหางาน

Download Report

Transcript ไฟล์บรรยายจาก กรมการจัดหางาน

“การบริหารจัดการแรงงาน
ต่างด้าวสัญชาติเมียนมา ลาว
และกัมพูชา”
โดย...นายโอวาท ทองบ่อมะกรูด
นักวิชาการแรงงานชานาญการ
สานักบริหารแรงงานต่างด้าว
กรมการจัดหางาน
ภารกิจกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
จัดหางานให้ ประชาชนที่ว่างงาน ตกงานได้ มีงานทา
ส่ งเสริมการประกอบอาชีพอิสระ
ควบคุมการจัดส่ งแรงงานไทยไปต่ างประเทศ
ควบคุมการทางานของคนต่ างด้ าว
เผยแพร่ ข่าวสารตลาดแรงงาน
หน่ วยงานในสังกัด
สานักงานจัดหางานจังหวัด 76 จังหวัด
สานักจัดหางานเขตพืน้ ที่ 1 - 10
กฎหมายที่ใช้ บังคับ
พ.ร.บ. จัดหางานและคุ้มครองคนหางาน
พ.ศ.2528
พ.ร.บ. การทางานของคนต่ างด้ าว พ.ศ.2551
4) คนต่างด้าวตามมาตรา 14
คนต่างด้าวซึ่ งมีภูมิลาเนาและเป็ นคนสัญชาติของ
ประเทศที่มีชายแดนติดกับประเทศไทย ถ้าได้เข้ามาในราชอาณาจักร
โดยมีเอกสารใช้แทนหนังสื อเดินทางตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
อาจได้รับอนุญาตให้ทางานบางประเภทหรื อลักษณะงาน
ในราชอาณาจักรเป็ นการชัว่ คราวในช่วงระยะเวลาหรื อตามฤดูกาล
ที่กาหนดได้ ทั้งนี้ เฉพาะการทางานภายในท้องที่ที่อยูต่ ิดกับชายแดน
หรื อท้องที่ต่อเนื่องกับท้องที่ดงั กล่าว
การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว
สัญชาติพม่า ลาว กัมพูชา
การอพยพเคลือ่ นย้ ายของแรงงานต่ างด้ าวหลบหนีเข้ ามา
ในประเทศไทย (Migration)
รวมทั้งหมด
ภาคกลาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคเหนือ
ภาคใต้
38 จังหวัด
10 จังหวัด
8 จังหวัด
9 จังหวัด
11 จังหวัด
ผลกระทบจากแรงงานต่ างด้ าวหลบหนีเข้ าเมือง
ด้ านเศรษฐกิจ
ด้ านสั งคม
ด้ านการเมือง
ผลกระทบด้ านเศรษฐกิจ
ผลดีต่อเศรษฐกิจ
บรรเทาปั ญหาการขาดแคลน
แรงงาน
ผลเสียต่ อเศรษฐกิจ
-โครงสร้ างค่ าจ้ างแรงงานไทย
-การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต
-การแย่ งงานบางอาชีพ
-งบประมาณของประเทศ
-ข้ ออ้ างในการกีดกันทางการค้ า
ระหว่ างประเทศ
ผลกระทบด้ านสั งคม
ปั ญหาสาธารณสุขและสิ่งแวดล้ อม(โรคติดต่ อ การให้ บริการ)
ปั ญหาชุมชนคนต่ างด้ าว
ปั ญหาบุตรและผู้ตดิ ตาม
ปั ญหาการละเมิดกฎหมาย
ผลกระทบด้ านอืน่ ๆ
ปัญหาด้ านการเมืองระหว่ างประเทศ
ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ปัญหาด้ านภาพในลักษณ์ เชิงลบ
พ.ศ. 2547
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ
ยุทธศาสตร์
บริหารจัดการแรงงานต่างด้าว
ทั้งระบบ
เป้ าหมาย
• เพื่อให้มีการจ้างแรงงานอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
• เพื่อแก้ไขปัญหาภายใต้ความร่ วมมือและการรับรู ้ของประเทศต้นทาง
• เพื่อแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับความต้องการแรงงานที่แท้จริ ง
และทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
• เพื่อให้การจ้างแรงงานไม่เกิดปัญหาผลกระทบต่อความมัน่ คงของชาติ
เป้าหมายสุ ดท้ ายของการบริหารจัดการแรงงานต่ างด้ าว
“การใช้ แรงงานต่ างด้ าวอย่ างถูกต้ องตามกฎหมาย”
ดาเนินการตามแนวทาง 3 ลักษณะ ดังนี้
1. เป็ นการแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า คือ การผ่อนผันให้
แ ร ง ง า น ต่ า ง ด้ า ว ห ล บ ห นี เ ข้ า เ มื อ ง ที่ ห ล บ ห นี
และลักลอบท างานอยู่ในประเทศไทยอยู่แล้ว อยู่ใ น
ราชอาณาจักรเป็ นการชัว่ คราว และอนุญาตให้ทางาน
2. การพิ สู จ น์ สั ญ ชาติ แ รงงานต่ า งด้า วหลบหนี
เข้า เมื อ งเพื่ อ ปรั บ เปลี่ ย นสถานะแรงงานต่ า งด้า ว
หลบหนี เข้าเมืองที่ จดทะเบียนประวัติและผ่อนผัน
ไว้ให้เป็ นผูเ้ ข้าเมืองโดยถูกกฎหมาย โดยให้ประเทศ
ต้น ทางพิ สู จ น์ สั ญ ชาติ เ พื่ อ ออกหนั ง สื อ เดิ น ทาง
ให้กบั แรงงานของประเทศตน
3. การนาแรงงานต่างด้าวรายใหม่เข้ามาทางานอย่าง
ถู ก ต้ อ งตามกฎหมายตามบั น ทึ ก ความเข้ า ใจ
ว่าด้วยความร่ วมมือด้านการจ้างแรงงานระหว่างรัฐ
(MOU) เพื่ อ เป็ นการแก้ไ ขปั ญ หาการขาดแคลน
แรงงานให้กบั นายจ้างและเป็ นการลดการใช้แรงงาน
ต่างด้าวที่ผดิ กฎหมาย
ตัวอย่ างใบอนุญาตทางาน
ตัวอย่ างใบอนุญาตทางาน
ตัวอย่ างใบอนุญาตทางาน