Userfiles/file/PPt/IPD - กองตรวจและคุ้มครองคนหางาน

Download Report

Transcript Userfiles/file/PPt/IPD - กองตรวจและคุ้มครองคนหางาน

โดย
นายเชิดศักดิ์ วิสุทธิกุล
ผู้อานวยการกองตรวจและคุ้มครองคนหางาน

พรบ.จัดหางานฯ พ.ศ.๒๕๒๘ มีสาระสาคัญเป็ นการควบคุมการประกอบ
ธุรกิจจัดหางานให้ กับคนหางานเพื่อทางานทัง้ ในประเทศและต่ างประเทศ

กาหนดมาตรการต่ างๆ เพื่อคุ้มครองคนหางานมิให้ ถูกหลอกลวงหรื อถูก
เอาเปรี ยบ

ม.๔ นิยามคาว่ า ”จัดหางาน” ให้ หมายความถึงการประกอบธุรกิจจัดหา
งานให้ แก่ คนหางานหรื อหาลูกจ้ างให้ แก่ นายจ้ างโดยจะเรี ยกหรื อรั บ
ค่ าบริการตอบแทนหรื อไม่ กไ็ ด้ และให้ หมายรวมถึงการเรี ยกเงินหรื อ
ทรั พย์ สินหรื อประโยชน์ อ่ ืนใดเพื่อจัดหางานให้ คนหางาน

บทนิยามคาว่ า “คนหางาน” มิได้ จากัดเฉพาะการจัดหางานให้ กับ
คนหางานที่เป็ นคนไทยเท่ านัน้ แต่ มีความหมายครอบคลุมถึงบุคคลใดๆซึ่ง
ประสงค์ จะทางานโดยเรี ยกหรื อรั บค่ าจ้ างเป็ นเงินหรื อประโยชน์ อย่ างอื่น
ด้ วย ดังนัน้ เมื่อแรงงานต่ างด้ าวได้ เข้ ามาในประเทศไทยแล้ วและประสงค์
จะทางานโดยเรี ยกหรื อรั บค่ าจ้ างเป็ นเงินหรื อประโยชน์ อย่ างอื่น แรงงาน
ต่ างด้ าวดังกล่ าว จึงอยู่ในฐานะ “คนหางาน” ตามมาตรา ๔

ดังนัน้ การประกอบธุรกิจเป็ นตัวแทนหรื อนายหน้ าในประเทศไทยเพื่อ
ติดต่ อจัดหางานให้ กับแรงงานต่ าว ด้ าวที่เข้ ามาในประเทศไทย ไม่ ว่าจะ
เป็ นการติดต่ อโดยตรงกับแรงงานต่ างด้ าวหรื อติดต่ อผ่ านสานักงานจัดหา
งานในต่ างประเทศก็ตาม การประกอบธุรกิจดังกล่ าวจึงเป็ นการจัดหางาน
ตามมาตรา ๔

จึงสามารถนาบทบัญญัตใิ นหมวด ๒ เกี่ยวกับการจัดหางานในประเทศมา
บังคับใช้ กรณีดังกล่ าวได้

บริษัทจัดหางานในประเทศทัง้ หมด
๔๒๘ แห่ ง
กทม.
ภูมภิ าค
๒๙๔
๑๓๔
บริษัทจัดหางานในประเทศ กรณีจัดหา/นาเข้ าแรงงานต่ างด้ าว ๒๒๔
กทม.
๑๑๑
ภูมภิ าค
๑๑๓
ระหว่ างดาเนินการ
๖
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง
กรุ งเทพฯ
สมุทรสาคร
ปทุมธานี
นนทบุรี
ชลบุรี
เชียงใหม่
ตาก
สมุทรปราการ
สงขลา
ระยอง
ฉะเชิงเทรา
จันทบุรี
กระบี่
๑๑๑
๒๘
๑๕
๑๐
๘
๘
๕
๔
๓
๓
๓
๓
๒
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง
แห่ ง

คุณสมบัตแิ ละลักษณะต้ องห้ ามของผู้รับอนุญาตจัดหางาน (มาตรา ๙)

ใบอนุญาตใช้ ได้ ในเขตจังหวัดที่นายทะเบียนระบุไว้ กาหนด ๒ ปี

การต่ ออายุใบอนุญาตจัดหางาน

ต้ องแสดงใบอนุญาตไว้ ณ ที่เปิ ดเผย และเห็นได้ ง่าย ณ สานักงานฯ

การจดทะเบียนลูกจ้ างซึ่งทาหน้ าที่เกี่ยวกับการจัดหางาน

การจัดหาคนหางานจากจังหวัดอื่น นอกจากจังหวัดที่ได้ รับอนุญาต

การจัดทาสมุดทะเบียน การจัดทาและส่ งรายงานเกี่ยวกับการจัดหางาน
ประจาเดือน ตามแบบที่อธิบดีกาหนด

การเรี ยกหรื อรั บเงินค่ าบริการ หรื อค่ าใช้ จ่ายจากคนหางาน
ประกาศกระทรวง เรื่ อง กาหนดอัตราค่ าบริการและค่ าใช้ จ่ายที่เรี ยกเก็บจาก
คนหางาน ฉบับที่ ๔ ลงวันที่ ๗ ก.ค. ๒๕๓๘ ให้ เรี ยกหรื อรั บค่ าบริการจาก
คนหางานได้ ไม่ เกินอัตราร้ อยละ ๒๕ ของค่ าจ้ างรายเดือนที่คนหางานจะได้ รับ
จากค่ าจ้ างในเดือนแรก

ออกใบรั บค่ าบริการและค่ าใช้ จ่ายตามแบบที่อธิบดีกาหนด

ออกประกาศกระทรวง เรื่ อง กาหนดค่ าบริการและค่ าใช้ จ่าย ฯ (กรณี
จัดหา/นาเข้ าแรงงานต่ างด้ าว) แยกต่ างหากจากประกาศกระทรวงเดิม ที่
บังคับใช้ กรณีจัดหางานให้ คนไทยในประเทศ

ออกกฎกระทรวง เรื่ อง กาหนดหลักประกันในการขอรั บอนุญาตจัดหางาน
เฉพาะการจัดหา/นาเข้ าแรงงานต่ างด้ าว ( ปั จจุบันกรณีในประเทศ ๑ แสน
บาท กรณีต่างประเทศ ๕ ล้ านบาท )

ออกประกาศกระทรวงกาหนดประเภทธุรกิจที่ห้ามไม่ ให้ ผ้ ูรับอนุญาตจัดหา
งานทาควบคู่ไปกับธุรกิจจัดหางาน
ประเด็นที่ประเทศไทยถูกกล่ าวหาในรายงานสถานการณ์ การค้ ามนุษย์ของ
กต.สหรั ฐอเมริกา

การหลอกลวง/กดขี่แรงงานไทยในประเทศไทย

การหลอกลวง/กดขี่แรงงานไทยที่ไปทางานในต่ างประเทศ

การหลอกลวง/กดขี่แรงงานต่ างด้ าวในประเทศไทย
1.ประเทศไทยได้ รับการยกเว้ นจากการลดระดับลงเป็ น tier 3 และ
จัดอันดับประเทศไทยอยู่ในระดับ tier 2 watch list เป็ นปี ที่ 4
ติดต่ อกัน
เหตุผล : ประเทศไทยมิได้ แสดงหลักฐานว่ ามีความพยายามเพิ่มขึน้ ในการ
ป้องกันและปราบปรามการค้ ามนุษย์ เมื่อเทียบกับปี ที่แล้ ว
2.Tier 3 อาจจะถูกอเมริการะงับการให้ ความช่ วยเหลือที่มิใช่ ด้าน
มนุษยธรรมและเกี่ยวกับการค้ า ดังนัน้ จึงต้ องยกระดับขึน้ Tier 2 ให้ ได้
3.ใน Trafficking in Persons Report/-2013
ดังกล่ าวประเทศไทยถูกตัง้ ข้ อกล่ าวหา 15 ประเด็น

ไทยเป็ นประเทศต้ นทาง ทางผ่ าน และปลายทางของการค้ ามนุษย์ ด้าน
แรงงานบังคับและค้ ามนุษย์ ทางเพศ

แรงงานที่ไม่ มีเอกสารยังคงมีความเสี่ยงต่ อการตกเป็ นผู้เสียหายจากการค้ า
มนุษย์ มากเป็ นพิเศษ

มีการจดทะเบียนและออกใบอนุญาตการทางานในประเทศไทยให้ แก่ ผ้ ู
โยกย้ ายถิ่นฐานที่ไม่ มีเอกสารกว่ า 800,000 คน แต่ ล้มเหลวด้ านการ
จัดระบบนายหน้ า การลดค่ าใช้ จ่ายในการจดทะเบียนและการยินยอมให้
ลูกจ้ างสามารถเปลี่ยนนายจ้ างได้

แรงงานไทยที่มีความจาเป็ นทางเศรษฐกิจและต้ องการเดินทางไปทางาน
ต่ างประเทศ เป็ นกลุ่มเสี่ยงที่จะถูกหลอกให้ ก้ หู นีจ้ านวนมากเพื่อจ่ ายเป็ นค่ า
นายหน้ าและค่ าจัดหางาน บางกรณีได้ นาที่ดนิ ไปจานอง ส่ งผลให้ เกิดความ
เสี่ยงที่จะแสวงประโยชน์ มากยิ่งขึน้ เมื่อเดินทางไปถึงปลายทางแล้ ว แรงงาน
ไทยส่ วนใหญ่ จะถูกบังคับใช้ แรงงาน แสวงหาประโยชน์ ทางเพศ หรื อเป็ น
แรงงานขัดหนี ้

รั ฐบาลไทยได้ เพิกถอนใบอนุญาตบริษัทจัดหางานที่จัดส่ งคนหางานไปทางาน
ต่ างประเทศ จานวน 1 บริษัท และสั่งพักใช้ ใบอนุญาตฯจานวน 43 บริษัท
เนื่องจากดาเนินการโดยขัดต่ อกฎหมาย อย่ างไรก็ตามยังไม่ มีบริษทั จัดหางาน
ที่ถูกลงโทษจากการใช้ แรงงานบังคับ หรื อกระทาการเกี่ยวกับการค้ ามนุษย์

รั ฐบาลไทยแสดงความพยายามในระดับหนึ่งในการป้องกันปั ญหาการค้ า
มนุษย์ แต่ ไม่ ได้ แสดงให้ เห็นถึงความพยายามอย่ างเพียงพอในการลดความ
ต้ องการแรงงานที่ถูกบังคับใช้ แรงงานและแสวงหาประโยชน์
เชิดศักดิ์ วิสุทธิกุล
ผู้อานวยการกองตรวจและคุ้มครองคนหางาน
089 – 8713989
[email protected]